You are on page 1of 4

ภาษาไทยและความเป็ นมา

ภาษาไทย นัน
้ ถือเป็ นภาษาราชการของประเทศไทย และ
ภาษาพูดของชนชาติไทย ดังนัน
้ แล้ว คนไทยจึงถือว่าเป็ นผู้ที่โชคดี
ที่มีภาษาประจำชาติเป็ นของตนเอง เเละมีตัวอักษรไทยอันเป็ น
มรดกล้ำค่าที่บรรพบุรุษได้สร้างสรรค์เอาไว้ให้ ซึ่งเป็ นสิ่งที่เเสดง
ว่าคนไทยเรานัน
้ เป็ นชนชาติที่มีวัฒนธรรมสูงส่งสืบเนื่องมาเเต่
ครัง้ โบราณกาล เเละยืนยงมาจนปั จจุบัน คนไทยผู้เป็ นเจ้าของ
ภาษาไทยนัน
้ จึงควรภาคภูมิใจที่ได้ใช้ภาษาไทยเป็ นภาษาประจำ
ชาติมานานกว่า 700 ปี เเล้ว เเละจะได้ใช้ภาษาไทยตลอดไป ถ้า
ทุกคนตระหนักในคุณค่าและความสำคัญของภาษาไทย

ความเป็ นมาของภาษาไทย
ภาษาไทยเป็ นภาษาที่เก่าเเก่ที่สุดในแถบเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ ภาษาไทยถือเป็ นภาษาในกลุ่มภาษาไต ซึ่งเป็ นกลุ่มย่อย
ของภาษาในตระกูล ภาษาไท-กะได ซึ่งภาษาในตระกูลนีจ
้ ะมีถิ่น
กำเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และภาษาไทยจะมี
รากฐานและมีความเชื่อมโยง กับตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก
กับตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน กับตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ซึ่งมี
ความคล้ายคลึงกันกับภาษาจีน เราจะเห็นว่ามีหลายคำในภาษา
ไทยที่ขอยืมมาจากภาษาจีน
ที่มาของภาษา “ไทย”
คำว่า “ไทย” นัน
้ หมายความถึง อิสระ อิสรภาพ เสรีภาพ
คนไทยเป็ นชนชาติที่นบ
ั ถือกันว่า ภาษาบาลีซึ่งเป็ นภาษาที่บันทึก
้ เป็ นภาษาศักดิส์ ิทธิแ์ ละ
พระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้านัน
เป็ นมงคล เมื่อคนไทยต้องการตัง้ ชื่อประเทศว่า ไท ซึ่งเป็ นคำไทย
แท้ จึงเติมตัว ย เข้าไปข้างท้าย เพื่อให้มีลักษณะคล้ายคำในภาษา
บาลีสน
ั สกฤต ทัง้ นีก
้ ็เพื่อความเป็ นศิริมงคลตามความเชื่อของตน
ดังนัน
้ ภาษาไทย จึงหมายถึง ภาษาของชนชาติไทย ผู้เป็ นไท
นัน
่ เอง

จุดเริ่มต้นของของอักษรในภาษาไทย
พ่อขุนรามคำเเหงมหาราช ได้ทรงประดิษฐ์อักษรไทยขึน
้ เป็ น
ครัง้ แรกเมื่อปี พ.ศ. 1826 (ค.ศ. 1283) โดยมีพยัญชนะ 44 ตัว
(21 เสียง), มีสระ 21 รูป (32 เสียง), และมีวรรณยุกต์ 5 เสียง
คือ เสียง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา อักษรในภาษาไทยนัน
้ ดัดเเป
ลงมาจากบาลี เเละ สันสกฤต

ลักษณะจำเพาะของภาษาไทย
ภาษาไทยนัน
้ เป็ นภาษาที่มีระดับเสียงของคำ หรือมรเสียง
วรรณยุกต์ เฉกเช่นเดียวกับภาษาจีน และออกเสียงแยกคำต่อคำ
จึงเป็ นที่ลำบากของชาวต่างชาติ เนื่องจากในมีการออกเสียง
วรรณยุกต์ที่เป็ นเอกลักษณ์ของแต่ละคำ และการสะกดคำที่ซับ
ซ้อน นอกจากภาษากลางอันเป็ นภาษาราชการแล้ว ใน
ประเทศไทยมีการใช้ ภาษาไทยถิน
่ ซึ่งแผลงเพีย
้ นออกไปบ้างตาม
ภูมิภาคอีกด้วยด้วย

ภาษาเป็ นวัฒนธรรมที่สำคัญยิ่งของชาติ เป็ นสื่อใช้ติดต่อกัน


เเละทำให้ชาติเจริญขึน
้ ภาษาจึงเป็ นศูนย์กลางยืดเหนี่ยวคนทัง้
ชาติ ภาษาเป็ นเครื่องผูกพันมนุษย์ต่อมนุษย์เเน่นเเฟ้ นกว่าสิง่ อื่น
เเละไม่มีสิ่งใด ที่จะทำให้คนรู้สึกเป็ นพวกเดียวกันหรือเเน่นอนยิ่ง
ไปกว่าภาษาเดียวกัน
ดังนัน
้ ภาษาก็เปรียบได้กับรัว้ ของชาติ ถ้าชนชาติใดรักษาภาษา
ของตนไว้ได้ดี ให้บริสุทธิ ์ ก็จะได้ช่ อ
ื ว่า รักษาความเป็ นชาติ เราผู้
เป็ นอนุชนจึงควรภูมใิ จ และช่วยกันผดุงรักษาภาษาไทย อันเป็ น
ทรัพย์สินทางปั ญญาที่บรรพบุรุษได้อุตส่าห์สร้่ างสรรค์ขน
ึ ้ ไว้ให้
เจริญสืบไป

You might also like