You are on page 1of 17

วันภาษาไทยแหงชาติ

๒๙ กรกฎาคม ๒๕๖๔
วันภาษาไทยมีความเปนมาอยางไร
คณะกรรมการรณรงคเพื่อภาษาไทย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดตระหนักในคุณคา
และความสําคัญของภาษาไทย และมีความหวงใยในปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นตอ
ภาษาไทยและเพื่อกระตุนและปลุกจิตสํานึกใหคนไทยทั้งชาติไดตระหนักถึงคุณคา
และความสําคัญของภาษาไทย ตลอดจนรวมมือกันทํานุบํารุง สงเสริม และอนุรักษ
ภาษาไทยใหคงอยูคูชาติไทยตลอดไป จึงไดเสนอขอใหรัฐบาลประกาศใหวันที่
๒๙ กรกฎาคม ของทุกป เปนวันภาษาไทยแหงชาติ เชนเดียวกับวันสําคัญอื่น ๆ
ที่รัฐบาลไดจัดใหมีมากอนแลว เชน “วันวิทยาศาสตรแหงชาติ” และ “วันสื่อสารแหง
ชาติ” เปนตน และคณะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อวันอังคารที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๔๒
เห็นชอบใหวันที่ ๒๙ กรกฎาคม ของทุกปเปนวันภาษาไทยแหงชาติ
ทําไมถึงตองเปนวันที่ ๒๙ กรกฎาคม ของทุกป
เพราะวันดังกลาว ตรงกับวันที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล
อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ไดเสด็จพระราชดําเนินไปเปนประธาน
และทรงรวมอภิปรายในการประชุมทางวิชาการของชุมนุมภาษาไทย
ที่คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ณ หองประชุมคณะอักษรศาสตร
เมื่อวันที่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๕ ทรงเปดอภิปรายในหัวขอ "ปญหาการใช
คําไทย" โดยพระองคทรงดําเนินการอภิปรายและทรงสรุปการอภิปราย ที่แสดง
ถึงพระปรีชาสามารถและความสนพระราชหฤทัยรวมถึงความหวงใยในภาษา
ไทย ซึ่งเปนที่ประทับใจกับผูรวมเขาประชุมในครั้งนั้นเปนอยางยิ่ง
ทําไมถึงตองเปนวันที่ ๒๙ กรกฎาคม ของทุกป
(ตอ)
สําหรับพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช
มหาราช บรมนาถบพิตร ในครั้งนั้นมีใจความตอนหนึ่งวา "เรามีโชคดีที่มีภาษาของ
ตนเองแตโบราณกาล จึงสมควรอยางยิ่งที่จะรักษาไว ปญหาเฉพาะในดานรักษาภาษา
ก็มีหลายประการ อยางหนึ่งตองรักษาใหบริสุทธิ์ในทางออกเสียง คือใหออกเสียงใหถูก
ตองชัดเจน อีกอยางหนึ่งตองรักษาใหบริสุทธิ์ในวิธีใช หมายความวาวิธีใชคํามา
ประกอบประโยค นับเปนปญหาที่สําคัญ ปญหาที่สามคือความรํ่ารวยในคํา
ของภาษาไทย ซึ่งพวกเรานึกวาไมรํ่ารวยพอ จึงตองมีการบัญญัติศัพทใหมมาใช...
สําหรับคําใหมที่ตั้งขึ้นมีความจําเปนในทางวิชาการไมนอย แตบางคําที่งาย ๆ ก็ควรจะ
มี ควรจะใชคําเกา ๆ ที่เรามีอยูแลว ไมควรจะมาตั้งศัพทใหมใหยุงยาก..."
ทําไมถึงตองเปนวันที่ ๒๙ กรกฎาคม ของทุกป
(ตอ)
นับเปนครั้งแรกและครั้งเดียวในประวัติศาสตรของวงการภาษาไทย
ที่ไดรับพระราชทานพระมหากรุณาธิคุณดังกลาว ซึ่งในโอกาสตอมา
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร ยังไดทรงแสดงความสนพระราชหฤทัยและความ
หวงใยในภาษาไทยอีกหลายโอกาส
ทําไมถึงตองเปนวันที่ ๒๙ กรกฎาคม ของทุกป
(ตอ)
อยางในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแกนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่
๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๒ ที่ไดมีพระบรมราโชวาทตอนหนึ่งวา "ในปจจุบันนี้
ปรากฏวา ไดมีการใชคําออกจะฟุมเฟอย และไมตรงกับความหมายอันแทจริง
อยูเนือง ๆ ทั้งออกเสียงก็ไมถูกตองตามอักขรวิธี ถาปลอยใหเปนไปดังนี้ ภาษา
ของเราก็มีแตจะทรุดโทรม ชาติไทยเรามีภาษาของเราใชเองเปนสิ่งอันประเสริฐ
อยูแลว เปนมรดกอันมีคาตกทอดมาถึง เราทุกคนจึงมีหนาที่จะตองรักษาไว
ฉะนั้นจึงขอใหบรรดานิสิตและบัณฑิต ตลอดจนครูบาอาจารย ไดชวยกันรักษา
และสงเสริมภาษาไทย ซึ่งเปนอุปกรณและหลักประกันเพื่อความเจริญวัฒนาของ
ประเทศชาติ"
ทําไมถึงตองเปนวันที่ ๒๙ กรกฎาคม ของทุกป
(ตอ)
นอกจากนี้ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร ยังมีพระปรีชาญาณและพระอัจฉริยภาพในการใชภาษาไทย ทรง
รอบรูปราดเปรื่องถึงรากศัพทของคําไทย คือ ภาษาบาลีและสันสกฤต ทรงพระ
อุตสาหวิริยะแปลและเรียบเรียงวรรณกรรมภาษาตางประเทศเปนภาษาไทยที่
สมบูรณดวยลักษณะวรรณศิลป มีเนื้อหาสาระที่มีคุณคา เปนคติในการเสียสละ
เพื่อสวนรวม และเปนแบบอยางแกประชาชนในการใชภาษาไทย ดังจะเห็นได
จากพระราชนิพนธแปลเรื่อง นายอินทรผูปดทองหลังพระ ติโต พระราชนิพนธ
แปลบทความเรื่องสั้น ๆ หลายบท และพระราชนิพนธเรื่อง พระมหาชนก เปนตน
ตัวอยางพระราชนิพนธของพระบาทสมเด็จพระบรม
ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
พระราชนิพนธแปลเรื่อง นายอินทรผูปดทองหลังพระ
ตัวอยางพระราชนิพนธของพระบาทสมเด็จพระบรม
ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
(ตอ)
ติโต
ตัวอยางพระราชนิพนธของพระบาทสมเด็จพระบรม
ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
(ตอ)
พระมหาชนก
วัตถุประสงคของการจัดกิจกรรมวันภาษาไทย
๑. เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช
ผูทรงเปนนักปราชญ และนักภาษาไทย รวมทั้งเพื่อนอมรําลึกใน
พระมหากรุณาธิคุณของพระองคที่ไดทรงแสดงความหวงใยและพระราชทาน
แนวคิดตาง ๆ เกี่ยวกับการใชภาษาไทย
วัตถุประสงคของการจัดกิจกรรมวันภาษาไทย
(ตอ)
๒. เพื่อรวมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เนื่องในมหามงคลสมัย
เฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ในวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒
วัตถุประสงคของการจัดกิจกรรมวันภาษาไทย
(ตอ)
๓. เพื่อกระตุนและปลุกจิตสํานึกของคนไทยทั้งชาติ ใหตระหนักถึง
ความสําคัญและคุณคาของภาษาไทย ตลอดจนรวมมือรวมใจกัน
ทํานุบํารุงสงเสริม และอนุรักษภาษาไทย ซึ่งเปนเอกลักษณและเปน
สมบัติวัฒนธรรมอันลํ้าคาของชาติ ใหคงอยูคูชาติไทยตลอดไป
วัตถุประสงคของการจัดกิจกรรมวันภาษาไทย
(ตอ)

๔. เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการใชภาษาไทย ทั้งในวง
วิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งเพื่อยกมาตรฐานการเรียนการ
สอนภาษาไทยในสถานศึกษาทุกระดับ ใหสัมฤทธิผลยิ่งขึ้น
วัตถุประสงคของการจัดกิจกรรมวันภาษาไทย
(ตอ)

๕. เพื่อเปดโอกาสใหหนวยงานตาง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนทั่วประเทศ
มีสวนรวมในการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย เพื่อเผยแพรความรูภาษาไทย
ในรูปแบบตาง ๆ ไปสูสาธารณชน ทั้งในฐานะที่เปนภาษาประจําชาติ
และในฐานะที่เปนภาษาเพื่อการสื่อสารของทุกคนในชาติ
กิจกรรมในวันภาษาไทยแหงชาติ
กิจกรรมในวันนี้ก็จะมีทั้งของสถาบันการศึกษา, หนวย
งานภาครัฐและเอกชน ที่จะมีการจัดกิจกรรมตาง ๆ เชน
การจัดนิทรรศการ, การอภิปรายทางวิชาการ,
การประกวดแตงคําประพันธ รอยแกว รอยกรอง การขับ
เสภา การเลานิทาน เปนตน
"ภาษาไทย เปนเครืองมืออย่างหนึงของชาติ
เปนสิ งทีสวยงามและเปนช่ องทาง
สํ าหรับแสดงความคิดเห็น
ฉะนันเราจึงจําเปนต้องรักษาเอาไว้ให้ด"

พระราชดํารัสในการประชุมทางวิชาการของชุมนุมภาษาไทย
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กรกฎาคม
๒๕๐๕

You might also like