You are on page 1of 5

ความแตกต่างของคาทอลิค โปรเตสแตนต์ ออโธ

ดอกซ์
โรมัน คาทอลิก ( Roman Catholic )
มีศูนย์กลางอำานาจอยููทีส ่ ำานักวาติกัน กรุงโรม ใช้ภาษาละตินเป็ น ภาษาทาง
ศาสนา มีประมุขสูงสุด คือ พระสันตะปาปา คาทอลิก แปลวูา สากล คริสต
ศาสนิ กชน นิ กายโรมันคาทอลิก จึงไมูถือวูาตนเองคือ นิ กายหนึ่ งของคริสต
ศาสนา แตูเป็ นคริสตศาสนาทีส ่ ืบเนื่ อง มาจากต้นกำาเนิ ด และถือวูาพวกตน
เป็ นผู้อนุรักษ์ คำาสัง่ สอน ทีไ่ ด้รับมาจากพระเยซู กูอตัง ้ เป็ นองค์การใหญู ในโลก
คริสต์ศาสนา โดยมีแรงกดดันทางการเมือง สนับสนุน คาทอลิกจะถือเซนต์ปี
เตอร์ ผ้เู ผยแผูแรก เป็ นศาสดาใหญู และเป็ นผู้สืบตูอโดยตรงจากพระเยซู
ปั จจัยดังกลูาว ทำาให้อาณาจักรโรมันคาทอลิก มีอำานาจกว้างขวางออกไป มีการ
แตูงตัง ้ ประมุข แหูงคริสตจักร คาทอลิกคือองค์พระสันตะปาปา หรือโป๊ป มี
ศักดิเ์ ทูาราชาธิราชโรมัน
นอกจากนี้ คาทอลิกถือคัมภีร์ไบเบิลเป็ นคำาสอนของพระเยซู มีลัทธิปฏิบัติ 7
ประการคือพิธีบพ ั ติสมา พิธีศีลกำาลัง พิธีศีลมหาสนิ ท พิธีแตูงงาน พิธีสารภาพ
บาป พิธเี จิมครัง ้ สุดท้าย และพิธีเข้าบวช

นิ กายออร์โธดอกซ์ ( Orthodox )
Orthodox มาจากคำาวูา Orhtos เป็ นคำาภาษากรีก แปลวูาสัจธรรม หรือความ
เทีย่ งตรง ผสมกับคำาวูา Doxa เป็ นภาษากรีกเชูนกัน แปลวูา ศรัทธารวมกัน
หมายถึงความเชื่อ ตามบัญญัติอันแท้จริงในพระคัมภีร์เดิม เป็ นนิ กาย แรก ที่
แยกตัวออกมาเป็ นอิสระจากสำานัก วาติกันในกรุงโรม โดยมีสาเหตุใหญูทีส ่ ุด
คือ การปฏิเสธในอำานาจของ พระสันตะปาปา ประกอบกับ มีพ้ น ื ภูมิประเทศที่
หูางไกล จากอำานาจของโรมันตะวันตก จึงเป็ นการงูายทีจ ่ ะตัง
้ ตนเป็ น อิสระ
และปฏิบัติพธ ิ ีกรรมความเชื่อ ไปตามวัฒนธรรมดัง ้ เดิม ของตนผสมผสมผสาน
กับความเชื่อใน คริสตศาสนา ดังนัน ้ นิ กายออร์ธอด็อกซ์ จึงมีลักษณะทีค ่ ูอนข้าง
แปลกแยก จากพวกคาทอลิค และพวกโปรเตสแตนด์
ลัทธิออร์โธดอกซ์กำาเนิ ดในปาเลสไตน์ เกิดในปีความศ.1054 โดยหลังจาก
พระเยซูฟ้ ื นคืนพระชนม์แล้ว 2 เดือน ศิษย์ของพระเยซู เดินทางไปเผยแผู
ศาสนา เปรโตไปกรุงโรม ขณะทีเ่ ปาโลไปกรีซ ต้นสายของออร์โธดอกซ์ จึงมี
รกรากอยููทีภ ่ ูเขาอาธอส ในประเทศกรีซ
ความแตกตูางทีเ่ ห็นได้ชัดกับนิ กายคาทอลิกในสมัยนัน ้ คือ ออร์โธดอกซ์ ถือ
พระผู้เป็ นเจ้า และพระเยซู เป็ นหนึ่ งเดียว บุคคลจึงไมูต้องไปขอไถูบาป กับ
บาทหลวงผู้ใด สำาหรับโรมันคาทอลิก แยกสายไปทีก ่ รุงโรมเมื่อปี ความศ. 50
กูอนหน้านี้
ปั จจุบันนี้ นิ กายออร์ธอด็อกซ์มีอิสระภาพในด้านความเชื่อและการปกครองของ
ตนเอง โดยไมูต้องขึ้นตูอ สำานักวาติกัน ของโรม มีปาตริอาร์ค เป็ นประมุข แตูก็
มีออร์ธอด็อกซ์ บางกลูุม ทีย ่ ังขึ้นตูอ สำานักวาติกัน เรียกวูา ออร์ธอด็อกซ์คาธอ
ลิค พวกนี้ มีพิธีกรรมตูาง ๆ เป็ นแบบตะวันออก แตูระบบการปกครอง อยููภาย
ใต้การชี้นำา ของสำานักวาติกัน ประเทศทีน่ ับถือนิ กาย ออร์ธอด็อกซ์สูวนมากเป็ น
พวกยุโรปตะวันออก เชูน โรมาเนี ย ฮังการี โปแลนด์ ยูโกสลาเวีย รัสเซีย ฯลฯ
ทีร
่ ัสเซียนัน
้ ศาสนาเจริญรูุงเรืองมากอาจเรียกได้วูาเป็ นอาณาจักรโรมันแหูงที่
สาม มีศูนย์กลางทีม ่ อสโคว์ อยูางไรก็ตาม พอสิ้นสุดระบบการปกครองแบบ
สมบูรณาญาสิทธิราช เข้าสููยุคการปกครองแบบคอมมิวนิ สต์ ความรูุงเรืองของ
ศาสนา ได้ลดลงไป แตูยังไมูถึงกับศูนย์สลาย

โปรเตสแตนต์ ( Protestantism )
มีกำาเนิ ดมาจากความคิดเห็นทีแ ่ ตกแยกกันในเรื่องความเชื่อและชีวิต คริสตชน
โดยเรียกพวกทีไ ่ มูใชูคาทอลิค หรือออร์ธอด็อกซ์วูา "โปรเตสแตนด์"
(Protestant) ซึง ่ แปลวูา "ประท้วง", "ผู้คัดค้าน" แยกตัวในปี ความศ. 1529
โดยมาร์ติน ลูเธอร์ ชาวเยอรมัน และผู้สนับสนุน ในยุคทีฝ ่ ู ายคาทอลิกเกิด
ปั ญหาขึ้นมากมาย ทัง ้ ในหมููคณะสงฆ์ และการตีความพระคัมภีร์
มาร์ติน ลูเธอร์ (1483-1546) เกิดทีแ ่ ซกซอน ประเทศเยอรมัน เป็ นบุตรคน
ยากจน แตูมีโอกาสได้ร่ ำาเรียน ได้รบ ั การศึกษาสูงจนจบปริญญาเอก และได้
ศึกษาเทวศาสตร์ และได้เป็ นครูในมหาวิทยาลัย มีผู้รักใครู เชื่อถือ จำานวนมาก
ตูอมาลูเธอร์ มีโอกาส เข้าสููชีวิตนักบวชและแสวงบุญที่กรุงโรม และตะลึง ที่
เห็นวูา สังฆราชมีชีวิตอยูู ฟ้ งุ เฟ้ อ เลิศเลอ จนเกินเหตุ จึงเห็นวูาควรมีการ
เปลีย่ นแปลงทางศาสนา ตูอมาได้ตีความพระคัมภีร์ ไบเบิล และวิพากษ์วิจารณ์
ปรัชญาศาสนาของยุคกลาง พระศาสนจักร ซึง ่ ในขณะนัน ้ มีการขายใบบุญกัน
มาก ความคิดของ มาร์ติน ลูเธอร์ ได้รับการสนับสนุนจากมหาชนเยอรมันเป็ น
จำานวนมาก แล้วแพรูหลาย ออกไปทัว ่ ยุโรป การเคลื่อนไหวดังกลูาว ทำาให้พระ
สันตะปาปา และฝูายสังฆราช ไมูพอใจและประกาศบัพพาชนี ยกรรม (ขับไลู -
Excommunication) มาร์ติน ลูเธอร์ ในปี ความศ. 1521
ตูอมาทางฝูายสังฆราชบัญญัติกฎทีห ่ าประโยชน์แตูกลูุมของตนเอง เอาเปรียบ
หลอกเงินชาวบ้าน ลูเธอร์ จึงเรียกประชุมผู้รู้ทัง ้ หลาย มาหารือกันวูาจะ
เปลีย ่ นแปลงปรับปรุงอยูางไรดี เรื่องกระทบไปถึงวงการการเมือง เพราะพระ
เจ้าชาร์ลส์ที่ 5 แหูงเยอรมนี เกรงวูาความแตกแยกทางศาสนา จะทำาให้กลูุม
แตกแยก ทางการเมือง ทีเ่ กิดขึ้นอยููแล้ว กระเทือนบัลลังก์ของพระองค์ จึงให้
เปิดสภาไตูสวน เพื่อเอาผิด ลูเธอร์ ซึง ่ ปรากฏวูา สภาจับผิด อะไรไมูได้ แตูก็
ลงเอยด้วยการประกาศให้ลูเธอร์ เป็ นคนนอกศาสนาอยููดี สุดท้าย ลูเธอร์ แตูง
หนังสือบรรยาย ความเห็น แสดงลัทธิใหมู แปลคัมภีร์ไบเบิลออกมา เป็ น
ถ้อยคำาทีช่ าวบ้านทัว ่ ไป อูานแล้วเข้าใจ จึงเป็ นทีแ ่ พรูหลาย มาจนถึงปั จจุบัน
การกำาเนิ ดของนิ กายโปรเตสแตนต์ มีผลสำาคัญทัง ้ ทางศาสนา และการเมือง
มาก เพราะเป็ นการทำาลาย การติดตูอเกีย ่ วพัน ในระหวูางพวกคริสต์ และทำาให้
กลูุมคาทอลิก สังคายนาระเบียบ ของตัวเองให้เรียบร้อยขึ้น ขณะเดียวกันยัง
ทำาให้ฝูายคาทอลิก ตัดรอนอำานาจของสังฆราชในกรุงโรม ทำาให้เกิดรัฐอิสระอีก
หลายแหูง ดังนัน ้ ในชูวงนี้ จึงเรียกวูาเป็ น ชูวงปฏิรูปศาสนาหรือ Reformation
การเคลื่อนไหวอยูางตูอเนื่ องของกลูุมเหลูานี้ มีอิทธิพลตูอนิ กายเล็กๆ ในภาย
หลัง โดยกลูุมทีเ่ ป็ นตัวเคลื่อนไหวนี้ มี 3 กลูุม คือ
นิ กายลูเธอรัน ( Luthheran )
ตรงจุดนี้ ได้นำาไปสููการแตกแยกเป็ นนิ กายใหมู ในเวลาตูอมา ชีวิตของลูเธอร์
ในระยะนี้ ต้องหลบ ตลอดเวลา แตูก็ทำาให้ มีเวลาแปลพันธสัญญาใหมูเป็ น
ภาษาเยอรมัน และได้เขียนเกีย ่ วกับ พิธีกรรม รวมทัง ้ ศีลศักดิส ์ ิทธิเ์ ป็ นภาษา
เยอรมัน เพื่อให้ชาวบ้าน และคนทัว ่ ไป สามารถเข้าใจหลักคำาสอนและ
พิธีกรรม ซึง ่ แตูเดิมมาเขียนเป็ นภาษาละติน จึงยากแกูการสื่อความหมายให้
เข้าถึงได้ จึงรู้ได้เฉพาะ ปั ญญาชน นักบวชและ นักศาสนาเทูานัน ้
ผลงานของลูเธอร์น้ี ได้สร้างคุณประโยชน์ แกูผู้ทีไ ่ มูรู้หนังสือละติน ได้มีโอกาส
เข้าใจแกูนแท้ ของศาสนาได้ด้วยตนเอง ซึง ่ ตรงกับจุดประสงค์ของลูเธอร์ ที่
ต้องการให้บุคคลสามารถ รับผิดชอบใน ความเชื่อของตน โดยไมูต้องอาศัย
บุคคลที่ 3 เชูน พระหรือนักบวช กฎเกณฑ์ตูาง ๆ ในศาสนา เป็ นเพียง สิง ่
เปลือกนอก ทีไ ่ มูสำาคัญเทูากับการทีบ ่ ุคคลนัน
้ ได้เผชิญหน้า ตูอพระพักตร์
พระเจ้า ด้วยตนเอง นิ กายนี้ จึงได้ตัดประเพณี พิธีกรรม ตลอดจนศีลศักดิส ์ ิทธิ ์
บางเรื่องออกไปเหลือแตูศีลล้างบาป และศีลมหาสนิ ท และสนับสนุนให้บุคคล
เอาใจใสูตูอพระคัมภีร์ ซึง ่ เชื่อวูาเป็ นพระวจนะของพระเจ้า ทีท ่ ำาให้มนุษย์ เข้าถึง
ความรอด สูวนบุคคลภายในโบสถ์ของโปรเตสแตนต์ จึงไมูมีรูปเคารพ และ
ศิลปกรรมทีต ่ กแตูง ดังเชูน โบสถ์คาทอลิค บนแทูนบูชามีเพียงพระคัมภีร์
เทูานัน
้ ทีเ่ ป็ นสื่อกลางระหวูางมนุษย์กับพระเจ้า สูวนอื่น ๆ ทีน ่ อกเหนื อไปจากนี้
เป็ นเพียง เปลือกนอกทีม ่ าจากตัณหาของมนุษย์ และทำาให้เราเกิดความยึดถือ
ยึดติด ไมูสามารถเข้าถึงพระเจ้าได้

กลูุมคริสตจักรฟื้ นฟู ( Reformed Christianity )


2.1 อูลริช สวิงลี ( Ulrich Zwingli ) เกิดทีส ่ วิสเซอร์แลนด์ มีชีวิตอยููระหวูางปี
ความศ. 1848 - 1531 ได้รบ ั แนวความคิดจากลูเธอร์ และปรัชญามนุษยนิ ยม
อูลริชไมูเห็นด้วย กับความคิดทีว ่ ูา พิธีล้างบาป และพิธศ ี ีลมหาสนิ ท เป็ นศีล
ศักดิส์ ิทธิ ์ ซึง
่ เป็ นเพียงความเชื่อภายนอก เทูานัน ้ หาใชูความเชื่อในพระเจ้า
อยูางแท้จริง เพราะพิธีล้างบาป ก็คือการปฏิญาณตน และ พิธศ ี ีล มหาสนิ ท ก็
คือการระลึกถึงวันเลี้ยง มื้อสุดท้ายของพระเยซูเทูานัน ้ พิธีเหลูานี้ ไมูใชูพิธีทีม
่ ี
ความศักดิส ์ ิทธิ ์ ในตัวของมันเอง ดังทีเ่ ชื่อกัน ในสมัยนัน้ จนทำาให้คนสูวนมาก
ละเลยทีจ ่ ะศึกษา พระวจนะเขาได้ปรับ พิธีกรรมให้เรียบงูาย และเน้นที่ แกูน
แท้ของคำาสอน

2.2 นิ กายคาลวิน ( Calvinism ) ผ้ร ู ิเริม


่ และบุกเบิกนิ กายนี้ คือ จอห์น คาลวิน
หรือคาลแวง เป็ นชาว ฝรัง่ เศส ได้รบ ั การศึกษาที่ มหาวิทยาลัยปารีส ตูอมาได้
สนใจ แนวคิดทางศาสนาของลูเธอร์และสวิงลี จึงได้รับคำาสอนเหลูานัน ้ มา
ปรับปรุง คำาสอนของเขาแพรูหลายเข้าไปถึงประเทศอังกฤษ ซึง ่ เรียกวูา เปร
สไบทีเรียน
คาลวินมีอิทธิพลในกรุงเจนี วา เขาถูกเชิญไปทีน ่ ัน
่ หลายครัง
้ จนกระทัง่ ได้อาศัย
อยููทีเ่ จนี วา จนสิ้นใจ ในปี 1564 ผลงานทีส ่ ำาคัญ คือ หนังสือศาสนา ทีต ่ ูอมาได้
กลายเป็ นหลัก เทวศาสตร์ ของโปรเตสแตนต์ ชื่อ "สถาบันทางศาสนาคริสต์"
(The Institutes of the Christian Religion) แตูเดิมเขียนเป็ นภาษาละติน
แตูถูกแปลเป็ นภาษาฝรัง่ เศส ในเวลาตูอมา และถูกพิมพ์ถึง 4 ครัง ้ ในชูวงทีค่ าล
วินมีชีวิตอยูู หนังสือเลูมนี้ ชูวยให้เราสามารถเข้าใจ ศรัทธาของชาวคริสต์ คำา
สอนของ ออกัสติน (Augustin) อีกทัง ้ ทำาให้เราเข้าใจ อำานาจของพระเจ้า
เข้าใจในเรื่องบาปกำาเนิ ด และชะตาทีถ ่ ูกลิขิตโดยพระเจ้า นอกจากนี้ คาลวินได้
กูอตัง
้ มหาวิทยาลัยเจนี วา และทำาให้กรุงเจนี วา เป็ นศูนย์นัดพบของชาว
โปรเตสแตนต์ทัว ่ ยุโรป

นิ กายเชิร์ช ออฟ อิงแลนด์ (Church of England)


หรือเรียกอีกอยูางหนึ่ งวูา "แองกลิคัน" มีกำาเนิ ดในประเทศอังกฤษ โดยมี
สาเหตุมาจากพระเจ้าเฮนรีท ่ ี่ 8 ต้องการให้พระสันตะปาปา ทีก ่ รุงโรมอนุญาต
ให้หยูาร้าง และอภิเษกสมรสใหมู แตูได้รับการปฏิเสธจาก พระสันตะปาปา จึง
ไมูพอพระทัย ประกาศตัง ้ นิ กายใหมูทีเ่ รียกวูา เชิร์ช ออฟอิงแลนด์ ไมูข้ึนตูอกรุง
โรม และทรงแตูงตัง ้ โธมัส แคลนเมอร์ เป็ นอาร์คบิชอป แหูงแคนเทอเบอรี่

กลูุมฟื้ นฟูศาสนาตามทีก ่ ลูาวมาในตอนต้นนี้ ทัง


้ 3 กลูุม ได้ทำาได้เกิดนิ กายเล็กๆ
ตูอมา ซึง ่ ล้วนแตูรับโครงสร้าง ของโปรเตสแตนต์ ในทีน ่ ้ี จะกลูาวถึงบางกลูุม
เทูานัน
้ คือ

1. คณะเพ็นเทคอส (Pentecoste)
ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้รับอิทธิพลคำาสอนของกลูุม ขบวนการชีวิตทีบ ่ ริสุทธิ ์
(Holiness Movement) แล้วนำ า มาสอนในโรงเรียน ให้มีการรับบัพติศมาด้วย
พระวิญญาณบริสุทธิ ์ มีพระคัมภีร์ เป็ นมาตรฐานของความเชื่อ และ การดำาเนิ น
ชีวิต แตูจะเน้นหนักในเรื่องของพระวิญญาณบริสุทธิ ์ ของประทาน และการ
อัศจรรย์ ให้ความสำาคัญ เรื่อง ของนิ มิต คำาพยากรณ์และการทรงสำาแดงของ
พระเจ้า เน้นให้พระวิญญาณทรงนำ า เพราะฉะนัน ้ แม้จะมีระเบียบ การนมัสการ
แตูก็ไมูได้ยึดถืออยูางเครูงครัด ให้เป็ นอิสระภายใต้การนำ า ของพระวิญญาณ
บริสุทธิ ์

2. คณะแบ๊บติสต์ (Baptist)
เริม
่ มาจาก กลูุมหนึ่ งของพิวริตินในอังกฤษ ทีแ่ ยกตัวจากคริสตจักรแหูงอังกฤษ
ตูอมาได้ขยายไปยัง ประเทศ เนเธอร์แลนด์ และสหรัฐอเมริกา เน้นวูาความ
รอดเป็ นของสูวนบุคคล จึงควรให้บัพติศมา แกูผู้ทีส ่ ามารถ ตัดสินใจ ด้วย
ตนเองได้เทูานัน ้ เพราะฉะนัน ้ จึงไมูเห็นด้วยกับการให้บัพติศมาแกูเด็ก ต้อง
เป็ นแบบจูุมทัง
้ ตัวลงไป โดยอ้าง จากรากภาษาเดิมของคำาวูา แบ๊บติสต์ คือ
การฝั งลงไป เป็ นเครื่องหมายของ การฝั งชีวิตเกูาขึ้นจากนำ้ า หมายถึง การเป็ น
ขึ้นมาใหมู มีพระคัมภีร์เป็ นมาตรฐานความเชื่อ และการดำาเนิ นชีวิต ให้ความ
สำาคัญด้านสัมพันธภาพสมาชิก

3. เพรสไบทีเรียน (Presbyterian)
กูอตัง
้ ในชูวงปี 1530 โดยจอห์น คาลแวง เป็ นนิ กายทีแ ่ ยกยูอยมาจาก
โปรเตสแตนต์ มูุงหวังให้จัดวงการสงฆ์ ให้เป็ นระเบียบแบบแผน ความเชื่อของ
นิ กายนี้ คือถือศรัทธาเป็ นใหญู ถือวูาพระพรของพระเจ้า เปลื้องทุกข์ให้มนุษย์
มาถึงโดยตรงตูอผู้มีศรัทธา ไมูใชูมาจากพระผู้ทำาพิธี เป็ นเพียงผู้ทำาตาม
ระเบียบปกครอง ของคณะทีม ่ ีอยููเทูานัน

4. เมธอดิสต์ (Methodism)
เกิดขึ้นโดยจอห์น เวสลีย์ ( John Wesley : ความศ. 1703 - 1791) เป็ นชาว
อังกฤษ ทีม่ ีจุดประสงค์ ต้องการให้ ผ้น
ู ับถือพระเจ้า มีอิสระภาพมากขึ้น
สามารถปฏิบัตศ ิ าสนา ไปตามหลักของเหตุผลให้เหมาะแกูชีวิตของตน

5. เควกเกอร์ (Quaker) หรือสมาคมมิตรภาพ (Society of Friends)


เกิดในอังกฤษ โดยยอร์ช ฟอกซ์ ( George Fox : 1624 - 1691) แตูแพรู
หลายในอเมริกาโดย วิลเลีย ่ ม เพน (William Penn : 1644-1718) โดย
เฉพาะในรัฐเพนซิลเวเนี ย (Pennsylvania) เป็ นดินแดนแหูงแรก ทีเ่ พนได้มา
ตัง
้ รกราก และทำาการเผยแพรูศาสนา นิ กายนี้ ต้องการรื้อฟื้ นศาสนาคริสต์
แบบดัง ้ เดิม จึงเน้นประสบการณ์ตรง ในการเข้าถึงพระเจ้า โดยใช้แสงสวูางที่
เกิดขึ้นภายใน (Inner Light)

6. เซเวนเดย์ แอดเวนติสต์ (Seven Day Adventists) เป็ นกลูุมใหญูทีส ่ ุด


ของกลูุมแอดแวนติสต์ กลูุมนี้ เน้นวันสุดท้ายของโลก และการเสด็จมาของพระ
คริสต์ ในวันพิพากษาโลก เพื่อทำาให้บริสุทธิอ์ ีกครัง
้ ผ้น
ู ับถือมีทัว
่ โลก โดย
เฉพาะในประเทศไทยนัน ้ กลูุมนี้ ได้สูง ศาสนฑูตเข้ามาเป็ นครัง ้ แรกในปี 1918

อูานเพิม
่ เติม
http://th.wikipedia.org/wiki/คริสต์ศาสนา
http://th.wikipedia.org/wiki/โรมันคาทอลิก
http://th.wikipedia.org/wiki/อีสเติร์นออร์โธด็อกซ์
http://th.wikipedia.org/wiki/โอเรียนทัลออร์โธด็อกซ์
http://th.wikipedia.org/wiki/อังกลิคัน
http://th.wikipedia.org/wiki/โปรเตสแตนต์

You might also like