You are on page 1of 9

ค�ำศัพท์ภาษาจีนทีใ่ ช้ในประเพณีกนิ เจของชาวไทยเชือ้ สายจีนในจังหวัดตรัง

Chinese Vocabulary Used in the Vegetarian Festival Celebrated by


Chinese Thais in Trang Province

เกตมาตุ ดวงมณี1
Katematu Duangmanee1

บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมค�ำศัพท์และการใช้ค�ำศัพท์ภาษาจีนในประเพณีกินเจของชาว
ไทยเชื้อสายจีนในจังหวัดตรัง ใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยเก็บข้อมูลจากเอกสารและข้อมูลภาคสนามด้วย
วิธกี ารสังเกตและสัมภาษณ์ผทู้ เี่ กีย่ วข้องจากศาลเจ้าในเขตพืน้ ทีอ่ �ำเภอเมืองตรังและอ�ำเภอห้วยยอด จ�ำนวน
4 แห่ง คือ ศาลเจ้าท่ามก๋งเยี่ย ศาลเจ้ากิ่วอ๋องเอี่ย ศาลเจ้าพ่อหมื่นราม และศาลเจ้ากิ่วอ๋องไต่เต่ห้วยยอด
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ร่างทรง กรรมการศาลเจ้า เจ้าหน้าที่ประจ�ำศาลเจ้า และผู้เข้าร่วม
การกินเจ
ผลจากการศึกษาพบว่าค�ำศัพท์ภาษาจีนทีใ่ ช้ในประเพณีกนิ เจของชาวไทยเชือ้ สายจีนในจังหวัดตรัง
ส่วนใหญ่เป็นค�ำศัพท์ภาษาจีนจากส�ำเนียงฮกเกี้ยน ประสมผสานกับส�ำเนียงแต้จิ๋ว ส�ำหรับการน�ำค�ำศัพท์
มาใช้จ�ำแนกได้ 3 ลักษณะคือ ค�ำศัพท์ที่ใช้เรียกชื่ออาหารและเครื่องดื่ม ค�ำศัพท์ที่ใช้เรียกชื่อบุคคลและ
เทพเจ้า และค�ำศัพท์ที่ใช้เรียกชื่อเครื่องมือเครื่องใช้ ค�ำศัพท์ภาษาจีนที่ใช้ในประเพณีกินเจนอกจากมีการ
ใช้ในพิธกี รรมแล้ว ยังมีการน�ำมาใช้ในชีวติ ประจ�ำวันอีกด้วย โดยเฉพาะในส่วนเกีย่ วข้องกับเรือ่ งสี ต�ำแหน่ง
การวาง และเรื่องความหมายแฝงของค�ำศัพท์เป็นต้น

ค�ำส�ำคัญ : ค�ำศัพท์ภาษาจีน, การใช้ค�ำศัพท์, ประเพณีกินเจ

Abstract
The aim of this paper is to collect Chinese vocabulary and vocabulary usage relating to the
Vegetarian Festival, an event celebrated by Chinese Thais in Trang Province in the south of
Thailand. This paper applies descriptive research techniques by collecting data from documents
and fieldworks, i.e. observations and interviews, in Muang Trang District and Huaiyot District. Four
major shrines in Trang Province were selected for this study, namely Tam Kong Yea Shrine, Kew

อาจารย์, สาขาวิชาภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ, E-mail : katematu@tsu.ac.th


1

Lecturer, Department of Oriental Languages, Faculty of Humanities and Social Science, Thaksin University,
1

E-mail : katematu@tsu.ac.th
ค�ำศัพท์ภาษาจีนที่ใช้ในประเพณีกินเจของชาวไทยเชื้อสายจีน... 32 เกตมาตุ ดวงมณี

Ong Yea Shrine, Chao Por Muen Ram Shrine and Kew Ong Taitae Huaiyot Shrine. The population
for this research consists of mediums, shrine directors , shrine officers, and vegetarians
This study indicates that Chinese vocabularies related to the Vegetarian Festival of Chinese
Thais in Trang Province mostly are Fujian Chinese vocabulary compound with Chaozhou Chinese
Voice. The terminology usage was classified into three characteristics. First, the terminology was
used to refer to the name of the foods and drinks. Second, the terminology was used to refer
to a person and God. Finally, the terminology was used to refer tools. In addition, Chinese
vocabulary not only be used in worships, but also be used in daily life especially color, position
and the connotation of the word.

Keywords : Chinese Vocabulary, Vocabulary usage, Vegetarian Festival

บทน�ำ “ประเพณีกนิ เจ” หรือทีช่ าวตรังเรียกว่า “กินผัก” ผู้


เข้าร่วมประเพณีกนิ เจส่วนใหญ่เป็นชาวจีนหรือชาว
จังหวัดตรังเป็นจังหวัดที่ส�ำคัญจังหวัดหนึ่ง ไทยเชื้อสายจีน ปัจจุบันพบว่ายังปรากฏ การใช้
ทางชายฝัง่ ทะเลตะวันตกของภาคใต้ ประชากรส่วน ภาษาจีนในการประกอบพิธีกรรมและการสื่อสาร
หนึง่ ในจังหวัดตรัง คือ ชาวจีน ซึง่ อพยพทางเรือมา โดยพบว่าชาวไทยเชือ้ สายจีนทีม่ ชี ว่ งอายุตงั้ แต่ 50
จากประเทศจีน และได้สร้างครอบครัวในจังหวัดตรัง ปีขนึ้ ไป เป็นกลุม่ คนทีม่ คี วามคุน้ ชินกับการใช้ภาษา
ปัจจุบันเรียกลูกหลานชาวจีนเหล่านี้ว่า “ชาวไทย จีนดั้งเดิม และยังคงยึดขนบธรรมเนียม ประเพณี
เชือ้ สายจีน” ชาวจีนเมือ่ เข้ามาพ�ำนักในประเทศก็ได้ และแบบแผน การด�ำเนินชีวิตแบบจีนดั้งเดิมอยู่
น�ำวัฒนธรรม ประเพณีของตนเองติดตัวมาด้วย ซึง่ ด้วยเหตุนี้การศึกษาการใช้ค�ำศัพท์ภาษาจีนของ
กรรณิการ์ ตันประเสริฐ (2540 : 24) ได้กล่าวถึงชาว ชาวไทย เชื้ อ สายจี น ในประเพณี กิ น เจ ผ่ า น
จีนว่า “การเข้ามาของคนจีน ส่งผลให้เกิดการพบปะ กระบวนการทางพิธีกรรม จึงเป็นประเด็นที่ท�ำให้ผู้
และปะทะสังสรรค์ทางวัฒนธรรมระหว่างวัฒนธรรม วิจัยสนใจท�ำการศึกษา เพราะสามารถบ่งบอกว่า
จีนและวัฒนธรรมไทยท้องถิ่นอย่างที่มิอาจหลีก ภาษาจีนท้องถิน่ ทีใ่ ช้ในประเพณีกนิ เจ คือ ภาษาจีน
เลี่ยงได้ โดยเฉพาะความเป็นอัตลักษณ์เฉพาะตัว ฮกเกี้ยนและภาษาจีนแต้จิ๋วนั้น ยังคงปรากฏร่อง
ของชาวจีนที่ไม่ว่าจะเดินทางไปอยู่อาศัยในที่ใดก็ รอยการใช้ภาษา เนื่องจากหากเวลาผ่านไป ภาษา
จะน�ำเอาวัฒนธรรมประเพณี วิถีชีวติ และความเชื่อ ดังกล่าวอาจถูกกลืนและเลือนหายไปจากสังคมจีน
แบบจี น ของตนติ ด ตั ว ไปด้ ว ย ประเพณี ป ฏิ บั ติ ของชาวตรังได้ เนื่องจากบุคคลที่เป็นลูกหลานชาว
ต่าง ๆ ทีเ่ คยกระท�ำสืบต่อกันมาในประเทศจีนทัง้ ที่ จีนในปัจจุบนั โดยเฉพาะช่วงอายุตำ�่ กว่า 40 ปี มิได้
เกี่ยวข้องกับเรื่องความเชื่อและการด�ำรงชีวิตจึง มีการใช้ภาษาจีนสื่อสารในพิธีกรรม หรืออาจมีการ
ปรากฏขึ้นในชุมชน วัฒนธรรมซึ่งมีคตินิยมแฝงอยู่ ใช้ภาษาจีนในพิธีกรรมซึ่งหลงเหลือเพียงบางกลุ่ม
ของชาวจีนครอบคลุมวิถีชีวิตตั้งแต่เกิดไปจนตาย เท่านั้น ดังนั้นการศึกษาค�ำศัพท์ภาษาจีนที่ใช้ใน
รวมทัง้ วัฒนธรรมการหาเลีย้ งชีพแบบจีนก็เป็นสิง่ ที่ พิธกี รรมจึงเป็นแหล่งความรูห้ นึง่ ทีอ่ าจสะท้อนเรือ่ ง
กลายเป็นประเพณีสืบทอดปฏิบัติสืบทอดกันมา” ราวผ่านกระบวนการใช้ภาษาในพิธกี รรมของคนใน
ประเพณี ห นึ่ ง ของชาวไทยเชื้ อ สายจี น ใน ท้องถิ่น อันควรค่าแก่การศึกษา
จั ง หวั ด ตรั ง ที่ เ ป็ น ที่ รู ้ จั ก ในหมู ่ ช นทั่ ว ไป คื อ
วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 33 ปีที่ 35 ฉบับที่ 5 กันยายน - ตุลาคม พ.ศ.2559

วัตถุประสงค์ ผลการศึกษา
เพื่ อ รวบรวมค�ำศั พ ท์ แ ละการใช้ ค�ำศั พ ท์ ภาษาเป็นเครือ่ งมือทีใ่ ช้สอื่ สารในชีวติ ประจ�ำ
ภาษาจีนในประเพณีกินเจของชาวไทยเชื้อสายจีน วัน และค�ำศัพท์ก็เป็นส่วนประกอบของการสื่อสาร
ในจังหวัดตรัง จากการรวบรวมค�ำศัพท์ภาษาจีนที่ใช้ในประเพณี
กิ น เจของชาวไทยเชื้ อ สายจี น ในจั ง หวั ด ตรั ง มี
วิธีการศึกษา ทัง้ หมด 233 ค�ำ ประกอบด้วยค�ำศัพท์ภาษาจีนทีม่ า
จากภาษาจีนฮกเกี้ยนและภาษาจีนแต้จิ๋ว ค�ำเหล่า
การศึ ก ษาเรื่อง ค�ำศัพท์ภาษาจีนที่ใ ช้ใ น นี้ถูกน�ำมาใช้ในการประกอบพิธีกรรม เพื่อให้เกิด
ประเพณีกินเจของชาวไทยเชื้อสายจีนในจังหวัด ความเข้าใจ การใช้ค�ำศัพท์ยิ่งขึ้น ผู้วิจัยจึงน�ำเสนอ
ตรั ง เป็ น การวิ จั ย เชิ ง คุ ณ ภาพ (Qualitative ค�ำศัพท์ภาษาจีนทีใ่ ช้ในประเพณีกนิ เจใน 3 ลักษณะ
research) เพื่อศึกษาการใช้ค�ำศัพท์ภาษาจีนใน ดังนี้
พิธีกรรม โดยเก็บข้อมูลจากเอกสารและข้อมูลภาค 1. การน�ำค�ำศัพท์ภาษาจีนมาเรียกชื่อ
สนามด้วยวิธกี ารสังเกตและสัมภาษณ์ผทู้ เี่ กีย่ วข้อง อาหารและเครื่องดื่ม
และมีการน�ำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ตามประเด็นที่ อาหารและเครื่องดื่ม เป็นปัจจัยหนึ่งในการ
ศึ ก ษา เรี ย บเรี ย งและรายงานผลด้ ว ยวิ ธี ก าร ด�ำรงชีวิต มนุษย์ไม่สามารถขาดอาหารและน�้ำได้
พรรณนาเชิงวิเคราะห์และแสดงภาพประกอบบาง ประเพณี กิ น เจมี ค�ำศั พ ท์ ภ าษาจี น ที่ ใ ช้ เ รี ย กชื่ อ
ตอน โดยผูว้ จิ ยั ได้ก�ำหนดขอบเขตของงานวิจยั ดังนี้ อาหารและเครื่องดื่มจ�ำนวน 37 ค�ำ ผู้วิจัยขอยก
1. ขอบเขตด้านพื้นที่ ตัวอย่างตัวอย่างค�ำศัพท์ทใี่ ช้ในการเรียกชือ่ อาหาร
ในการวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษาค�ำศัพท์ภาษาจีน และเครื่องดื่มในประเพณีกินให้เห็นชัดเจน ดังนี้
ที่ใช้ในประเพณีกินเจของชาวไทย เชื้อสายจีนใน แต่ หรือชา (茶) เป็นเครือ่ งดืม่ หลักทีต่ งั้ เซ่น
จังหวัดตรัง โดยเก็บข้อมูลจากงานเทศกาลกินเจที่ ไหว้องค์เทพบนโต๊ะ ส่วนใหญ่นิยมตั้งเซ่นไหว้
จัดขึ้นในศาลเจ้าพื้นที่อ�ำเภอเมืองตรัง และอ�ำเภอ 3 จอก 5 จอก หรือ 9 จอก ขึ้นอยู่กับองค์เทพองค์
ห้วยยอด จ�ำนวน 4 แห่ง คือ ศาลเจ้าท่ามก๋งเยี่ย นั้น ๆ อาทิ พระทั่วไป เช่น โป้เซ้งไต่เต่ พระหล่อเฉี้ย
ศาลเจ้ากิ่วอ๋องเอี่ย ศาลเจ้าพ่อหมื่นราม และศาล เซ่นไหว้ด้วยน�้ำชา (แต่) จ�ำนวน 3 จอก พระเจ้าที่
เจ้ากิ่วอ๋องไต่เต่ห้วยยอด (ท่อเต่ก๋อง) เซ่นไหว้ด้วยน�้ำชา 5 จอก พระกิ่วอ๋อง
2. ขอบเขตด้านเนื้อหา ไต่เต่และเจ้าแม่กวนอิมเซ่นไหว้ด้วยน�้ำชา 9 จอก
ค�ำศัพท์ภาษาจีนและการใช้ค�ำศัพท์ภาษาจีน เป็นต้น
ในประเพณีกนิ เจของชาวไทยเชือ้ สายจีนในจังหวัด “แต่” ยังใช้ในพิธีกรรมองค์เทพออกโปรด
ตรัง สาธุชน (พระออกเที่ยว) และพิธีโขกุน (พิธีเลี้ยง
3. ขอบเขตด้านประชากร ทหาร) วันพระออกโปรดสาธุชนผู้คนจะจัดโต๊ะเพื่อ
กลุม่ ตัวอย่างทีเ่ ลือกมาจากประชากรในการ ต้อนรับขบวนขององค์เทพบริเวณด้านหน้าบ้าน
วิจยั ครัง้ นี ้ ได้แก่ ร่างทรงหรือม้าทรงจ�ำนวน 12 คน ของตนเอง เมื่อองค์เทพเสด็จถึงหน้าบ้านก็จะยก
กรรมการศาลเจ้า 15 คน เจ้าหน้าที่ประจ�ำศาลเจ้า ถ้วยน�้ำชาที่วางบนโต๊ะมาบริกรรมคาถา และยื่นให้
32 คน และผู้เข้าร่วมการกินเจ 60 คน ลูกหลานดื่ม องค์เทพบางองค์จะราดน�้ำชาบนพื้น
หน้าโต๊ะ เพื่อเป็นการปัดเป่าสิ่งไม่ดีให้ออกไปจาก
บ้านหลังนี้
ค�ำศัพท์ภาษาจีนที่ใช้ในประเพณีกินเจของชาวไทยเชื้อสายจีน... 34 เกตมาตุ ดวงมณี

ส�ำหรับพิธีโขกุน เมื่อเริ่มประกอบพิธีกรรม มงคลของชาวจีน อันมีความหมายถึง ความร�่ำรวย


องค์เทพจะยกถ้วยน�้ำชา หันไปทางองค์เทพหลัก ซาแซเป็นอาหารที่ใช้ในพิธีโขกุนคาว (พิธีเลี้ยง
ของศาลเจ้า จากนั้นหันไปทางศาลเทวดา เพื่อ ทหารด้วยอาหารคาว) ซึ่งเป็นพิธีกรรมหลังจากวัน
เป็นการแสดงความเคารพและบอกกล่าวให้องค์ สิ้นสุดพิธีกินเจ เป็นการเลี้ยงทหารฟ้าครั้งสุดท้าย
เทพชั้ น ผู ้ ใ หญ่ รั บ ทราบ ก่ อ นจะเริ่ ม ประกอบ หลังจากที่ทหารได้ช่วยตรวจตราดูแลตลอดการจัด
พิธกี รรม เมือ่ สิน้ สุดการประกอบพิธกี รรม องค์เทพ งานในประเพณีกนิ เจให้ส�ำเร็จราบรืน่ การประกอบ
จะใช้น�้ำชาราดลงบนพื้นหน้าโต๊ะพิธี เพื่อเป็นการ พิธีกรรมโขกุนจะถูกต้อง ต่อเมื่อพระอ้อเอี๋ย (พระ
ปัดเป่าสิ่งชั่วร้ายต่าง ๆ มิให้เกิดขึ้นกับสาธุชนที่มา เสือ) ประทับทรงบุคคลในพิธีกรรม และคลานเข้า
เข้าร่วมประเพณีกนิ เจ และเป็นการบอกลาเทพเจ้า มาคาบเนือ้ หมู หากยังไม่มกี ารประทับทรงของพระ
ทีใ่ ห้รบั ทราบว่าเป็น การสิน้ สุดพิธกี รรม ขอให้ทา่ น อ้อเอี้ย แสดงว่า การประกอบพิธีกรรมมีบางอย่าง
ได้ช่วยปกป้องปฐพีแห่งนี้ด้วย ที่ยังไม่ถูกต้อง จักต้องท�ำการแก้ไขให้ถูกต้องเสีย
ซาแซ (三生) หมายถึง ของเซ่นไหว้คาว 3 ก่อน
ประเภท ส่วนมากประกอบด้วย ไก่ หมู และ แตเลียว (茶料) หมายถึง ขนมจันอับใช้
ปลาหมึกแห้ง ค�ำว่า “三” แปลว่า “สาม” ส่วนค�ำว่า ส�ำหรับตัง้ บนโต๊ะเซ่นไหว้องค์เทพ โดยสามารถเซ่น
“生” แปลว่า “เกิด” ไหว้ทั้งองค์เทพที่กินคาว เช่น พระอ้อเอี้ยและองค์
ซาแซเป็นอาหารคาวไหว้เจ้าประเภทฟ้าและ เทพที่กินเจ เช่น พระโพธิสัตว์กวนอิม หรือพระโป้
ดิน ประกอบด้วยสัตว์จากสามโลก แสดงถึงสามภพ เซ้งไต่เต่ แตเลียวเป็นขนมที่ไม่ได้ท�ำด้วยเนื้อสัตว์
สามภูมิ นั่นคือ โลกฟ้า ได้แก่ สัตว์ปีก เช่น นก ไก่ หรือน�ำ้ มันหมู หากแต่ใช้นำ�้ มันถัว่ ในการปรุง จึงเป็น
ฯลฯ โลกดินได้แก่ สัตว์กบี เช่น ม้า หมู และโลกน�้ำ อาหารที่สามารถตั้งเซ่นไหว้เทพทุกองค์ในศาลเจ้า
ได้แก่ ปลาหมึก หรือสัตว์มีเกล็ด มีครีบ หรือมีก้าง แตเลียวที่นิยมใช้ส�ำหรับเซ่นไหว้องค์เทพอยู่มี 3
ซึ่ง สว่าง จ�ำปา (สัมภาษณ์, 2557) ได้ให้ค�ำอธิบาย อย่าง คือ ขนมไข่นก ขนมถั่วตัด และขนมคิ้วนาง
เกี่ยวกับค�ำศัพท์จีนนี้ว่า หรือบี้ผ่าง
“ซาแซ นี้เป็นภาษาฮกเกี้ยนนะ ค�ำว่า “ซา” นอกจากนีย้ งั ใช้แตเลียวในพิธโี ปรยทาน (พิธี
คือ “สาม” ส่วนค�ำว่า “แซ” คือ “เกิด” ก็ตรงกับค�ำ พ้อต่อ) เจ้าหน้าทีจ่ ะเตรียมแตเลียวทัง้ สามอย่างใส่
ว่า “เซิง 生” ในจีนกลาง ที่พวกเราเคยได้ยินคนจีน ถุงเพือ่ แจกให้แก่ผยู้ ากไร้ในพิธพี อ้ ต่อ เนือ่ งจากแต
เค้าพูดว่า “แซยิด” พวกจัดงานวันเกิดนัน้ แหละ จริง เลี ย วเป็ น อาหารหวาน บุ ค คลทั่ ว ไปเมื่ อ ได้ รั บ
ๆ ค�ำว่าแซ นี้ยังหมายถึง ชีวิตด้วย ซาแซ รวม ๆ ประทานอาหารหวานจะเกิดความสดชื่น ความ
แล้ว ก็คือ ชีวิตสามภพ การที่คนเราตายไปก็จะไป กระชุม่ กระชวย ดังนัน้ การแจกแตเลียวในพิธพี อ้ ต่อ
เกิดอยู่สามภพนั่นแหละ เราเลยใช้ซาแซไหว้พระ อีกนัยหนึ่งก็เพื่อส่งมอบความสุข ความหอมหวาน
เป็นการไหว้ทั้งสามภพ สัตว์ที่เอามาไหว้ หากโลก ในชีวิตให้เกิดขึ้นแก่บุคคลผู้นั้น
ฟ้า ก็จะเอาสัตว์ที่บินได้มีปีกมาไหว้ ของโลกดินก็ อ๋องหลาย (凤梨) หมายถึง สับปะรด เป็น
เป็นพวกสัตว์ที่อยู่บนดินมีขานะ พอโลกน�้ำก็เอา ผลไม้ทใี่ ช้เซ่นไหว้องค์เทพในศาลเจ้า และใช้ส�ำหรับ
สัตว์พวกทีอ่ ยูใ่ ต้นำ�้ แต่ทเี่ ห็น ๆ ในศาลเจ้าส่วนใหญ่ จัดโต๊ะรับเสด็จองค์เทพของสาธุชนในวันพระออก
จะเป็นปลาหมึกแห้ง” โปรดสาธุชน
ส�ำหรับโลกน�้ำนั้น ชาวจีนนิยมใช้ปลาหมึก ค�ำศัพท์ “อ๋องหลาย” พ้องกับค�ำจีนว่า “王
และปู เพราะปลาหมึกมีหนวด 8 เส้น ส่วนปูมีขา 来” ซึง่ แปลว่ากษัตริยเ์ สด็จ ฯ สับปะรดจึงเป็นผลไม้
8 ขา ซึง่ ตรงกับทิศทัง้ 8 ดังนัน้ เลข 8 จึงถือเป็นเลข ที่นิยมน�ำมาไหว้องค์เทพ อันมีความหมายแฝงว่า
วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 35 ปีที่ 35 ฉบับที่ 5 กันยายน - ตุลาคม พ.ศ.2559

“กษัตริย์หรือฮ่องเต้ได้เสด็จมาอยู่ใกล้ผู้กราบไหว้” ไหว้นอกจากจะขอให้อายุยืนยาวแล้ว ยังขอให้มีสิ่ง


และเนื่ อ งจากสั บ ปะรดเป็ น ผลไม้ ที่ มี ต ารอบผล มงคลเข้ามาในชีวิตอีกด้วย
เปรียบเสมือนตาของเทพเจ้าหรือองค์ศกั ดิส์ ทิ ธิท์ จี่ ะ ปึ่ง (饭) หมายถึง ข้าวสวย เนื่องจากข้าวมี
ช่วยตรวจตราดูแลปกป้องลูกหลานชาวโลกอยู่ทุก สีขาว ชาวฮกเกี้ยนถือว่าสีขาว คือ สีอวมงคล ดัง
ขณะ และการที่สับปะรดมีตารอบผลยังสื่อความ นั้นสิ่งของที่มีสีขาว จะไม่น�ำมาไหว้พระ ยกเว้นพิธี
หมายของ ผู้ไหว้ว่าจะเป็นบุคคลที่มีความรอบรู้ มี โขกุ น คื อ พิ ธี เลี้ ย งทหารในประเพณี กิ นเจหรื อ
สติปญ ั ญากว้างไกล (มีตาพันตา ท�ำให้มองเห็นไกล) ประเพณี วันเกิดเทพเจ้าประจ�ำศาลเจ้านั้น ๆ
การน�ำสับปะรดมาเซ่นไหว้ เพื่อขอให้องค์เทพช่วย นอกจากนี้สีขาวยังเป็นสีชุดไว้ทุกข์ที่ ชาว
ปกปักรักษาตนและครอบครัวตลอดไป ไทยเชื้ อ สายจี น ใช้ ส วมใส่ ใ นพิ ธี ง านศพอี ก ด้ ว ย
พีรพงศ์ เสียงจันทร์ (สัมภาษณ์, 2558) สอดคล้องกับถาวร สิกขโกศล (2555, 158) ที่ได้
กล่าวถึง การวางสับปะรดในการเซ่นไหว้ว่า กล่ า วถึ ง การแต่ ง ชุ ด ขาวในประเพณี กิ น เจว่ า
“ย่านัด (สับปะรด) เป็นผลไม้ที่ หมายถึงว่า “การแต่งชุดขาวในประเพณีกินเจ มีค�ำอธิบายว่า
พระลงมาดูแลพวกเรา จึงต้องวางแยกต่างหาก จะ เป็นชุดไว้ทกุ ข์ให้แก่เจ้าชายปิง่ กษัตริยอ์ งค์สดุ ท้าย
วางรวมปนกับผลไม้อื่นในถาดเดียวกันไม่ได้ ปกติ ของราชวงศ์ซ่ง ค�ำศัพท์ในพิธีนี้ก็ใช้ค�ำราชาศัพท์
แล้วการวางย่านัดในโรงพระ (ศาลเจ้า) จะวางใส่ เช่น รับเสด็จ ส่งเสด็จ เป็นต้น ผู้ที่กินเจแล้วจะไป
พานในแนวตั้ง คือ ตัดด้ามออกและให้หัวจุกปลาย สักการบูชาก็ต้องแต่งสีขาวและสยายผม ซึ่งเป็น
แหลม ๆ ที่มีหนามชี้ขึ้นข้างบน และต้องเอาย่านัด ประเพณีไว้ทุกข์ให้ผู้ใหญ่ของจีน”
วางไว้ ก ่ อ นผลไม้ อื่ น นะ เพราะศั ก ดิ์ ข องย่ า นั ด เมืองตรังได้รับการขนานนามว่า “เมืองแห่ง
มากกว่าอย่างอื่น” การกิน” ชาวตรังไม่ว่าจะเป็นทั้งชาวไทย หรือชาว
อังกู๊ (红龟) หมายถึง ขนมเต่าสีแดง ค�ำว่า ไทยเชื้อสายจีน มี การรับประทานอาหารตลอดทั้ง
“อัง (红)” หมายถึง แดง ส่วนค�ำว่า “กู๊ (龟)” หมาย วัน ด้วยเหตุนี้จังหวัดตรังจึงมีความหลากหลายใน
ถึง “เต่า” รวมแล้วหมายถึง เต่าแดง หรือเต่าสีแดง เรื่องอาหารการกิน ค�ำศัพท์ภาษาจีนที่ใช้เรียกชื่อ
เป็นค�ำเรียกชือ่ ขนมหวาน ซึง่ ปัน้ เป็นรูปตัวเต่า ข้าง อาหารและเครื่องดื่มในประเพณีกินเจ นอกจากจะ
ในมีไส้ถั่วเหลืองบด ใช้ในพิธีกรรมแล้ว ยังเกี่ยวข้องกับการใช้ชีวิตของ
อั ง กู ๊ เป็ น อาหารเซ่ น ไหว้ อ งค์ เ ทพใน คนในท้องถิน่ ดังเช่น การเลือกสีของสิง่ ของทีน่ �ำมา
ศาลเจ้า และเป็นอาหารที่ใช้ส�ำหรับจัดโต๊ะรับพระ เซ่นไหว้ อาทิ สีขาวใช้ส�ำหรับการไหว้บรรพบุรุษ
ในวันพระออกเทีย่ ว อังกูท๊ ใี่ ช้เป็นอาหารเซ่นไหว้ใน หรือผูล้ ว่ งลับ สีแดงเป็นสีมงคลจึงมักใช้สงิ่ ของสีแดง
ศาลเจ้าจะเป็นอังกูท๊ ตี่ วั โต โดยจะจัดใส่จาน ๆ ละ 3 ในพิธีมงคล เช่น การใช้ขนมเต่าสีแดง เป็นต้น
ตัว และหันส่วนหัวของอังกู๊เข้าหาองค์เทพ ส�ำหรับ 2. การน�ำค�ำศัพท์ภาษาจีนมาเรียกชื่อ
อังกู๊ที่สาธุชนจัดโต๊ะรับเสด็จองค์เทพจะตัวเล็กกว่า บุคคลและเทพเจ้า
ที่ใช้ในศาลเจ้า บุคคลและเทพเจ้าล้วนเป็นสิง่ ทีเ่ กีย่ วข้องกับ
การใช้อังกู๊ (ขนมเต่าสีแดง) ในการเซ่นไหว้ ประเพณีกนิ เจ เพราะเป็นผูท้ ปี่ ฏิบตั พิ ธิ กี รรมต่าง ๆ
เนื่องจาก เต่า เป็นสัตว์อายุยืน มีความอดทนสูง อี ก ทั้ ง เป็ น ผู ้ ที่ ท�ำให้ ง านส�ำเร็ จ ลุ ล ่ ว งด้ ว ยดี ใน
สามารถทนต่อความร้อนหนาวได้ดี ชาวจีนจึงใช้ ประเพณีกินเจมักใช้ค�ำเรียกบุคคลเหล่านี้ด้วยค�ำ
ขนมชนิดนี้ในการขอพรให้ตนเองและครอบครัวให้ ศัพท์ภาษาจีน ซึ่งค�ำศัพท์ที่พบได้บ่อยมีดังนี้
มีอายุยืนยาว สีแดงถือว่าเป็น สีมงคลของชาวไทย เต่จู้ (地主) หมายถึง เจ้าของที่ดิน เป็นผู้มี
เชือ้ สายจีน ดังนัน้ การใช้ขนมเต่า สีแดง ในการเซ่น อ�ำนาจในพืน้ ทีน่ นั้ ๆ บางครัง้ คนในท้องถิน่ เรียกว่า
ค�ำศัพท์ภาษาจีนที่ใช้ในประเพณีกินเจของชาวไทยเชื้อสายจีน... 36 เกตมาตุ ดวงมณี

เทพเจ้าที่ ค�ำศัพท์ “เต่จู้” แตกต่างจากเทพเจ้าอีก ประกอบอาชีพ และท�ำกิจกรรมต่าง ๆ ประเพณีกนิ


องค์ คือ ปุนเถ้ากง ซึง่ เป็น พระศักดิส์ ทิ ธิเ์ หมือนกับ เจก็ย่อมมีเครื่องมือเครื่องใช้ที่ใช้เช่นกัน ซึ่งสุรสิทธิ์
บรรพบุรุษที่มีวิชาความรู้ เมื่อตายไปแล้วก็มีผู้บูชา อมรวณิชศักดิ์ (2554 : 22) กล่าวไว้ว่า “ประเพณี
ซึ่งรัฐพล ศรีวิลาศ (2550 : 165) ได้กล่าวเพิ่มเติม ปฏิบัติเรื่องความเชื่อของชาวจีนมักให้ความส�ำคัญ
เกีย่ วกับเทพเจ้าตามความเชือ่ ดัง้ เดิมว่า “ปุนเถ้ากง กับเทพประธานก่อนเสมอ สิง่ ของเครือ่ งใช้สว่ นใหญ่
มีรูปร่างหน้าตาดังเศรษฐีชนบทโบราณ มีผมและ ภายในศาลก็มักท�ำขึ้นเพื่อบูชาเทพประธานเป็น
หนวดสีขาว มือถือไม้เท้า สวมเสือ้ คลุมยาว เป็นชาย หลั ก ” ตั ว อย่ า งค�ำศั พ ท์ เ ครื่ อ งมื อ เครื่ อ งใช้ ใ น
ชราใจดี และเป็นเทพเจ้าที่คุ้มครองรักษาชุมชน” ประเพณีกินเจมี ดังนี้
ชาวจีนฮกเกีย้ นนิยมอัญเชิญเต่จไู้ ว้ทหี่ งิ้ เพือ่ หงอเซ็กจั้ว (五色纸) หมายถึง กระดาษห้า
กราบไหว้ ส่วนชาวจีนแต้จวิ๋ จะนิยมอัญเชิญท่านไว้ สี ประกอบด้วยสีเขียว สีแดง สีขาว สีด�ำ และสี
ที่หิ้งบนพื้น เพราะถือว่า ท่านเป็นเทพเจ้าที่ ในการ เหลื อ ง สี ทั้ ง ห้ า สี นี้ เ ป็ น สี ป ระจ�ำทิ ศ ของทหารที่
บูชาเจ้าที่ของแต่ละบ้าน อาจมีรายละเอียดต่างกัน ปฏิ บั ติห น้ า ที่ ป ระจ�ำทิ ศ ตนเองในประเพณี กิ นเจ
เช่น บางบ้านนิยมบูชาดอกไม้สด มาลัย บางบ้าน แต่ละทิศก็จะมีการถือธาตุทแี่ ตกต่างกัน ซึง่ ประเด็น
ต้ อ งมี ต ้ น ไผ่ ก วนอิ ม ปั ก แจกั น ไว้ เ ป็ น ประจ�ำ ที่ ดังกล่าวนีม้ สี ว่ นเกีย่ วข้องกับศาสตร์ ฮวงจุย้ ซึง่ เป็น
กระถางธูปนิยมประดับด้วย กิมฮวย (จินฮวา) แต่ ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับธรรมชาติของชาวจีน
ในกระถางธูปบางบ้านนิยมใส่ทรายหรือข้าวสารที่ ในประเพณีกินเจ หงอเซ็กจั้วใช้ส�ำหรับผู้มี
กระถางธูป ความรู้ทางพระเท่านั้น เช่น ฮวดซู ซึ่งเป็นเสมือนผู้
โหล่เฉี้ย (红孩儿) หมายถึง เทพเจ้านาจา ควบคุมทหารทั้ง 5 ทิศ ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าฮวดซู
เป็นเทพเจ้าที่มีอิทธิฤทธิ์ ร่างทรงที่ทรงโหล่เฉี้ย เป็นเจ้านายของทหารทั้ง 5 ทิศ จ�ำเป็นต้องใช้เงิน
ส่วนใหญ่จะเป็นบุคคลทีม่ รี า่ งกายแข็งแรงก�ำย�ำ การ เลี้ยงเหล่าทหาร กระดาษห้าสีจึงเปรียบเสมือน
เข้าทรงขององค์โหล่เฉีย้ จะเป็น แบบดุดนั โดยทัว่ ไป คูปองเงินประจ�ำทิศ ใช้ส�ำหรับเผาเพื่อแจกจ่ายให้
โหล่เฉีย้ จะประกอบพิธกี รรมทีเ่ กีย่ วข้องกับทหารใน เหล่าลูกน้อง หงอเซ็กจัว้ นิยมใช้ในพิธโี ขกุน และพิธี
ประเพณีกินเจ เช่น พิธีอันเอี๋ย (พิธีตรวจพลทหาร) ลุยไฟ ฮวดซูจะใช้หงอเซ็กจั้วเพื่อเชิญทหารให้
พิธีโขกุน (พิธีเลี้ยงทหาร) เป็นต้น ผู้คนที่มากราบ ท�ำงาน ดังนั้นอาจเรียกได้ว่าเป็นการติดสินบน
ไหว้องค์โหล่เฉีย้ ส่วนมากมักขอให้ประสบผลส�ำเร็จ ทหารเพื่อให้ท�ำงานให้ดียิ่งขึ้น ดังนั้นหงอเซ็กจั้วจึง
ในการท�ำงาน ขอให้ตนมีพลังในการต่อสู้กับคนไม่ เป็นสิ่งของอย่างหนึ่ง ที่ใช้ประกอบพิธีกรรมใน
ดี โดยส่ ว นมากผู ้ ค นที่ ม าขอพรมั ก เป็ น บุ ค คลที่ ประเพณีกินเจ
ประกอบอาชีพทหาร ต�ำรวจ สังเกตได้ว่าหากบ้าน ฮกเกี้ยนกิม (福建金(纸 )) คือ กระดาษ
ใดมีการตัง้ องค์โหล่เฉีย้ บูชาไว้ทบี่ า้ น ลูกหลานบ้าน ทองของชาวฮกเกีย้ น เป็นกระดาษทองทีม่ รี ปู ภาพ
นั้นมักประกอบอาชีพทหาร หรือต�ำรวจ อยู่ตรงกลางของกระดาษ องค์กลาง คือ กษัตริย์
ค�ำศั พท์ภาษาจีนที่ใ ช้เ รีย กชื่อบุคคลหรือ ด้านซ้ายเป็นราชองค์รกั ษ์ฝา่ ยบุน๋ ส่วนด้านขวาเป็น
เทพเจ้านัน้ ล้วนเกีย่ วข้องกับการเซ่นไหว้และ ขอ ราชองค์รักษ์ฝ่ายบู้ (ภาพที่ 1) จากภาพที่ปรากฏ
พรของผู้คนในท้องถิ่นโดยยึดตามอิทธิฤทธิ์หรือ บนฮกเกี้ยนกิม ท�ำให้ทราบว่าชาวไทยเชื้อสายจีน
ความสามารถของเทพเจ้าองค์นั้น ๆ โดยเฉพาะชาวฮกเกี้ยนได้ให้การเคารพ ศรัทธา
3. การน�ำค�ำศัพท์ภาษาจีนมาเรียกชื่อ กษัตริย์หรือเทพเจ้าเป็นอย่างยิ่ง จนเป็นที่มาของ
เครื่องมือเครื่องใช้ การตั้งชื่อกระดาษทองไหว้เจ้า
เครื่ อ งมื อ เครื่ อ งใช้ เ ป็ น อุ ป กรณ์ ใ นการ จากการเก็บข้อมูลในพื้นที่ พบว่าชาวจีน
วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 37 ปีที่ 35 ฉบับที่ 5 กันยายน - ตุลาคม พ.ศ.2559

ฮกเกีย้ นในจังหวัดตรังมีความพิถพี ถิ นั ในการเคารพ แต่ (น�้ำชา) ชาวจีนยังถือว่า “แต่” หรือน�้ำ


องค์เทพ เห็นได้จากกระดาษที่ใช้ประกอบการไหว้ ชานั้นเป็นเครื่องดื่มชั้นสูง ซึ่งสูงกว่าเหล้า ปัจจุบัน
ยั ง มี ก ารน�ำสั ญ ลั ก ษณ์ แ ทนกษั ต ริ ย ์ แ ละเทพเจ้ า ผูค้ นในท้องถิน่ จังหวัดตรัง ซึง่ รวมถึง ชาวไทยเชือ้
ประทับไว้บนกระดาษ นอกจากนี้บนกระดาษทอง สายจีนและชาวไทยนิยมพูดติดปากว่า “ไปกินน�้ำ
ของชาวฮกเกี้ยนยังปรากฏการจัดวางต�ำแหน่ง ชา” หมายถึง การไปนั่งดื่มชาในตอนเช้าและตอน
องครักษ์ของกษัตริย์ไว้อย่างชัดเจน เย็น กิจกรรมดังกล่าวท�ำให้เกิดการเรียนรู้ในวงน�้ำ
ชา เกิดการปฏิสัมพันธ์กับคนต่างกลุ่มที่เข้ามาดื่ม
น�้ำชา และอาจน�ำมาซึ่งความสมานฉันท์ นอกจาก
นี้ ช าวไทยเชื้ อ สายจี น นิ ย มใช้ น�้ ำ ชาในการเลี้ ย ง
ต้อนรับแขก ซึ่งมักกล่าวต้อนรับด้วยค�ำว่า “เจี๊ยะ
แต่” หมายถึง ดื่มชา เป็นการแสดงถึงการมีกัลยา
มิตรของเจ้าบ้านกับแขก อีกทัง้ ยังพบว่าชาเป็นส่วน
ภาพประกอบ 1 ฮกเกี้ยนกิม ประกอบของพิ ธี แ ต่ ง งาน เปล่ ง ศรี รั ต นพรรณ์
ที่มา ถ่ายโดยผู้วิจัย, 16 ตุลาคม 2557 (สัมภาษณ์, 2558) ให้ข้อมูลว่า
“ ในพิธีแต่งงานก็ใช้น�้ำชาเป็นส่วนหนึ่งของ
อ่อเหล่ง (黑旗) คือ ธงอาญาสิทธิ์ สีด�ำลง พิธีกรรม ชาวไทยเชื้อสายจีนในท้องถิ่นจะเรียกว่า
คาถาอาคม ส�ำหรับศาลเจ้าจะมี 2 ชุด ออเหล่งชุด “ยกแต่ หรือยกนำ�้ ชา” นัน่ คือ คูบ่ า่ วสาวจะนัง่ คุกเข่า
ที่หนึ่งถูกเก็บไว้ในเขตพระราชฐานชั้นใน หรือที่ ยกน�้ำชายื่นส่งให้แก่แขกผู้ใหญ่ ซึ่งแขกผู้ใหญ่จะ
เรียกว่าไล่ตวั๋ อ่อเหล่งท�ำด้วยผ้าสีด�ำรูปสีเ่ หลีย่ มผืน มอบซองอังเปาบรรจุเงิน หรือสร้อยคอทองค�ำ ให้
ผ้า 2 ผืน ตรงกลางวาด “ไท้เก๊ก” หรือที่เรียกกัน แก่คู่บ่าวสาวเป็นของขวัญ ซึ่งการยกแต่หรือยกน�้ำ
ทั่วไปว่า “ปั้ดกั่ว” ใช้ในพิธีกรรมวันพระออกโปรด ชา เป็นการแสดงออกถึงความเคารพ นับถือของ
สาธุชน อ่อเหล่งชุดที่สอง เป็นธงสีด�ำผืนเดียว ผู้น้อยที่มีต่อผู้ใหญ่”
ลักษณะรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ตรงกลางจะมีรูปภาพปั้ แตเลียว หากแปลตามตัวอักษรจีนแล้ว มี
ดกั่ว (ยันต์แปดทิศ) เป็นอุปกรณ์ที่องค์เทพใช้ หมายความถึงขนมแกล้มนำ�้ ชา หรือ ขนมทีก่ นิ คูก่ บั
ส�ำหรับปัดรังควาน คลุมสิง่ สกปรก (ในทีน่ หี้ มายถึง น�้ำชา ดังนั้นชาวไทยเชื้อสายจีนนอกจากจะกิน
เคราะห์ ) คลุ ม ศี ร ษะของผู ้ ป ่ ว ยในการรั ก ษาไข้ ติม่ ซ�ำดืม่ ชาในตอนเช้าและตอนเย็นแล้ว ยังมี การ
เป็นต้น ดื่มชาในตอนบ่าย โดยใช้จันอับเป็นอาหารว่าง
สังเกตได้ว่าธงสีด�ำ (อ่อเหล่ง) เป็นอุปกรณ์ แกล้มกับน�้ำชา นอกจากนี้จิตโศภิษฐ์ ทองแจ้ง
ที่ใช้ประกอบพิธีอวมงคล สีด�ำแสดงถึงสีที่ไม่เป็น (สัมภาษณ์, 2557) ยังให้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับแต
มงคล ดังนั้นชาวไทยเชื้อสายจีนในจังหวัดตรังไม่ เลียวว่า
นิยมสวมใส่เสื้อผ้าสีด�ำ หลีกเลี่ยงการใช้สิ่งของ “แตเลียวยังเป็นขนมมงคลของชาวไทยเชื้อ
เครื่องใช้ส่วนตัวสีด�ำ เช่น กระเป๋าสตางค์สีด�ำ ต่าง สายจีนและชาวตรังท้องถิ่นอีกด้วย โดยจะใช้ แต
หูสีด�ำ นาฬิกาสายสีด�ำ เป็นต้น เลียวในงานมงคลต่าง ๆ เช่น งานแต่งงานและงาน
ค�ำศั พ ท์ ภ าษาจี น ที่ ใ ช้ ใ นประเพณี กิ น เจ ขึ้นบ้านใหม่ เนื่องจากขนมที่ประกอบเป็น แตเลียว
นอกจากใช้ในแง่ของพิธกี รรมแล้ว ยังปรากฏ การ คือ ขนมไข่นก จะมีทั้งสีขาวและสีแดง ซึ่งเป็นสี
ใช้ในชีวิตประจ�ำวันด้วย ดังเช่น มงคล ขนมถัว่ ตัด แสดงถึงความเจริญงอกงาม ขนม
คิ้วนาง แสดงถึงความมั่นคงแน่วแน่”
ค�ำศัพท์ภาษาจีนที่ใช้ในประเพณีกินเจของชาวไทยเชื้อสายจีน... 38 เกตมาตุ ดวงมณี

อภิปรายผล ของคนท้องถิ่น
การศึ ก ษาครั้ ง นี้ ไ ด้ เ ก็ บ รวบรวมค�ำศั พ ท์
การวิจัยครั้งนี้พบว่าประเพณีกินเจของชาว พร้ อ มทั้ ง การใช้ ค�ำศั พ ท์ ภ าษาจี น ที่ ป รากฏใน
ไทยเชื้อสายจีนในจังหวัดตรังยังปรากฏการใช้ค�ำ ประเพณีกินเจ ซึ่งเป็นประเพณีที่ชาวไทยเชื้อสาย
ศัพท์ภาษาจีนฮกเกี้ยนและแต้จิ๋วผ่านกระบวนการ จีนในจังหวัดตรัง ได้มกี ารสืบทอดมาอย่างยาวนาน
ทางพิธีกรรม โดยส่วนใหญ่เป็นค�ำศัพท์ที่ในการใช้ เพือ่ ต้องการน�ำเสนอให้ลกู หลานชาวจีนได้มคี วามรู้
เรียกชื่ออาหารและเครื่องดื่ม ค�ำศัพท์ที่ใช้เรียกชื่อ และเข้าใจถึงภาษาจีนทีแ่ ฝงในชีวติ ประจ�ำวัน ตลอด
บุคคลและเทพเจ้า และค�ำศัพท์ที่ใช้เรียกชื่อเครื่อง ทัง้ เห็นถึงความส�ำคัญใน การอนุรกั ษ์การใช้ภาษา
มือเครื่องใช้ และยังมีการน�ำมาใช้ในชีวิตประจ�ำวัน ให้คงอยูต่ อ่ ไป อีกทัง้ เป็น การเพิม่ องค์ความรูด้ า้ น
อีกด้วยโดยเฉพาะ เรื่องสี เช่น ชาวจีนเชื่อว่าสีแดง ภาษาศาสตร์และสังคมวิทยา ตลอดทัง้ ประวัตศิ าสตร์
เป็ น สี ม งคล สี ข าวและสี ด�ำเป็ น สี อ วมงคล การ สังคมท้องถิ่น ในแก่แวดวงวิจัย
ด�ำเนินกิจการใด ๆ จึงต้องสวมใส่สแี ดงเพือ่ เอาฤกษ์
เอาชัย และจะหลีกเลีย่ งการสวมใส่สขี าวและสีด�ำใน
สรุป
งานมงคล ปัจจุบันชาวไทยมีการปรับการใช้ชีวิต
ตามสิ่งนี้ด้วย นั่นคือ การใส่เสื้อผ้าสีแดง สีชมพูใน ภาษาจีนทีใ่ ช้ในประเพณีกนิ เจของ ชาวไทย
พิธีมงคล เป็นต้น เรื่องต�ำแหน่ง การวางของไหว้ เชือ้ สายจีนในจังหวัดตรังมีทงั้ หมด 233 ค�ำ ประกอบ
เช่น การหันส่วนหัวของสับปะรดเข้าด้านใน เพื่อ ด้วยค�ำศัพท์ภาษาจีนที่มาจากภาษาจีนฮกเกี้ยน
แสดงการเคารพองค์เทพ และเรือ่ งความหมายแฝง และภาษาจีนแต้จิ๋ว ค�ำเหล่านี้ถูกน�ำมาใช้ในการ
ของค�ำศัพท์ เช่น การใช้สบั ปะรดเป็นผลไม้เซ่นไหว้ ประกอบพิธีกรรม โดยจ�ำแนกได้ 3 ลักษณะคือ ค�ำ
ด้วยเชื่อว่าตารอบผลสับปะรด แสดงถึงตาขององค์ ศัพท์ทใี่ ช้เรียกชือ่ อาหารและเครือ่ งดืม่ ค�ำศัพท์ทใี่ ช้
เทพที่จะช่วยตรวจตราดูแลปกป้องลูกหลานชาว เรียกชือ่ บุคคลและเทพเจ้า และค�ำศัพท์ทใี่ ช้เรียกชือ่
โลกอยูท่ กุ ขณะ และท�ำให้ผกู้ ราบไหว้เป็นผูม้ ปี ญ ั ญา เครือ่ งมือเครือ่ งใช้ นอกจากนีค้ �ำศัพท์ภาษาจีนทีใ่ ช้
กว้างไกล การใช้ขนมเต่าเป็นของเซ่นไหว้ เนื่อง ในประเพณี กิ น เจ ยั ง แสดงออกในด้ า นของการ
ด้ ว ยเต่ า เป็ น สั ต ว์ อ ายุ ยื น จะท�ำให้ ต นเองและ ด�ำเนินชีวิตของคนในสังคม
ญาติมิตรมีอายุยืนด้วย ค�ำศัพท์ภาษาจีนที่ใช้ในประเพณีกินเจได้
ตลอดระยะเวลาที่ ผ ่ า นมาชาวจี น และลู ก สะท้อนความเป็นจีนของคนในท้องถิน่ โดยผ่านชาว
หลานชาวจีนหรือชาวไทยเชือ้ สายจีนทีเ่ ข้ามาอาศัย ไทยเชือ้ สายจีนทีม่ อี ายุตงั้ แต่ 50 ปีขนึ้ ไป ความเป็น
ในจังหวัดตรังได้ใช้ความพยายามในการด�ำรงความ จี น ผ่ า นกระบวนการใช้ ภ าษาอาจต้ อ งเผชิ ญ กั บ
เป็นตนเอง เพื่อที่ตนเองสามารถอยู่อาศัยร่วมกับ ปัจจัยภายนอกอันน�ำมาสู่ความเปลี่ยนแปลงหลาย
ผู้คน และสังคมให้เป็นปกติมากที่สุด สอดคล้องกับ ประการปัจจัยดังกล่าวได้แก่การผสมผสานระหว่าง
ศุภการ สิริไพศาลและอภิเชษฐ กาญจนดิฐ (2551 วัฒนธรรมท้องถิ่นดั้งเดิมของชาวไทยกับของชาว
: 112) ซึ่งกล่าวไว้ว่าชาวจีนที่อพยพเข้ามาต้อง ไทยเชื้อสายจีนหรือความเป็นสังคมสมัยใหม่ที่มุ่ง
เผชิญหน้าและปรับตัวให้สามารถใช้ชวี ติ ในเงือ่ นไข เน้นความเจริญทางวัตถุและเทคโนโลยี ปัจจัย
ที่แตกต่างไปจากเดิมให้ได้ ทั้งนี้เพื่อให้สามารถใช้ ต่างๆ เหล่านี้ท�ำให้ชาวไทยเชื้อสายจีนต้องเผชิญ
ชีวิตในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของสังคมใหม่นี้ให้ได้ กับกระแส การเปลี่ยนแปลง อย่างไรก็ตามความ
ด้วยเหตุนคี้ �ำศัพท์ภาษาจีนทีใ่ ช้ในพิธกี รรมกินเจ ยัง เป็นจีนของชาวไทยเชือ้ สายจีนในสังคมจังหวัดตรัง
คงมี การสืบต่อ และปรากฏการใช้ในชีวติ ประจ�ำวัน ที่ยังคงหลงเหลือให้เห็นจากการใช้ภาษา ยังคง
วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 39 ปีที่ 35 ฉบับที่ 5 กันยายน - ตุลาคม พ.ศ.2559

ด�ำรงอยูใ่ นเห็นในพิธกี รรมต่อไป หากมีการสืบทอด ข้อเสนอแนะ


ดังที่อรรคพล สาตุ้ม (2545 : 60) ได้กล่าวไว้ว่า
“การใช้ ภ าษาจี น ในพิ ธี ก รรมเป็ น สิ่ ง ที่ น ่ า สนใจ 1. ควรศึ ก ษาค�ำศั พ ท์ ภ าษาจี น ที่ ใ ช้ ใ น
เป็นการเพิม่ คุณค่าทางการศึกษาความหลากหลาย ประเพณีกินเจของพื้นที่จังหวัดอื่น
วัฒนธรรมในประเทศไทยทีพ่ บได้” หากบุคคล รุน่ 2. ควรศึกษาเปรียบเทียบการใช้ค�ำศัพท์
หลังได้มีการสืบทอดความเป็นจีนในสังคมตรังก็ยัง ภาษาจีนในประเพณีกินเจในด้านของพิธีกรรมและ
คงมีอยู่ต่อไป ความเชื่อ

เอกสารอ้างอิง
กรรณิการ์ ตันประเสริฐ. (2540). รายงานการวิจัยสนองพระราชประสงค์เรื่องนครศรีธรรมราช. กรุงเทพฯ
: สภามหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.
ถาวร สิกขโกศล. (2555). “ทีม่ าและพัฒนาการเทศกาลกินเจ : ประเพณีพนื้ บ้าน-อุดมการณ์การเมือง”. ศิลป
วัฒนธรรม. 34 : 158.
รัฐพล ศรีวิลาศ. (2550). “ศาลเจ้าจีนบนแผ่นดินสยาม ศรัทธา-ความเชื่อ ของลูกจีนโพ้นทะเล”. Advance
Thailand Geographic. 14 : 165.
ศุภการ สิริไพศาล และอภิเชษฐ กาญจนดิฐ. (2551). รายงานการวิจัยพิธีกรรมและความเชื่อของชาวไทย
เชื้อสายจีนบริเวณลุ่ม ทะเลสาบสงขลา จากอดีตถึงปัจจุบัน. ส�ำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรม
แห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม.
สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์. (2554). “เทพเจ้าปุนเถ้ากงในไซง่อน”. ศิลปวัฒนธรรม. 32 : 22.
อรรถพล สาตุ้ม. (2545). “ประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ชาวจีนกับผู้ปกครอง ความเชื่อ พิธีกรรมในศาลเจ้า
จีน จังหวัดเชียงใหม่”. 23 : 60.

บุคคลานุกรม
นางจิตโศภิษฐ์ ทองแจ้ง เป็นผู้ให้สัมภาษณ์, เกตมาตุ ดวงมณี เป็นผู้สัมภาษณ์, ที่ศาลเจ้ากิ่วอ๋องไต่เต่
ห้วยยอด อ�ำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2557.
นางสาวเปล่งศรี รัตนพรรณ์ เป็นผู้ให้สัมภาษณ์, เกตมาตุ ดวงมณี เป็นผู้สัมภาษณ์, ที่ 88 ถนนรัชชูปการ
อ�ำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง เมื่อวันที่ 3 มกราคม 2558.
นายพีรพงศ์ เสียงจันทร์ เป็นผู้ให้สัมภาษณ์, เกตมาตุ ดวงมณี เป็นผู้สัมภาษณ์, ที่ศาลเจ้ากิ่วอ๋องไต่เต่
ห้วยยอด อ�ำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง เมื่อวันที่ 3 มกราคม 2558.
นายสว่าง จ�ำปา เป็นผู้ให้สัมภาษณ์, เกตมาตุ ดวงมณี เป็นผู้สัมภาษณ์, ที่ 131 ต�ำบลท�ำนาน หมู่ 11
อ�ำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง เมื่อ วันที่ 20 กันยายน 2557.

Powered by TCPDF (www.tcpdf.org)

You might also like