You are on page 1of 44

1

สาระ/มาตรฐานการ

สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย

มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย


การเปลี่ยนแปลงของภาษา และพลังของภาษา
ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็ น
สมบัติของชาติ

ตัวชีว้ ัด
ม.๓/๑ จำแนกและใช้คำภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษา
ไทย
2

สาระสำคัญ/จุดประสงค์

สาระ

ภาษาต่างประเทศที่เข้ามาปะปนในภาษาไทยด้วยสาเหตุต่าง ๆ
มีอิทธิพลต่อภาษาไทย คือ ทำให้ลก
ั ษณะของภาษาไทยเปลี่ยนไป
จากเดิม ภาษาต่างประเทศที่มีใช้ในภาษาไทยเป็ นจำนวนมาก คือ
ภาษาบาลี สันสกฤต เขมร จีน อังกฤษ โดยเฉพาะภาษาบาลี
สันสกฤต เขมร จีน คนไทยนำมาใช้และมีการเปลี่ยนแปลงรูปคำ
จนดูกลมกลืนกับภาษาไทย แทบจะจำแนกไม่ได้ว่าเป็ นคำ
ที่มาจากภาษาอื่น ดังนัน
้ ศึกษาเรื่องคำภาษาต่างประเทศในภาษา
ไทย จะช่วยให้จำแนกและใช้คำภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย
ได้อย่างถูกต้อง
3

จุดประสงค์การ

๑. อธิบายสาเหตุที่ภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนในภาษาไทย
ได้
๒. อธิบายอิทธิพลของภาษาต่างประเทศที่มีผลต่อภาษาไทยได้
๓. จำแนกคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยได้

แบบทดสอบก่อนเรียน
แบบฝึ กทักษะเรื่องคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
4

เล่มที่ ๑ สาเหตุที่คำภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนใน
ภาษาไทย

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย  ทับในช่องตัวอักษร ก, ข,
ค, ง ที่เห็นว่าถูกที่สุด เพียงคำตอบเดียวใน
กระดาษคำตอบ

1. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุที่ทำให้ภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนใน
ภาษาไทย
ก. ความสัมพันธ์กันทางเชื้อชาติและถิ่นที่อยู่อาศัยตาม
ภูมิศาสตร์
ข. ความสัมพันธ์ทางด้านสงครามการค้า
ค. ความสัมพันธ์ทางด้านความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
ง. ความสัมพันธ์ทางด้านศาสนา
2. “คนไทยมีเสรีภาพในการนับถือศาสนา เมื่อนับถือศาสนาใด
ก็ตามย่อมได้รับถ้อยคำภาษาที่ใช้ ในคำสอน หรือคำ
เรียกชื่อต่างๆ ของศาสนานัน
้ มาปะปนอยู่ในภาษาไทย” จาก
ข้อความดังกล่าวความสัมพันธ์ข้อใดถูกต้อง
ก. ความสัมพันธ์ทางด้านประวัติศาสตร์
ข. ความสัมพันธ์ทางด้านภูมิศาสตร์
ค. ความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรมและประเพณี
5

ง. ความสัมพันธ์ทางด้านศาสนา
3. “คนไทยที่อาศัยอยู่บริเวณชายแดนมีความเกี่ยวพันกับชนชาติ
ต่างๆโดยปริยาย มีการเดินทางข้ามแดนไปมาหาสู่กัน
แต่งงานกันเป็ นญาติกัน” จากข้อความดังกล่าวความสัมพันธ์
ข้อใดถูกต้อง
ก. ความสัมพันธ์กันทางเชื้อชาติและถิ่นที่อยู่อาศัยตาม
ภูมิศาสตร์
ข. ความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรมและประเพณี
ค. ความสัมพันธ์ทางด้านการค้า
ง. ความสัมพันธ์ทางการทูต

4. ด้วยเหตุที่วรรณคดีทำให้ภาษาสันสกฤตและภาษาชวาเข้ามา
ปะปนในภาษาไทยนัน
้ มีอิทธิพล มาจากความสัมพันธ์ด้านใด
ก. ความสัมพันธ์ทางด้านวรรณคดี
ข. ความสัมพันธ์ส่วนตัวกับคนต่างชาติ
ค. ความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรมและประเพณี
ง. ความสัมพันธ์ทางด้านประวัติศาสตร์
๕. ข้อใดเป็ นคำที่เกิดจากความก้าวหน้าทางวิทยาการและ
เทคโนโลยี
ก. ปั ญญา ศีล
ข. ปฏิกิริยา เซียมซี
6

ค. คอมพิวเตอร์ ทฤษฎีบท
ง. ทรัพย์ หุ้น
6. ภาษาต่างปะเทศที่เข้ามาปะปนในภาษาไทยด้วยสาเหตุต่าง ๆ
มีอิทธิพลต่อภาษาไทย คือ ทำให้ลักษณะของภาษาไทย
เปลี่ยนไปจากเดิม ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. คำมีพยางค์มากขึน

ข. เกิดความยุ่งยากในการใช้คำ
ค. มีคำควบกล้ำใช้มากขึน

ง. มีคำไวพจน์ใช้มากขึน

๗. ข้อใดคือคำที่มีความหมายเหมือนกันทัง้ หมด
ก. นก ปั กษา สกุณา วิหค
ข. ม้า พาชี อาชา อัศวะ
ค. ดอกไม้ กรรณิกา บุปผชาติ สุมาลี
ง. น้ำ คงคา ธารา รัชนีกร
๘. จากอิทธิพลของภาษาต่างประเทศที่มีต่อภาษาไทย ทำให้
ลักษณะของภาษาไทยเปลี่ยนไป จากเดิม คือคำมีพยางค์มาก
ขึน
้ คำในข้อใดมี ๓ พยางค์ทุกคำ
ก. โทรศัพท์ ปรารถนา
ข. อุทกภัย จันทร
ค. ยาตรา จักรยาน
ง. สาธารณ มารดา
7

๙. จากอิทธิพลของภาษาต่างประเทศที่มีต่อภาษาไทย ทำให้
ภาษาไทยมีคำที่สะกดไม่ตรง ตามมาตรา คำในข้อใด
สะกดตรงตามมาตราทุกคำ
ก. กาญจน์ สุนัข
ข. ปาก ก้าน
ค. ลาภ บาท
ง. มงกุฎ เจริญ
๑๐. จากอิทธิพลของภาษาต่างประเทศที่มีต่อภาษาไทย ทำให้
โครงสร้างของภาษาเปลี่ยนไป ข้อใดไม่เป็ นประโยคสำนวน
ต่างประเทศ
ก. เขาพบตัวเองอยู่ในห้องเรียน
ข. นวนิยายเรื่องนีเ้ ขียนโดยทมยันตี
ค. ข้าพเจ้ามาถึงนครสวรรค์เมื่อเวลาบ่าย
ง. มันเป็ นเวลาบ่ายเมื่อข้าพเจ้ามาถึงลพบุรี
8

ใบความรู้เรื่องสาเหตุที่คำภาษา
ต่างประเทศ

สาเหตุที่ภาษาต่างประเทศเข้ามา

การติดต่อสัมพันธ์กันทำให้ภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนอยู่ใน
ภาษาไทย ด้วยสาเหตุ หลายประการ สรุปได้ดังนี ้

๑. ความสัมพันธ์ทางด้าน

สภาพภูมิศาสตร์ คือ ประเทศไทยมีอาณาเขตติดต่อกับ


ประเทศต่าง ๆ ได้แก่ พม่า ลาว เขมร มาเลเซีย จึงทำให้คนไทยที่
อยู่อาศัยบริเวณชายแดนเดินทางข้ามแดนไปมาหาสู่กัน และ
9

มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน จึงมีการแลกเปลี่ยนภาษากัน เช่น คน


ไทยที่อยู่ในจังหวัดสุรินทร์ ศรีษะเกษ บุรีรัมย์ ก็จะสามารถสื่อสาร
ด้วยภาษาเขมรได้ คนไทยที่อยู่ในจังหวัดปั ตตานี ยะลา นราธิวาส
สงขลา รับเอาภาษามาลายูเข้ามาใช้ เป็ นต้น

๒. ความสัมพันธ์ทางด้าน

ประวัติศาสตร์ชนชาติไทยเป็ นชนชาติที่มีประวัติศาสตร์อัน
ยาวนาน มีการอพยพโยกย้าย ของคนไทยเข้ามาอยู่ในถิ่นอาศัย
ปั จจุบัน ซึ่งแต่เดิมมีชนชาติอ่ น
ื อาศัยอยู่ก่อน เช่น เขมร ละว้า
มอญ หรือมีการทำศึกสงครามกับชนชาติอ่ น
ื มีการกวาดต้อนเชลย
ศึกและประชาชนพลเมืองชนชาติอ่ น
ื ๆ ให้มาอาศัยอยู่ใน
ประเทศไทย ผู้คนเหล่านีไ้ ด้นำถ้อยคำภาษาเดิมของตนเองมาใช้
ปะปนกับภาษาไทย

๓. ความสัมพันธ์ทาง
10

ศาสนาคนไทยมีเสรีภาพในการนับถือศาสนามาเป็ นเวลาช้านาน
เมื่อนับถือศาสนาใด
ก็ย่อมได้รับถ้อยคำภาษาที่ใช้ในคำสอน หรือคำเรียกชื่อต่าง ๆ ใน
ทางศาสนาของศาสนานัน
้ ๆ มาปะปน อยู่ในภาษาไทยด้วย
เช่น ศาสนาพราหมณ์ใช้ภาษาสันสกฤต ศาสนาพุทธใช้ภาษาบาลี
ศาสนาอิสลาม ใช้ภาษาอาหรับ และศาสนาคริสต์ใช้ภาษาอังกฤษ
ดังนัน
้ ภาษาต่าง ๆ ที่ใช้ ในทางศาสนาก็จะเข้ามาปะปนใน
ภาษาไทยด้วย

๔. ความสัมพันธ์ทาง

การค้าขายจากหลักฐานทางด้านประวัติศาสตร์ ชนชาติไทยมี
การติดต่อค้าขายแลกเปลี่ยนสินค้ากับชนชาติต่าง ๆ มาเป็ นเวลาอัน
ยาวนาน เช่น ชาวจีน ชาวโปรตุเกส ฝรั่งเศส อังกฤษ ฮอลันดา
ตลอดถึงญี่ปุ่น ยิ่งปั จจุบันการค้าขายระหว่างประเทศมีความสำคัญ
มากขึน
้ มีการใช้ภาษาต่างประเทศในวงการธุรกิจการค้ามากขึน

ทำให้มีถ้อยคำในภาษาของชนชาตินน
ั ้ ๆ เข้ามาปะปนอยู่ในภาษาไทย
เป็ นจำนวนมากตลอดเวลาไม่มีวันสิน
้ สุด

๕. ความสัมพันธ์ทาง
11

วรรณคดีอินเดียที่ไทยนำเข้ามา เช่น เรื่องมหากาพย์รามาย


ณะ และมหาภารตะแต่งขึน
้ เป็ นภาษาสันสกฤต อิเหนาเป็ น
วรรณคดีที่มีเค้าเรื่องมาจากเรื่องดาหลังของชวา ด้วยเหตุนว
ี ้ รรณคดี
ทำให้ภาษาสันสกฤตและภาษาชวาเข้ามาปะปนในภาษาไทย 

๖. ความสัมพันธ์ทางด้าน

ความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรมและประเพณี เมื่อชนชาติต่าง
ๆ เข้ามาสัมพันธ์ติดต่อกับ ชนชาติไทย หรือเข้ามาตัง้ หลักแหล่ง
อยู่ในประเทศไทย ย่อมนำเอาวัฒนธรรมและประเพณีที่เคยยึดถือ
ปฏิบัติอยู่ในสังคมเดิมของตนมาประพฤติปฏิบัติในสังคมไทย นาน ๆ
เข้าถ้อยคำภาษาที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมและประเพณีเหล่านัน
้ ก็
กลายมาเป็ นถ้อยคำภาษาที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของคนไทย
มากขึน

๗. ความสัมพันธ์ทางด้านการศึกษาและ
12

การศึกษาและวิทยาการด้านต่าง ๆ จากการที่คนไทยเดินทาง
ไปศึกษายังต่างประเทศ ทำให้ ได้ใช้และพูดภาษาอื่น ๆ และรับเอา
วิทยาการต่าง ๆ เมื่อสำเร็จการศึกษาจึงนำภาษาของประเทศนัน
้ มา
ใช้ปะปนกับภาษาของตน เช่น ภาษาอังกฤษ ในปั จจุบัน
ประเทศไทยกำลังเตรียมความพร้อม ด้านการศึกษาเพื่อก้าวสู่
ประชาคมอาเซียนและมาตรฐานสากล โดยการจัดการศึกษาให้ผู้
เรียนได้เรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมประเทศสมาชิกสมาคมอาเซียน
และภาษาที่สามารถสื่อสารกันในสากลโลก ดังนัน
้ การหลัง่ ไหลของ
ภาษาต่าง ๆ ที่จะเข้ามาปะปนในภาษาไทยก็จะเพิ่มมากขึน

๘. ความสัมพันธ์

ความสัมพันธ์ทางการทูต การเจริญสัมพันธไมตรีทางการทูต
ในการอพยพโยกย้ายหรือ ในการติดต่อทางการทูตย่อมทำให้
ภาษาของเจ้าของถิ่นเดิมหรือผู้อพยพโยกย้ายมาใหม่นำมาใช้ร่วมกัน
เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส 
13

๙. อพยพย้าย

อพยพย้ายถิ่นฐานมาจากสาเหตุหลายประการ เช่น สภาพ


เศรษฐกิจต้องไปประกอบอาชีพ ยังประเทศต่าง ๆ ภัยสงคราม
การเมืองการปกครอง

๑๐. ความสัมพันธ์ส่วนตัว

คนไทยจำนวนมากที่คบหาสมาคมกับคนต่างชาติหรือที่สมรส
กับคนต่างชาติ ทำให้มีการถ่ายทอดแลกเปลี่ยนกันในทางภาษา ใช้
ทัง้ ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในครอบครัวของตนเอง จึง
ทำให้ภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนในภาษาไทยมากขึน

14

คำภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษา

จากสาเหตุข้างต้นไทยได้ยืมคำภาษาต่าง ๆ เข้ามาใช้ปะปนใน
ภาษาไทยหลายภาษาด้วยกัน ดังนี ้

ภาษา คำ
บาลี กัญญา ขัตติยะ วิชา สันติ อิตถี
สันสกฤต บริษัท โฆษณา ประกาศ ภรรยา
แพทย์
จีน  ก๋วยเตี๋ยว ซาลาเปา เต้าฮวย บะหมี่
ลิน
้ จี่
อังกฤษ กอล์ฟ โปรตีน คลินิก ฟอสฟอรัส
นิวเคลียร์
15

เขมร กังวล ถนน บำเพ็ญ เผด็จ เสวย


ชวา-มลายู กริช กระดังงา ซ่าหริ่ม ปาหนัน
อังกะลุง อุรังอุตัง
เปอร์เซีย กุหลาบ คาราวาน ตราชู บัดกรี
สักหลาด
โปรตุเกส กะละแม กะละมัง สบู่ เลหลัง
ปิ่ นโต
ฝรั่งเศส กงสุล ครัวซองต์ คูปอง แชมเปญ
บุฟเฟ่ ต์
ญี่ปุ่น กิโมโน คาราเต้ ซูโม ยูโด สุกย
ี ้ ากี ้
ทมิฬ กะไหล่ กุลี กานพลู กำมะหยี่
อาจาด
อาหรับ กะลาสี การบูร กัน
้ หยั่น กะไหล่
ฝิ่ น
มอญ  เปิ งมาง พลาย ประเคน
พม่า หม่อง กะปิ ส่วย

ภาษาที่มีใช้ในภาษาไทยเป็ นจำนวนมาก คือ ภาษาบาลี


สันสกฤต เขมร จีน อังกฤษ โดยเฉพาะภาษาบาลี สันสกฤต เขมร
จีน ไทยนำมาใช้และมีการเปลี่ยนแปลงรูปคำจนดูกลมกลืน กับ
ภาษาไทยแทบจะจำแนกไม่ได้ว่าเป็ นคำมาจากภาษาอื่น
16

อิทธิพลของภาษาต่างประเทศที่

ภาษาต่างปะเทศที่เข้ามาปะปนในภาษาไทยด้วยสาเหตุต่าง ๆ
ดังกล่าวข้างต้นมีอิทธิพล ต่อภาษาไทย คือ ทำให้ลก
ั ษณะของ
ภาษาไทยเปลี่ยนไปจากเดิม ดังนี ้
คำมีพยางค์มากขึน
้ ภาษาไทยเป็ นภาษาตระกูลคำโดด คำ
ส่วนใหญ่เป็ นคำพยางค์เดียว เช่น พ่อ แม่ พี่ น้อง เดิน ยืน นั่ง
นอน เมือง เดือน ดาว ช้าง แมว ป่ า น้ำ เป็ นต้น เมื่อยืมคำ
ภาษาอื่นมาใช้ทำให้คำมีมากพยางค์ขน
ึ ้ เช่น 
- คำสองพยางค์ เช่น บิดา มารดา เชษฐา กนิษฐา
ยาตรา ธานี จันทร เป็ นต้น 
- คำสามพยางค์ เช่นโทรเลข โทรศัพท์ พาหนะ จักรยาน
ปรารถนา บริบูรณ์ เป็ นต้น 
- คำมากกว่าสามพยางค์ เช่น กัลปาวสาน สาธารณะ
ประกาศนียบัตร เป็ นต้น 
มีคำควบกล้ำใช้มากขึน
้ โดยธรรมชาติของภาษาไทยจะไม่มีคำ
ควบกล้ำเมื่อรับภาษาอื่นเข้ามาเป็ นเหตุให้มีคำควบกล้ำมากขึน
้ เช่น
บาตร ศาสตร์ ปราศรัย โปรด เคลียร์ เอ็นทรานซ์ เป็ นต้น  
มีคำไวพจน์ใช้มากขึน
้ (คำไวพจน์ คือ คำที่มีความหมายเหมือน
กัน) ซึ่งสะดวกและสามารถเลือกใช้คำได้เหมาะสมตามความต้องการ
และวัตถุประสงค์ เช่น 
นก บุหรง ปั กษา ปั กษิน วิหค สกุณา 
17

ม้า พาชี อาชา อัศวะ  สินธพ หัย


ดอกไม้ กรรณิกา บุปผชาติ สุมาลี บุหงา ผกา 
ท้องฟ้ า คคนานต์ ทิฆัมพร อัมพร นภดล โพยม 
น้ำ คงคา ชลาลัย ธารา สาคร มหรรณพ 
พระจันทร์ แข จันทร์ รัชนีกร นิศากร บุหลัน 
มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา คำไทยแท้ส่วนใหญ่มีตัวสะกดตรง
ตามมาตรา เมื่อได้รับอิทธิพลภาษาต่างประเทศ คำใหม่จึงมีตัว
สะกดไม่ตรงตามมาตราจำนวนมาก เช่น พิพาท โลหิต สังเขป
มิจฉาชีพ นิเทศ ประมาณ คริสต์ เคเบิล ดีเซล โฟกัส เป็ นต้น  
ทำให้โครงสร้างของภาษาเปลี่ยนไป เช่น 
- ใช้คำ สำนวน หรือประโยคภาษาต่างประเทศ โดยเฉพาะ
ภาษาอังกฤษ เช่น 
สำนวนภาษาต่างประเทศ เขาพบตัวเองอยู่ในห้อง 
สำนวนภาษาไทย เขาอยู่ในห้อง 
- ใช้คำภาษาต่างประเทศปนกับภาษาไทยทัง้ ๆ ที่บางคำมี
คำภาษาไทยใช้ เช่น 
ฉันไม่มายด์ เธอไม่แคร์ เขาไม่เคลียร์

แบบฝึ กทักษะเรื่องคำภาษาต่างประเทศใน
ภาษาไทย
18

กิจกรรมที่ ๑ สาเหตุที่ภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนในภาษา
ไทย
คำชีแ
้ จง จงเลือกพยัญชนะหน้าคำตอบมาใส่หน้าข้อที่มีข้อความ
ที่มีความสัมพันธ์กันอย่างถูกต้อง

การติดต่อสัมพันธ์กันทำให้ภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนอยู่ใน
ภาษาไทย ด้วยสาเหตุ หลายประการ ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่
สัมพันธ์กันอย่างถูกต้อง

ก. ความสัมพันธ์ทางด้านสภาพภูมิศาสตร์
ข. ความสัมพันธ์ทางด้านประวัติศาสตร์
ค. ความสัมพันธ์ทางด้านศาสนา
ง. ความสัมพันธ์ทางด้านการค้า
จ. ความสัมพันธ์ทางด้านวรรณคดี
ฉ. ความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรมและ
ประเพณี
ช. ความสัมพันธ์ทางด้านการศึกษาและ
วิทยาการด้านต่าง ๆ
ซ. ความสัมพันธ์ทางการทูต
ฌ. อพยพย้ายถิ่นฐาน
ญ. ความสัมพันธ์ส่วนตัวกับคนต่างชาติ
19

๑. ประเทศไทยมีอาณาเขตติดต่อกับประเทศต่าง ๆ คน
........... ไทยที่อยู่อาศัยบริเวณชายแดนเดินทางข้ามแดนไปมา
... หาสู่กัน มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันจึงมีการแลก
เปลี่ยนภาษากัน
๒. คนไทยจำนวนมากที่คบหาสมาคมกับคนต่างชาติหรือ
........... ที่สมรสกับคนต่างชาติ ทำให้มีการถ่ายทอดแลก
... เปลี่ยนกันในทางภาษา ใช้ทงั ้ ภาษาไทยและภาษา
ต่างประเทศในครอบครัว
๓. ชนชาติไทยเป็ นชนชาติที่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน
........... มีการอพยพโยกย้ายถิ่น ทำศึกสงครามกับชนชาติอ่ น

... มีการกวาดต้อนเชลยศึกและประชาชนให้มาอาศัยอยู่
ในประเทศไทย
๔. การติดต่อค้าขาย แลกเปลี่ยนสินค้ากับชนชาติต่าง ๆ
........... มาเป็ นเวลาอันยาวนาน มีการใช้ภาษาต่างประเทศ
20

... ในวงการธุรกิจการค้ามากขึน

๕. จากการไปศึกษาที่ต่างประเทศ ทำให้ได้ใช้ และพูด
........... ภาษาอื่น ๆ และรับเอาวิทยาการต่าง ๆ เมื่อสำเร็จ
... การศึกษา จึงนำภาษาของประเทศนัน
้ มาใช้ปะปน
กับภาษาของตน
๖. การอพยพย้ายถิ่นฐานมาจากสาเหตุหลายประการ
........... เช่น สภาพเศรษฐกิจ ต้องไปประกอบอาชีพยัง
... ประเทศต่าง ๆ ภัยสงคราม การเมืองการปกครอง
๗. การเจริญสัมพันธไมตรีทางการทูต การติดต่อ
........... ทางการทูต ย่อมทำให้ภาษา ของเจ้าของถิ่นเดิม
... หรือผู้อพยพโยกย้ายมาใหม่นำมาใช้ร่วมกัน เช่น
อังกฤษ ฝรั่งเศส 
๘. วรรณคดีอินเดียที่ไทยนำเข้ามา เช่น เรื่องมหากาพย์
........... รามายณะ และมหาภารตะแต่งขึน
้ เป็ นภาษา
... สันสกฤต อิเหนาเป็ นวรรณคดีที่มีเค้าเรื่องมาจาก
เรื่องดาหลังของชวา
๙. คนไทยมีเสรีภาพในการนับถือศาสนามาเป็ นเวลาช้า
........... นาน เมื่อนับถือศาสนาใด ก็ย่อมได้รับถ้อยคำภาษา
... ที่ใช้ในคำสอน หรือคำเรียกชื่อต่าง ๆ ในทางศาสนา
ของศาสนานัน
้ ๆ
๑๐. การนำวัฒนธรรมและประเพณีที่เคยยึดถือปฏิบัติ
........... ถ้อยคำภาษาที่เกี่ยวข้อง กับวัฒนธรรมและ
... ประเพณีเหล่านัน
้ ก็กลายมาเป็ นถ้อยคำภาษาที่
21

เกี่ยวข้อง กับชีวิตประจำวันของคนไทย

แบบฝึ กทักษะเรื่องคำภาษาต่างประเทศใน
ภาษาไทย

กิจกรรมที่ ๒ คำภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาต่างประเทศ
คำชีแ
้ จง จงเลือกคำภาษาต่างประเทศที่เข้ามาปะปนในภาษาไทย
ด้วยสาเหตุต่างๆ มาเติมในตาราง ให้ถูกต้อง

ศีล พาณิชย์ ปั ญญา


อสัญแดหวา หุ้น

ความสัมพันธ์ทางด้านศาสนา

ความสัมพันธ์ทางด้านการค้า

ความสัมพันธ์ทางด้านวรรณคดี

ความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรมและ
ประเพณี

ความสัมพันธ์ทางด้านการศึกษาและ
22

วิทยาการด้านต่างๆ

แบบฝึ กทักษะเรื่องคำภาษาต่างประเทศใน
ภาษาไทย

กิจกรรมที่ ๓ คำภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาต่างประเทศ
คำชีแ
้ จง จงเลือกคำภาษาต่างประเทศของแต่ละภาษามาเติมใน
ตารางให้ถูกต้อง

วิชา สันติ กริช ปาหนัน


เปิ งมาง พลายกิโมโน สุกย
ี ้ ากี ้
ก๋วยเตี๋ยว เต้าฮวย บำเพ็ญ เสวย

บาลี
สันสกฤต
23

จีน 
อังกฤษ
เขมร
ชวา-มลายู
ฝรั่งเศส
ญี่ปุ่น
มอญ 
พม่า

แบบฝึ กทักษะเรื่องคำภาษาต่างประเทศใน
ภาษาไทย

กิจกรรมที่ ๔ อิทธิพลของภาษาต่างประเทศที่มีต่อภาษาไทย
คำชีแ
้ จง จงเติมเครื่องหมาย / หน้าข้อความที่ถูกต้อง และเติม
เครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ผิด
24

เครื่องห
ข้อความ
มาย
๑. ภาษาไทยเป็ นภาษาตระกูลคำโดด เมื่อยืม
คำภาษาอื่นมาใช้ ทำให้คำมีมากพยางค์
ขึน

๒. โดยธรรมชาติของภาษาไทยจะไม่มีคำควบ
กล้ำ เมื่อรับภาษาอื่น เข้ามาใช้ เป็ นเหตุให้มี
คำควบกล้ำมากขึน

๓. นก พาชี ปั กษา อาชา วิหค สกุณา  เป็ น
คำไวพจน์ที่มีความหมายเหมือนกันทัง้ หมด
๔. คำไทยแท้ส่วนใหญ่มีตัวสะกดตรงตามมาตรา
เมื่อได้รับอิทธิพลภาษาต่างประเทศ คำใหม่จึงมี
ตัวสะกดไม่ตรงตามมาตราจำนวนมาก
๕. เมื่อไทยได้รับอิทธิพลภาษาต่างประเทศ
ทำให้โครงสร้างของภาษา ไม่เปลี่ยนแปลง
25

แบบทดสอบหลังเรียน
แบบฝึ กทักษะเรื่องคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
เล่มที่ ๑ สาเหตุที่คำภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนใน
ภาษาไทย

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย  ทับในช่องตัวอักษร ก, ข,
ค, ง ที่เห็นว่าถูกที่สุด เพียงคำตอบเดียวในกระดาษคำตอบ
๑. “คนไทยมีเสรีภาพในการนับถือศาสนา เมื่อนับถือศาสนาใด
ก็ตามย่อมได้รับถ้อยคำภาษาที่ใช้ ในคำสอนหรือคำเรียก
ชื่อต่างๆของศาสนานัน
้ มาปะปนอยู่ในภาษาไทย” จาก
ข้อความดังกล่าวความสัมพันธ์ข้อใดถูกต้อง
ก. ความสัมพันธ์ทางด้านประวัติศาสตร์
ข. ความสัมพันธ์ทางด้านภูมิศาสตร์
ค. ความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรมและประเพณี
ง. ความสัมพันธ์ทางด้านศาสนา
๒. “คนไทยที่อาศัยอยู่บริเวณชายแดนมีความเกี่ยวพันกับ
ชนชาติต่างๆโดยปริยาย มีการเดินทาง ข้ามแดนไปมา
26

หาสู่กัน แต่งงานกันเป็ นญาติกัน” จากข้อความดังกล่าวความ


สัมพันธ์ข้อใดถูกต้อง
ก. ความสัมพันธ์กันทางเชื้อชาติและถิ่นที่อยู่อาศัยตาม
ภูมิศาสตร์
ข. ความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรมและประเพณี
ค. ความสัมพันธ์ทางด้านการค้า
ง. ความสัมพันธ์ทางการทูต
๓. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุที่ทำให้ภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนใน
ภาษาไทย
ก. ความสัมพันธ์กันทางเชื้อชาติและถิ่นที่อยู่อาศัยตาม
ภูมิศาสตร์
ข. ความสัมพันธ์ทางด้านสงครามการค้า
ค. ความสัมพันธ์ทางด้านความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
ง. ความสัมพันธ์ทางด้านศาสนา

๔. ด้วยเหตุที่วรรณคดีทำให้ภาษาสันสกฤตและภาษาชวาเข้า
มาปะปนในภาษาไทยนัน
้ มีอิทธิพล มาจากความสัมพันธ์ด้าน
ใด
ก. ความสัมพันธ์ทางด้านวรรณคดี
27

ข. ความสัมพันธ์ส่วนตัวกับคนต่างชาติ
ค. ความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรมและประเพณี
ง. ความสัมพันธ์ทางด้านประวัติศาสตร์
๕. จากอิทธิพลของภาษาต่างประเทศที่มีต่อภาษาไทย ทำให้
ลักษณะของภาษาไทยเปลี่ยนไป จากเดิม คือคำมีพยางค์มาก
ขึน
้ คำในข้อใดมี ๓ พยางค์ทุกคำ
ก. โทรศัพท์ ปรารถนา
ข. อุทกภัย จันทร
ค. ยาตรา จักรยาน
ง. สาธารณ มารดา
๖. ข้อใดเป็ นคำที่เกิดจากความก้าวหน้าทางวิทยาการและ
เทคโนโลยี
ก. ปั ญญา ศีล
ข. ปฏิกิริยา เซียมซี
ค. คอมพิวเตอร์ ทฤษฎีบท
ง. ทรัพย์ หุ้น
๗. ภาษาต่างปะเทศที่เข้ามาปะปนในภาษาไทยด้วยสาเหตุต่าง
ๆ มีอิทธิพลต่อภาษาไทย คือ ทำให้ลักษณะของภาษาไทย
เปลี่ยนไปจากเดิม ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. คำมีพยางค์มากขึน

ข. เกิดความยุ่งยากในการใช้คำ
28

ค. มีคำควบกล้ำใช้มากขึน

ง. มีคำไวพจน์ใช้มากขึน

๘. ข้อใดคือคำที่มีความหมายเหมือนกันทัง้ หมด
ก. นก ปั กษา สกุณา วิหค
ข. ม้า พาชี อาชา อัศวะ
ค. ดอกไม้ กรรณิกา บุปผชาติ สุมาลี
ง. น้ำ คงคา ธารา รัชนีกร
๙. จากอิทธิพลของภาษาต่างประเทศที่มีต่อภาษาไทย ทำให้
โครงสร้างของภาษาเปลี่ยนไป ข้อใดไม่เป็ นประโยคสำนวน
ต่างประเทศ
ก. เขาพบตัวเองอยู่ในห้องเรียน
ข. นวนิยายเรื่องนีเ้ ขียนโดยทมยันตี
ค. ข้าพเจ้ามาถึงนครสวรรค์เมื่อเวลาบ่าย
ง. มันเป็ นเวลาบ่ายเมื่อข้าพเจ้ามาถึงลพบุรี
๑๐. จากอิทธิพลของภาษาต่างประเทศที่มีต่อภาษาไทย ทำให้
ภาษาไทยมีคำที่สะกดไม่ตรง ตามมาตรา คำในข้อใด
สะกดตรงตามมาตราทุกคำ
ก. กาญจน์ สุนัข
ข. ปาก ก้าน
ค. ลาภ บาท
ง. มงกุฎ เจริญ
29

บรรณานุกรม

กำชัย ทองหล่อ. หลักภาษาไทย. กรุงเทพฯ : อมรการพิมพ์,


๒๕๕๒.
จงชัย เจนหัตถการกิจ. หลักภาษาไทย. กรุงเทพฯ : ธนาเพรส,
๒๕๔๘.
30

จันจิรา จิตตะวิริยพงษ์. อิทธิพลภาษาต่างประเทศในภาษาไทย.


กรุงเทพฯ : พัฒนาศึกษา,
๒๕๔๖.
จิตต์นิภา ศรีไสย์ และประนอม วิบูลย์พันธุ์. หนังสือเรียนรายวิชา
พื้นฐานภาษาไทย หลักภาษา
และการใช้ภาษาไทย ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๓. กรุงเทพฯ
: สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ
(พว.), ๒๕๕๕
ฐะปะนีย์ นาครทรรพ. การสอนภาษาไทยขัน
้ พื้นฐานระดับ
มัธยมศึกษา. พิมพ์ครัง้ ที่ ๒.
กรุงเทพฯ: บริษัทเมธีทิปส์ จำกัด, ๒๕๔๗.
ดวงพร หลิมรัตน์. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทยชัน

มัธยมศึกษาปี ที่ ๓. กรุงเทพฯ :
แม็ค, ๒๕๕๕.
ฟองจันทร์ สุขยิ่ง และคณะ. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานภาษา
ไทย หลักการใช้ภาษา
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๓. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์,
๒๕๕๕.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.
๒๕๔๒. กรุงเทพฯ :
นานมีบค
ุ๊ ส์พับลิเคชั่น, ๒๕๔๖.
วัลลภา วิทยารักษ์. คู่มือเตรียมสอบ O – NET A – NET
(ADMISSIONS) ภาษาไทย.
ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง, ๒๕๔๙.
31

ศึกษาธิการ, กระทรวง. คู่มือการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการ


เรียนรู้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.),
๒๕๔๕.
_______, กระทรวง. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานภาษาไทย
วิวิธภาษา ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๓.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, ๒๕๕๔.
_______, กระทรวง. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ
: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย,
๒๕๕๒.

แหล่งสืบค้นออนไลน์

คำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย. ออนไลน์. แหล่งที่มา :


http://www.ipesp.ac.th/learning/thai/chapter3-
4.html สืบค้นเมื่อวันที่ ๙ เมษายน
๒๕๕๖.
32

คำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย. ออนไลน์. แหล่งที่มา :


http://www.baanjomyut.com/library_2/extension-
1/loanwords/10.html
สืบค้นเมื่อวันที่ ๙ เมษายน ๒๕๕๖.
คำภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาต่างประเทศ. ออนไลน์. แหล่งที่มา
:
http://ruangrat.wordpress.com สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๐
เมษายน ๒๕๕๖.
33

ภาคผนวก
34

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
แบบฝึ กทักษะเรื่องคำภาษาต่างประเทศใน
ภาษาไทย

1. ข
2. ง
3. ก
4. ก
5. ค
6. ข
7. ง
8. ก
35

เฉลยแบบฝึ กทักษะเรื่องคำภาษาต่างประเทศ
ในภาษาไทย

กิจกรรมที่ ๑ สาเหตุที่ภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนในภาษา
ไทย

1. ก
2. ญ
36

แบบฝึ กทักษะเรื่องคำภาษาต่างประเทศใน
ภาษาไทย
37

กิจกรรมที่ ๒ คำภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาต่างประเทศ
คำชีแ
้ จง จงเลือกคำภาษาต่างประเทศที่เข้ามาปะปนในภาษาไทย
ด้วยสาเหตุต่างๆ มาเติมในตาราง ให้ถูกต้อง

ศีล พาณิชย์ ปั ญญา


อสัญแดหวา หุ้น

ความสัมพันธ์ทางด้านศาสนา ศีล ปั ญญา

ความสัมพันธ์ทางด้านการค้า พาณิชย์ หุ้น

อสัญแดหวา
ความสัมพันธ์ทางด้านวรรณคดี
กระยาหงัน
ความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรมและ
กงเต๊ก เซียมซี
ประเพณี
ความสัมพันธ์ทางด้านการศึกษาและ ทฤษฎีบท
วิทยาการด้านต่างๆ เทคโนโลยี
38

เฉลยแบบฝึ กทักษะเรื่องคำภาษาต่างประเทศ
ในภาษาไทย

กิจกรรมที่ ๓ คำภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาต่างประเทศ
คำชีแ
้ จง จงเลือกคำภาษาต่างประเทศของแต่ละภาษามาเติมให้ถูก
ต้อง

วิชา สันติ กริช ปาหนัน


เปิ งมาง พลายกิโมโน สุกย
ี ้ ากี ้
ก๋วยเตี๋ยว เต้าฮวย บำเพ็ญ เสวย

บาลี วิชา สันติ


สันสกฤต โฆษณา ภรรยา
จีน  ก๋วยเตี๋ยว เต้าฮวย
อังกฤษ กอล์ฟ นิวเคลียร์
เขมร บำเพ็ญ เสวย
ชวา-มลายู กริช ปาหนัน
ฝรั่งเศส ครัวซองต์ บุฟเฟ่ ต์
ญี่ปุ่น กิโมโน สุกย
ี ้ ากี ้
มอญ  เปิ งมาง พลาย
พม่า หม่อง ส่วย
39

เฉลยแบบฝึ กทักษะเรื่องคำภาษาต่างประเทศ
ในภาษาไทย

กิจกรรมที่ ๔ อิทธิพลของภาษาต่างประเทศที่มีต่อภาษาไทย
คำชีแ
้ จง จงเติมเครื่องหมาย / หน้าข้อความที่ถูกต้อง และเติม
เครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ผิด

เครื่องห
ข้อความ
มาย
๑. ภาษาไทยเป็ นภาษาตระกูลคำโดด เมื่อยืม
/ คำภาษาอื่นมาใช้ ทำให้คำมีมากพยางค์
ขึน

๒. โดยธรรมชาติของภาษาไทยจะไม่มีคำควบ
/ กล้ำ เมื่อรับภาษาอื่น เข้ามาใช้ เป็ นเหตุให้มี
คำควบกล้ำมากขึน

๓. นก พาชี ปั กษา อาชา วิหค สกุณา  เป็ นคำ

ไวพจน์ที่มีความหมายเหมือนกันทัง้ หมด
40

๔. คำไทยแท้ส่วนใหญ่มีตัวสะกดตรงตามมาตรา
/ เมื่อได้รับอิทธิพลภาษาต่างประเทศ คำใหม่จึงมี
ตัวสะกดไม่ตรงตามมาตราจำนวนมาก
๕. เมื่อไทยได้รับอิทธิพลภาษาต่างประเทศ

ทำให้โครงสร้างของภาษา ไม่เปลี่ยนแปลง

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
แบบฝึ กทักษะเรื่องคำภาษาต่างประเทศใน
ภาษาไทย

1. ง
2. ก
3. ข
41

แบบบันทึกคะแนนแบบฝึ กทักษะเรื่องคำภาษาต่างประเทศ
ในภาษาไทย
เล่มที่ ๑ สาเหตุที่คำภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนใน
ภาษาไทย
42

ของ...................................................................................ชัน

มัธยมศึกษาปี่ ที่..................เลขที่.................
โรงเรียนเก้าเลีย
้ ววิทยา อำเภอเก้าเลีย
้ ว จังหวัดนครสวรรค์
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต ๔๒

รายการประเมิน คะแนน คะแนนที่ หมายเห


เต็ม ได้ ตุ
กิจกรรมที่ ๑ ๑๐
กิจกรรมที่ ๒ ๑๐
กิจกรรมที่ ๓ ๑๐
กิจกรรมที่ ๔ ๑๐
รวม ๔ กิจกรรม ๔๐

ลงชื่อ.............................................ผู้ประเมิน
(นาง
สาวรจเรข เกษสำโรง)
ครู
วิทยฐานะชำนาญการ
วัน
ที.่ .........เดือน.....................พ.ศ. ...................
43

แบบบันทึกคะแนนการทดสอบก่อนฝึ ก / หลังฝึ ก
แบบฝึ กทักษะเรื่องคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
เล่มที่ ๑ สาเหตุที่คำภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนใน
ภาษาไทย

ของ...................................................................................ชัน

มัธยมศึกษาปี่ ที่..................เลขที่.................
โรงเรียนเก้าเลีย
้ ววิทยา อำเภอเก้าเลีย
้ ว จังหวัดนครสวรรค์
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต ๔๒

คะแนนเต็ม / คะแนนที่ คะแนน สรุปผล


ได้ ความแตก การ
ก่อนฝึ ก หลังฝึ ก ต่าง ประเมิน
๑๐ ๑๐
44

ลงชื่อ.............................................ผู้ประเมิน
(นาง
สาวรจเรข เกษสำโรง)
ครู
วิทยฐานะชำนาญการ
วัน
ที.่ .........เดือน.....................พ.ศ. ...................

You might also like