You are on page 1of 13

Proceedings of 14th International Conference on Humanities and Social Sciences 2018 (IC-HUSO 2018)

22nd-23rd November 2018, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University, Thailand

Translation Strategies of Translating Idioms from Chinese to Thai in the Book


Sets of Common Knowledge about China

Bilyu Yang (杨碧绿) 1 and Wirat Wongpinunwatana2


1,2
Thai Language Program, Faculty of Humanities and Social Sciences
Khon Kaen University, Thailand
1
E-mail: yang0953488748@gmail.com, 2E-mail: wirat@kku.ac.th

Abstract

This research is a study of translation strategies about translating 112 idioms from
Chinese to Thai in the book sets of Common Knowledge about China of the Overseas Chinese
Affairs Office of the State Council and the Office of Chinese Language, published by Higher
Education Press in 2007 by using translation theory of Peter Newmark and the data presentation
was analytical research.
The results of the research show that there are 7 translation strategies are founded in
the book sets as following: 1) 41 idioms using communicative translation 2) 28 idioms using free
translation 3) 18 idioms using faithful translation 4) 9 idioms using semantic translation 5) 6 idioms
using literal Translation 6) 6 idioms using delete translation 7) 1 idiom using word-for-word
translation. Furthermore, there are 3 idioms translated in wrong meaning.

Keywords: Chinese idiom, Thai language, translation strategy

Paper Number: ICHUSO-043 144


Proceedings of 14th International Conference on Humanities and Social Sciences 2018 (IC-HUSO 2018)
22nd-23rd November 2018, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University, Thailand

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้เป็นการศึกษากลวิธีการแปลสานวนจากภาษาจีนเป็นภาษาไทย จานวน 112 สานวนในชุด


หนังสือความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับประเทศจีนของสานักงานกิจการชาวจีนโพ้นทะเลในคณะรัฐมนตรีแห่งสาธารณรัฐ
ประชาชนจีน และสานักงานส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนนานาชาติ ซึง่ สานักพิมพ์อุดมศึกษาเป็นผู้จัดพิมพ์ใน
ปี ค.ศ. 2007 โดยใช้แนวคิดทฤษฎีการแปลของ ปีเตอร์ นิวมาร์ค และนาเสนอผลการวิจัยเชิงพรรณนาวิเคราะห์
ผลการวิจัยพบว่า กลวิธีการแปลสานวนจากภาษาจีนเป็นภาษาไทยมี 7 วิธี คือ 1) การแปลเชิงสื่อสาร 41 สานวน 2)
การแปลแบบเอาความ 28 สานวน 3) การแปลตามต้นฉบับ 18 สานวน 4) การแปลเชิงอรรถศาสตร์ 9 สานวน 5)
การแปลตรงตัว 6 สานวน 6) การแปลแบบการละ 6 สานวน 7) การแปลคาต่อคา 1 สานวน นอกจากนี้ ยังพบการ
แปลผิดความหมาย 3 สานวน

คำสำคัญ: สานวนภาษาจีน, ภาษาไทย, กลวิธีการแปล

Paper Number: ICHUSO-043 145


Proceedings of 14th International Conference on Humanities and Social Sciences 2018 (IC-HUSO 2018)
22nd-23rd November 2018, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University, Thailand

1. บทนำ
เนื่องจากสังคมโลกได้พัฒนาอย่างกว้างไกลในปัจจุบัน โดยเฉพาะยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผลให้คนไทยต้อง
ติดต่อสื่ อสารกับ ชาวต่างชาติ และมีการใช้ภ าษาต่างประเทศมากขึ้น การแปลจึงมีบทบาทส าคัญต่ อการสื่ อ
ความหมายในการดาเนินชีวิต การศึกษา การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม เพราะการแปลเป็นวิธี
ถ่ายทอดความหมายจากภาษาหนึ่งไปยังอีกภาษาหนึ่ง ซึ่งสะท้อนให้เห็นความรู้ ความคิด และวัฒนธรรมจากสังคม
หนึ่งไปยังอีกสังคมหนึ่ง
การแปลสานวนภาษาจีนเป็นภาษาไทย ไม่เพียงทาให้ ผู้อ่านเข้าใจความเหมือนและความแตกต่าง
ระหว่างทั้งสองภาษา แต่ยังสามารถแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างทางวัฒนธรรมด้วย เพราะสานวนเป็นถ้อยคาที่มี
ความหมายแฝง ดังที่ สมพร มันตะสูตร แพ่งพิพัฒน์ (2540:99) กล่าวว่า “สานวน หมายถึง ถ้อยคาที่เรียบเรียนขึ้น
โดยไม่เคร่งครัดในหลักไวยากรณ์ แต่ถือว่าเป็นภาษาที่ถูกต้อง ความหมายของถ้อยคาเหล่านี้จะไม่ตรงตามตัวอักษร
หรือความหมายที่ใช้กันตามปกติ แต่จะเป็นถ้อยคาที่มีความหมายโดยนัย เป็นความหมายเชิงเปรียบเทียบหรือ
เปรียบเปรย” ความหมายโดยนัยที่กล่าวนี้เป็นความหมายแฝงของสานวนซึ่งแสดงถึงวัฒนธรรมของผู้ใช้ภาษา และ
เนื่องจากชาวจีนและชาวไทยมีวัฒนธรรมทั้งที่ใกล้เคียงและแตกต่างกัน ดังนั้น จึงมีความสาคัญอย่างยิ่งที่จะศึกษา
กลวิธีการแปลสานวนระหว่างทั้งสองภาษา แต่ปัจจุบันงานวิจัยที่ศึกษากลวิธีการแปลสานวนระหว่างภาษาจีนและ
ภาษาไทยไม่ค่อยพบ ส่วนมากจะเป็นการศึกษากลวิธีการแปลสานวนระหว่างภาษาไทยกับภาษาอังกฤษตามทฤษฎี
การแปลของ Peter Newmark อย่างเช่น กนกรัตน์ คุณะสารพันธ์ (2549) ได้ศึกษาเรื่องการแปลสานวนจากบท
ภาพยนตร์ภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย ผลการศึกษาพบว่ามีก ลวิธีการแปลสานวนภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยมี 5
กลวิธี ได้แก่ 1) กลวิธีการแปลแบบคาต่อคา 2) กลวิธีการแปลแบบสานวน 3) กลวิธีการแปลแบบเอาความ 4)
กลวิธีการแปลแบบทับศัพท์ 5) กลวีการแปลแบบละความ อนึ่ง รมัณยา ทิพย์มณเฑียร (2559) ศึกษาเรื่อง การแปล
สานวนภาษาอังกฤษซีรี่ย์แนววัยรุ่นเป็นภาษาไทย ผ่านซีรี่ย์แนววัยรุ่นในช่วงปี 2010-2014 จานวน 25 ตอน จากซี
รี่ย์ 5 พบว่า กลวิธีการแปลสานวนภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยมี 6 กลวิธี ได้แก่ 1) กลวิธีการแปลเชิงสื่อสาร 2)
กลวิธีการแปลแบบคาต่อคา 3) กลวิธีการแปลแบบเอาความ 4) กลวิธีการแปลแบบการละ 5) กลวิธีการแปลแบบ
สานวน 6) กลวิธีการแปลแบบทับศัพท เป็นต้น ทาให้ผู้วิจัยสนใจว่า หากประยุกต์ใช้ทฤษฎีการแปลของ ปีเตอร์ นิว
มาร์ ค (Peter Newmark) ในการแปลส านวนจากภาษาจีนเป็นภาษาไทยจะมีความเหมือนและความแตกต่าง
อย่างไร
ชุดหนังสือความรู้ทั่ว ไปเกี่ยวกับประเทศจีน เป็นหนังสื อประกอบการเรียนการสอนที่ได้รับรางวัล
“ต าราเรี ย นภาษาจี น ยอดเยี่ ย มปี ค.ศ.2010” ของส านั ก งานส่ ง เสริ มการเรี ยนการสอนภาษาจี น นานาชาติ
(“Outstanding International Chinese Language Teaching Materials” in 2010 by the
Office of Chinese Language Council International) หนั ง สื อ ชุ ด นี้ เ รี ย บเรี ย งโดยวิ ท ยาลั ย ภาษาจี น ปั ก กิ่ ง
มหาวิทยาลัยครูหนานจิง และมหาวิทยาลัยครูอันฮุย และได้รับมอบหมายจากสานักงานกิจการชาวจีนโพ้นทะเลใน
คณะรัฐมนตรีแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (The Overseas Chinese Affairs Office of the State) ชุดหนังสือนี้

Paper Number: ICHUSO-043 146


Proceedings of 14th International Conference on Humanities and Social Sciences 2018 (IC-HUSO 2018)
22nd-23rd November 2018, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University, Thailand

เป็นหนังสือประกอบการเรียนการสอนภาษาจีนที่มีลักษณะเป็นภาษาพูด โดยมีจุดประสงค์ให้เยาวชนจีนโพ้นทะเล
กับผู้ที่สนใจภาษาจีนและประเทศจีนได้เรียนรู้ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวัฒนธรรมประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์ของ
ประเทศจีน หนังสือชุดนี้เป็นหนังสือสองภาษา (ภาษาจีน-ภาษาไทย) ที่มีพื้นฐานมาจากหนังสือฉบับเทียบภาษาจีน
กับภาษาอังกฤษและปรับปรุงแก้ไขให้เพิ่มหนังสือฉบับเทียบภาษาจีน -เยอรมัน ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น เกาหลี รัสเซีย ไทย
สเปน และอาหรับ จานวนทั้งหมด 8 ฉบับ
ดังนั้น ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษากลวิธีการแปลสานวนจากภาษาจีนเป็นภาษาไทยในชุดหนังสือความรู้ทั่วไป
เกี่ยวกับประเทศจี น อันจะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอนการแปลและการสร้างความรู้ความเข้าใจความ
แตกต่างทางภาษาและวัฒนธรรม

2. ระเบียบวิธีกำรวิจัย
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยวิเคราะห์เฉพาะสานวนภาษาจีนที่แปลเป็นภาษาไทยที่
ปรากฏในชุดหนังสื อความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ ประเทศจีน ตามแนวคิดทฤษฎี การแปลของปีเตอร์ นิว มาร์ค (Peter
Newmark) (1981, อ้างถึงในกนกรัตน์ คุณะสารพันธ์, 2549) ซึ่งแบ่งการแปลออกเป็น 2 ประเภท คือ การแปลเชิง
อรรถศาสตร์ (Semantics translation) และการแปลเชิงสื่อสารหรือการแปลเพื่อการสื่อ สาร (Communicative
translation) โดยอาศัยแนวคิดเดิมที่ แบ่งการแปลออกเป็น การแปลแบบตรงตัว (Literal translation) และการ
แปลแบบเอาความ (Free translation) ความแตกต่างของทั้งสองวิธี คือการแปลเชิงอรรถศาสตร์จะเน้นความหมาย
ของต้นฉบับเป็นสาคัญและมักจะใช้วิธีแปลคาต่อคามาถ่ายทอความหมายจากต้นฉบับมาสู่ฉบับแปล ส่วนการแปล
เชิงสื่อสารจะเน้นความเข้าของผู้อ่านฉบับแปลโดยมีเจตนาให้ผู้อ่านบทแปลสามารถได้รับสิ่งเดียวกับผู้อ่านต้นฉบับ
จึงมักจะใช้ภาษาเป้าหมายในการถ่ายทอดความหมายของต้นฉบับโดยมีการเพิ่มหรือการตัดข้อความบางส่วนตาม
ความเหมาะสม
อย่างไรก็ตาม ปีเตอร์ นิวมาร์ค (1988) ได้จัดแบ่งงานแปลออกเป็นการแปลแบบเน้นที่การรัก ษา
ภาษาต้นฉบับ (SL emphasis, SL ย่อจาก Source Language) และการแปลแบบเน้นความเข้าใจของผู้อ่านใน
ภาษาเป้าหมาย (TL emphasis, TL ย่อจาก Target Language) อีกทั้งจัดเรียงลาดับกลวิ ธีการแปลจานวน 8 วิธี
คือการแปลแบบคาต่อคา (Word-for-word translation) การแปลตรงตัว (Literal translation) การแปลตาม
ต้น ฉบั บ (Faithful translation) การแปลเชิงอรรถศาสตร์ (Semantic translation) การดัดแปลงในฉบับแปล
(Adaptation) การแปลแบบเอาความ (Free translation) การแปลแบบสานวน (Idiomatic translation) และ
การแปลเชิงสื่อสาร (Communicative translation) เป็นรูปตัว V โดยเริ่มจากการแปลที่เน้นการรักษาต้น ฉบับ
มากที่สุดหลั่นกันไปจนถึงแบบที่เน้นความเข้าใจของผู้อ่านในภาษาแปลมากที่สุด ดังนี้

Paper Number: ICHUSO-043 147


Proceedings of 14th International Conference on Humanities and Social Sciences 2018 (IC-HUSO 2018)
22nd-23rd November 2018, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University, Thailand

SL emphasis TL emphasis
Word-for-word translation Adapation
Literal translation Free translation
Faithful translation Idiomatic translation
Semantic translation Coummunicative translation

ชุดหนังสือความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับประเทศจีนของสานักงานกิจการชาวจีนโพ้นทะเลฯ และสานักงาน
ส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนนานาชาติ ที่จัดพิมพ์โดยสานักพิมพ์อุดมศึกษา (Higher Education Press) เมื่อ
ปี ค.ศ. 2007 ประกอบด้วยหนังสือ 3 เล่มได้แก่ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเทศจีน (中国文化常识)
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ประเทศจีน (中国历史常识) และความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ประเทศจีน
(中国地理常识)
การรวบรวมสานวนภาษาจีนพร้อมคาแปลภาษาไทยจากชุดหนังสือความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับประเทศจีนนี้
ยึดตามสานวนที่ปรากฏตรงกับสานวนในพจนานุกรมสานวนภาษาจีน (汉语成语大词典) ของสถานวิจัยเอกสาร
โบราณ มหาวิทยาลัยหูเป่ย (湖北大学古籍研究所) โดยมีสานวนที่พบทั้งหมด 112 สานวน และวิเคราะห์
เชิงพรรณนาซึ่งใช้ตัวอักษรย่อตามด้วยเลขหน้าหนังสือ ดังนี้
“ว” หมายถึง หนังสือเรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเทศจีน
“ป” หมายถึง หนังสือเรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ประเทศจีน
“ภ” หมายถึง หนังสือเรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ประเทศจีน

3. ผลกำรวิจัย
ผลการวิจัยพบว่า กลวิธีการแปลสานวนจากภาษาจีนเป็นภาษาไทยในชุดหนังสือความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ
ประเทศจีนมีจานวนทั้งหมด 7 กลวิธี โดยเรียงลาดับจากความถี่สูงสุดไปยังความถี่ต่าสุด ดังนี้ 1) การแปลเชิงสื่อสาร
2) การแปลแบบเอาความ 3) การแปลตามต้นฉบับ 4) การแปลเชิงอรรถศาสตร์ 5) การแปลตรงตัว 6) การแบบการ
ละ 7) การแปลคาต่อคา นอกจากนี้ ยังพบการแปลสานวนผิด 3 สานวน ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้
1) การแปลเชิงสื่อสาร (Communicative translation) เป็นกลวิธีการแปลที่พยายามแปลภาษา
และความหมายตามบริบทในต้นฉบับ โดยใช้รูปแบบภาษาและวิธีเรียบเรียงความที่ผู้อ่านสามารถยอมรับและเข้าใจ
ได้ (Peter Newmark, 1988: 47) กลวิ ธี ก ารแปลนี้ มี ลั ก ษณะ 5 อย่ า ง คื อ การแปลความหมายกว้ า งเป็ น
ความหมายแคบ การแปลความหมายแคบเป็นความหมายกว้าง การละความหมายบางส่วน การเพิ่มความอธิบาย
และการแปลแบบสื่อความตามปริบท อนึ่ง การแปลเชิงสื่อสารเป็นกลวิธีการแปลที่นิยมมากที่สุด ซึ่งมีสานวน 41
สานวนใช้กลวิธีนี้ในการแปล เช่น

Paper Number: ICHUSO-043 148


Proceedings of 14th International Conference on Humanities and Social Sciences 2018 (IC-HUSO 2018)
22nd-23rd November 2018, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University, Thailand

ต้นฉบับ: 我们决不会对您三心二意。(ป,122)
ฉบับแปล: พวกเราจะไม่มีทางทรยศพระองค์เด็ดขาด (ป, 123)
ความหมายของ “三心二意” ตามพจนานุกรมสานวนภาษาจีน (2004:897) หมายความว่า “แสดง
ถึงไม่ได้ตั้งใจ หรื อลั งเล ไม่ส ามารถตัดสิ น ใจได้ ” ( 形容心意不专或拿不定主意) แต่ห นังสื อความรู้ทั่ว ไป
เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ประเทศจีน แปลว่า “ทรยศ” ซึ่งแสดงถึงความไม่จริงใจต่อพระเจ้าแผ่นดิน เพราะประโยคนี้
ปรากฏตอนที่พระเจ้าซ่งไท่จู่ แสดงความกังวลใจว่า สักวันหนึ่งเหล่าแม่ทัพจะเปลี่ยนใจและไม่ซื่อสัตย์ต่อพระองค์
เหล่าแม่ทัพจึงรีบสารภาพด้วยประโยคดังกล่าว ดังนั้นการแปลโดยใช้คาว่า “ทรยศ” เข้ากับสถานการณ์มากกว่า
ช่วยให้ผู้อ่านที่เป็นชาวไทยเข้าใจความหมายของเนื้อความมากกว่า หากแปลตามตัวอักษรอาจจะทาให้ผู้อ่านไม่
เข้าใจความหมายของข้อความหรือเข้าใจคลาดเคลื่อนได้
2) การแปลแบบเอาความ (Free translation) เป็นกลวิธีการแปลที่ใช้ภาษาเป้าหมายในการอธิบาย
ความหมายของต้นฉบับ แต่ไม่สนใจรูปแบบหรือลักษณะโครงสร้างของภาษาต้นฉบับแต่อย่างใด โดยส่วนมากผู้แปล
จะใช้ภาษาเป้าหมายเรียบเรียงใหม่อีกครั้งหลังจากตีความจากต้นฉบับซึ่งฉบับแปลที่เรียงใหม่นั้นมักจะมีขนาดยาว
กว่ า ต้ น ฉบั บ (Peter Newmark, 1988: 46-47) การศึ ก ษาพบว่ า การแปลแบบเอาความมี ลั ก ษณะการอธิ บ าย
ความหมายของสานวน การสรุปความหมายของส านวน และการแปลด้วยผสมวิธีคือใช้เทคนิคการแปลหลาย
เทคนิ คในการแปลส านวนใดส านวนหนึ่ ง เช่น การแปลตามตัว อักษรและเพิ่มการอธิบายในวงเล็ บ การเขียน
ตัวอักษรจีนและเพิ่มการอธิบายในวงเล็บ การถอดเสียงและเพิ่มการอธิบายในวงเล็บ การวิจัยยังพบว่า มีสานวน
28 สานวนใช้กลวิธีนี้ในการแปล ดังนี้
ต้นฉบับ : 刘备听了诸葛亮这一番精辟透彻的分析,顿时豁然开朗。(ป, 70)
ฉบับแปล : หลังจากได้ฟังการวิเคราะห์ที่แจ่มแจ้งลึกซึ้งของจูเก่อเลี่ยง หลิวเป้ยเข้าใจทันที (ป, 72)
พจนานุกรมสานวนภาษาจีน (2004:195) ให้ความหมายของ “豁然开朗” ไว้ว่า “แสดงลักษณะ
แบบจากสภาพทั้งแคบและมืดกลายเป็นสภาพที่กว้างขวางและสว่าง ซึ่งความหมายโดยนัยคือเข้าใจทันที” (形容
由狭隘幽暗一变为开阔明朗的样子。引申为由疑惑一变为通晓领悟。) และพจนานุกรมจีน -ไทย
(2549:195) ก็ได้ให้ความหมายของ “豁然开朗” ว่า “สว่างโร่ขึ้นทันที” แต่หนังสือเรื่องความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับประ
วัตศาสตร์ประเทศจีนแปลเป็น “เข้าใจทันที” คือแปลแบบสรุปความหมายโดยนัยซึ่งเป็นความหมายที่ใช้จริงโดย
ไม่ได้อธิบายความหมายของตัว อักษรหรื อความหมายนัยตรง อาจเพราะว่าผู้ แปลเห็นว่าไม่จาเป็นที่ จ ะอธิบาย
ความหมายตรงตัวของสานวนเนื่องจากมีความยุ่งยากซับซ้อน แปลแบบสรุปความจะสามารถช่วยผู้อ่านเข้าใจ
เนื้อความง่ายขั้น แต่กลวิธีการแปลนี้ มี ข้อเสียคือ ไม่สามารถรักษาอรรถรสและวัฒนธรรมของต้นฉบับ ได้ ไม่ว่า
โครงสร้างของสานวนหรือการใช้ภาษาของสานวน ตามตัวอย่างดังกล่าว ต้นฉบับแสดงให้เห็นถึง ชาวจีนเปรียบ
ความเข้าใจเป็นจากที่แคบและมืดไปสู่ที่กว้างและสว่าง แต่ฉบับแปลไม่สามารถแสดงลักษณะนี้ได้
3) การแปลตามต้นฉบับ (Faithful translation) เป็นกลวิธีการแปลที่เน้นชื่อสัตย์ต่อวัตถุประสงค์และ
รูปแบบโครงสร้างของผู้เขียนต้นฉบับ ภายใต้ขอบเขตจากัดของกฎเกณฑ์ไวยากรณ์ทางภาษาเป้าหมาย ซึ่งคาศัพท์

Paper Number: ICHUSO-043 149


Proceedings of 14th International Conference on Humanities and Social Sciences 2018 (IC-HUSO 2018)
22nd-23rd November 2018, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University, Thailand

ทางวัฒนธรรมอาจมีการปรับ เปลี่ยน แต่พยายามรักษาไวยากรณ์และการใช้ภาษาให้เหมือนกับต้นฉบับ (Peter


Newmark, 1988: 46) ซึ่งพบว่า การแปลตามต้น ฉบับส่วนมากจะช่วยผู้อ่านเข้าความหมายและลักษณะการใช้
ภาษาของสานวนที่ปรากฏในต้นฉบับ แต่บางสานวนแสดงเพียงรูปแบบโครงสร้างของการใช้ภาษาไม่สามารถแสดง
ถึงความหมายของสานวนในต้นฉบับ ซึ่งสานวนที่ใช้วิธีนี้ในการแปลมีจานวน 18 สานวน ตัวอย่างการแปลตาม
ต้นฉบับที่แสดงถึงลักษณะการใช้ภาษาแต่ไม่แสดงถึงความหมาย ดังนี้
ต้นฉบับ: “草木皆兵” 的来历 (ป, 81)
ฉบับแปล: ความเป็นมาของ “เห็นต้นไม้ใบหญ้าล้วนเป็นทหาร” (ป, 81)
คาว่า “草” หมายถึง “ใบหญ้า” “木” หมายถึง “ต้นไม้” “皆” หมายถึง “ล้วน” และ “兵”
หมายถึง “ทหาร” ความหมายโดยรวมหมายถึง ใบหญ้าและต้นไม้ล้วนเป็นทหาร แต่ผู้แปลปรับรูปแบบใหม่โดย
พยายามรักษาโครงสร้างของต้นฉบับ และแปลเป็น “เห็นต้นไม้ใบหญ้าล้วนเป็นทหาร” ช่วยผู้อ่านเข้าใจการใช้
ภาษาของต้นฉบับและความหมายนัยตรงของสานวนนี้ แต่การแปลสานวนนี้ไม่สามารถสื่อความหมายโดยนัยของ
สานวนได้ ซึ่งตามพจนานุกรมจีน-ไทย (2537: 45) “草木皆兵” หมายถึง “หวาดกลัวเกินไปจนเห็นต้นไม้ใบหญ้า
เป็นข้าศึกไปหมด” แต่ฉบับแปลเน้นการรักษาโครงสร้างของต้นฉบับจึงไม่ระบุ “หวาดกลัว” ที่เป็นคาสาคัญของ
ความหมาย ทาให้ผู้อ่านไม่สามารถรับรู้ถึงความหมายโดยนัยของสานวนนี้ ดังนั้น กลวิธีการแปลนี้ควรใช้กับสานวน
ที่เน้นโครงสร้างมากกว่าความหมาย หรือใช้ในกรณีที่มีการอธิบายความหมายของสานวนก่อนล่วงหน้า
4) การแปลเชิงอรรถศาสตร์ (Semantic translation) เป็นกลวิธีการแปลแตกต่างจากการแปลตาม
ต้นฉบับเป็นอย่างมาก กล่าวคือ การแปลเชิงอรรถศาสตร์เป็นการแปลที่เน้นความสละสลวยและความเหมาะสมของ
ภาษาเป้าหมาย ส่วนการแปลคาหรือข้อความทางวัฒนธรรมอาจจะเลื อกคาในภาษาเป้าหมายที่มีความหมาย
ใกล้เคียงกับต้นฉบับมากที่สุดมาแทน การแปลเชิงอรรถศาสตร์จึงมีความยืดหยุ่นในการเลือกคามากกว่าการแปล
ตามต้นฉบับ (Peter Newmark, 1988: 46) การแปลหนังสือชุดความรู้นี้ ผู้แปลจึงเลือกอธิบายความแทนสานวนใน
ต้นฉบับโดยมิได้แปลเป็นสานวน แต่เป็นวลีหรือข้อความที่สละสลวยที่มีความหมายใกล้เคียงกับสานวนที่แปล ซึ่งมี
9 สานวนทีใ่ ช้วิธีนี้ในการแปล เช่น
ต้นฉบับ: 在姜太公的辅佐下,周文王和周武王整顿政治和军事,对内发展生产,
使人民安居乐业;对外征服各部族,不断扩大疆土。(ป, 15)
ฉบับแปล: พระเจ้าโจวเหวินหวังและพระเจ้าโจวอู่หวังได้ทรงปรับปรุงประเทศทั้งด้านการเมืองการ
ปกครองและด้ า นการทหารให้ ดี ขึ้ น โดยทรงได้ รั บ ความช่ ว ยเหลื อ จากเจี ย งไม่ ก ง ทั้ ง ยั ง ทรงพั ฒ นาการผลิ ต
ภายในประเทศทาให้ประชาชนอยู่เย็นเป็นสุข และทรงขยายอานาจการปกครองไปยังเผ่าชนอื่น ๆ อย่างต่อเนื่อง
(ป, 17)
ตามพจนานุกรมสานวนจีนออนไลน์ สานวน “安居乐业” หมายถึง “(ประชาชน) ใช้ชีวิตแบบสงบ
สุ ข และมี ค วามสุ ข กั บ หน้ าที่ ก ารงาน” ( 指安定地生活,愉快地从事其职业) และพจนานุ ก รม จี น -ไทย
(2537:2) ให้ความหมายของ “安居乐业” คือ “อยู่เย็นเป็นสุข” ตามที่ผู้แปลอธิบายไว้ในบทแปล แสดงให้เห็นว่า

Paper Number: ICHUSO-043 150


Proceedings of 14th International Conference on Humanities and Social Sciences 2018 (IC-HUSO 2018)
22nd-23rd November 2018, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University, Thailand

ถึงแม้ “อยู่เย็นเป็นสุข” ไม่ใช่สานวน (ไม่ ปรากฏสานวนนี้ในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน) และไม่ได้มี


ความหมายตรงกั บ 安居乐业 ก็ ส ามารถแสดงความหมายของส านวนให้ กั บ ผู้ อ่ า นเป็ น อย่ า งดี เนื่ อ งจากมี
ความหมายใกล้เคียงกันเป็นอย่างมาก ดังนั้น ในการประยุกต์ใช้กลวิธีการแปลเชิงอรรถศาสตร์มาแปลสานวนก็ไม่
จาเป็นที่ใช้สานวนทางเป้าหมายภาษาแทนเท่านั้น การหาคาหรือวลีที่กระชับและสละสลวยมาแทนเป็นอีกวิธีที่
น่าสนใจ
5) การแปลตรงตัว (Literal Translation) เป็นกลวิธีการแปลที่พยายามใช้โครงสร้างไวยากรณ์ทาง
ภาษาเป้าหมายให้ใกล้เคียงกับโครงสร้างไวยากรณ์ทางภาษาต้นฉบับมากที่สุด แต่การแปลความหมายของคาต่าง ๆ
ก็ยังแปลตามความหมายทั่วไปโดยไม่คานึงถึงบริบทรอบข้าง วิธีการแปลนี้ควรใช้ในขั้นตอนการแปลและต้องเรียบ
เรียงบทแปลอีกที (Peter Newmark, 1988: 46) การศึกษาพบว่าการแปลตรงตามตัวบางสานวนจะสามารถสื่อ
ความหมายโดยนัยได้ แต่บางสานวนที่มีความหมายลึกซึ้งจะไม่สามารถสื่อความหมายโดยนัย ได้ และสานวนที่ใช้
กลวิธีนี้ในการแปลมีจานวน 6 สานวน ตัวอย่างเช่น
ต้ น ฉบั บ : 他教育学生:“温故而知新”(学习知识要经常复习,“知之为知之,不
知为不知”(学习态度要老实,还要求把学习和思考结合起来。(ป, 28)
ฉบับแปล : ขงจื๊อสอนลูกศิษย์ให้ "ทวนของเก่า เรียนรู้ของใหม่" (การเรียนจาเป็นต้องทบทวนของเก่า
อยู่เสมอ) "รู้ก็บอกว่ารู้ ไม่รู้ก็บอกว่าไม่รู้" (ต้องมีท่าทีซื่อตรงในการเรียน) และยังสอนให้นาเอาการเรียนและการคิด
ผนวกเข้าด้วยกัน (ป, 29)
“温” หมายถึง “ทวน” “故” หมายถึง “ของเก่า” “知” หมายถึง “เรียนรู้” “新” หมายถึง
“ของใหม่” “而” เป็นคาบุพบทไม่มีความหมาย เมื่อรวมความแล้ว หมายถึง ทวนของเก่า เรียนรู้ของใหม่ ตามที่ผู้
แปลเขียนไว้ในบทแปล แสดงให้เห็นว่าผู้แปลได้นาความหมายทั่วไปของคาต่าง ๆ มาเรียบเรียงตามโครงสร้าง
ต้นฉบับโดยละทิ้งคาที่ไม่มีความหมาย นอกจากนี้ ภาษาจีนและภาษาไทยล้วนเป็นภาษาคาโดด ตัวอักษรมักจะมี
ความหมายประจาตัว อีกทั้งวัฒนธรรมจีนและวัฒนธรรมไทยมีความแลกเปลี่ยนกันมาเป็นเวลานานจึงมีความ
เหมือนในหลายด้าน ดังนั้น การหาคาที่มีความหมายใกล้เคียงกันมาเทียบแทนจึงไม่ใช่เรื่องที่ยากนัก ฉะนั้นกลวิธี
การแปลตรงตัวจึงเป็นกลวิธีการแปลสานวนจากภาษาจีนเป็นภาษาไทยที่ดีอย่างหนึ่ง
6) การแปลแบบการละ เป็นกลวีการแปลที่ละทิ้งสานวนจากต้นฉบับ เนื่องจากผู้แปลเห็นว่าสานวน
นั้ น ก่อให้ เกิดความเยิ่ น เย้ อ หรื อไม่ส ามารถหาถ้ อ ยค าหรื อส านวนในภาษาเป้ าหมายมาเทีย บเคีย งได้ (Peter
Newmark, 1988 อ้างถึงใน รมัณยา ทิพย์มณเฑียร, 2559: 88) การศึกษาพบว่าสานวนที่ถูกละไปส่วนมากเป็น
สานวนที่ทาหน้าที่เป็นส่วนขยาย และสานวนที่ถูกละไม่แปล มี 6 สานวน ดังนี้
ต้นฉบับ : กองทหารราชวงศ์เหลียวไม่ทันตั้งตัว จึงพ่ายแพ้และถอยทัพกลับไป (ป, 125)
ฉบับแปล : 辽军毫无防备,心惊胆战,大败而归。(ป,124)
พจนานุกรมจีน-ไทย (2549:426) ให้ความหมายกับ “心惊胆战” ว่า “อกสั่นขวัญแขวน” ซึ่งเป็นคา
ที่ แ สดงสภาพของกองทหารราชวงศ์ เ หลี ย วในสถานการณ์ ที่ ไ ม่ ทั น ตั้ ง ตั ว แต่ ห นั ง สื อ ความรู้ ทั่ ว ไปเกี่ ย วกั บ

Paper Number: ICHUSO-043 151


Proceedings of 14th International Conference on Humanities and Social Sciences 2018 (IC-HUSO 2018)
22nd-23rd November 2018, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University, Thailand

ประวัติศาสตร์จีน ไม่ได้แปลคานี้ อาจเพราะว่าผู้แปลหาคาที่มีความหมายใกล้เคียงกันไม่ได้ ผู้แปลลืมแปล หรือผู้


แปลตั้งใจไม่แปล เนื่องจากข้อความในตัวอย่างนี้เป็นข้อความกล่าวการต่อสู้ระหว่างกองทหารหยางเย่และกอง
ทหารราชวงศ์เหลียวเพื่อแสดงความกล้าหาญของหยางเย่จึงไม่จาเป็นที่กล่าวรายละเอียดของสภาพของข้าศึกมาก
เกินไป
7) การแปลคาต่อคา (Word-for-word translation) เป็นวิธีการแปลที่มีลักษณะเน้นภาษาต้นฉบับ
มากที่สุด เป็นการความหมายของแปลคาต่าง ๆ ที่ปรากฏในต้นฉบับ ซึ่งมักจะเลือกความหมายทั่ว ๆ ไปของคาแต่
ละค าโดยไม่ ค านึ ง ถึ ง อิ ท ธิ พ ลของบริ บ ทรอบข้ า ง กลวิ ธี ก ารแปลนี้ มั ก จะใช้ ใ นการท าความเข้ า ใจกลไกของ
ภาษาต้นฉบับ หรือใช้ในการตีความในขั้นตอนการแปลสาหรับข้อความที่มีความหมายซับซ้อน (Peter Newmark,
1988: 45-46) เนื่องจากสานวนเป็นถ้อยคาที่มักมีความหมายโดยนัย การแปลด้วยวิธีการแปลคาต่อคาจึงอาจไม่
สามารถสื่อความหมายของสานวนได้ ดังนั้น กลวิธีการแปลนี้ไม่ค่อยนิยมใช้ในการแปลสานวน จึงพบการแปลด้วย
กลวิธีนี้มีเพียง 1 สานวน ดังนี้
ต้ น ฉบั บ : 战国中期,魏国军队攻打赵国,赵国向齐国求救。大军事家孙膑以魏国
精锐在赵国,内部空虚,便带领齐国的军队攻打魏国的首都。魏国军队本已攻破赵国首
都,听自己的国家情况危急,便急忙从赵国撤军回去救援,刚走到半路,就中了齐国军队
的埋伏,齐军打了个大胜仗。这就是中国历史上著名的战例——围魏救赵。(ป, 24)
ฉบับแปล : ช่วงกลางของยุคจั้นกั๋ว กองทัพแคว้นเว่ยได้บุกตีแคว้นจ้าว แคว้นจ้าวจึงขอความช่วยเหลือ
ไปยังแคว้นฉี ขณะนั้นเมืองหลวงของแคว้นเว่ยไม่มีทหารประจาการอยู่เลย นายพลซุนปิ้นจึงได้นากองทัพแคว้นฉีไป
บุกเมืองหลวงของแคว้นเว่ย ขณะที่กองทัพแคว้นเว่ยได้บุกเมืองหลวงของแคว้นจ้าวได้แล้วนั้น ก็ได้ข่าวว่าแคว้น
ตัวเองตกอยู่ในอันตราย จึงรีบถอนทัพจากแคว้นจ้าว กลับไปช่วยแคว้นเว่ยของตน เมื่ อเดินทัพมาถึงครึ่งทาง ก็ได้
ประสบกับกองทัพฉีที่ซุ่มอยู่ กองทัพฉีได้ปิดทางกองทัพเว่ยไว้ และเปิดศึกกับกองทัพเว่ย ในที่สุดกองทัพฉีได้รับชัย
ชนะ นี่ก็คือตัวอย่างกลยุทธ์ศึกที่มีชื่อเสียงในประวัติศาสตร์จีน เรียกว่า “ล้อมเว่ยช่วยจ้าว” (ป, 26)
“围” หมายถึง “ล้อม” “魏” หมายถึง “แคว้นเว่ยในสมัยยุคชุนชิว” “救” หมายถึง “ช่วย” “赵”
หมายถึง “แคว้นจ้าวในสมัยยุคชุนชิว” เมื่อเข้าร่วมด้วยกันก็คือ “ล้อมเว่ยช่วยจ้าว” ตามที่ฉบับแปลเขียนไว้ แต่การ
แปลด้วยวิธีนี้ไม่สามารถสื่อความหมายโดยนัยของสานวนนี้ได้ เพราะความหมายโดยนัยของสานวนนี้คือ กลยุทธ์ศึก
แบบโจมตีสถานที่ตั้งของกองทัพศัตรูที่อยู่ด้านหลัง แล้วบังคับให้ศัตรูถอนกาลัง (指围攻来犯之敌的后方据
点,迫使其撤回兵力的作战方法) (พจนานุ กรมส านวนภาษาจี น , 2004:1084) การที่ผู้ แปลใช้กลวิธี การ
แปลนี้อาจเป็นเพราะเนื้อหาข้างต้นได้กล่าวถึงความเป็นมาของสานวนนี้แล้ว จึงไม่จาเป็นต้องอธิบายความหมาย
ของสานวนนี้อีก และผู้แปลต้องการแสดงให้ผู้อ่านเข้าใจการใช้ภาษาของต้นฉบับ ด้วย ดังนั้นกลวิธีการแปลนี้ควรใช้
ในกรณีที่ผู้อ่านเข้าใจความหมายหรือที่มาของสานวนมาก่อน
นอกจากพบกลวิธีการแปลดังกล่าวแล้วยังพบการแปลสานวนผิด 3 สานวน เป็นความผิดพลาดในการ
แปลความหมายของสานวน คือความหมายของสานวนที่ผู้แปลระบุในบทแปลไม่ตรงกับความหมายของสานวน มี

Paper Number: ICHUSO-043 152


Proceedings of 14th International Conference on Humanities and Social Sciences 2018 (IC-HUSO 2018)
22nd-23rd November 2018, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University, Thailand

การเพิ่ ม เติ ม ความหมายที่ ไ ม่ เกี่ ย วข้ อ งและมี ก ารตีค วามผิ ด ไปคนละด้ านกั บ ความหมายที่ แ ท้ จริ ง ของส านวน
ตัวอย่างการตีความผิดไปคนละด้านกับความหมายที่แท้จริงของสานวนดังต่อไปนี้
ต้นฉบับ : 一日为师,终生为父。(ว, 26)
ฉบับแปล : เป็นอาจารย์วันเดียว นับถือเป็นพ่อไปตลอดชีวิต (เปรียบอาจารย์เหมือนกับพ่อที่ห่วงใย
ศิษย์ไปตลอดชีวิต) (ว, 27)
พจนานุ ก รมส านวนภาษาจี น (2004:1259) ให้ ค วามหมายกั บ “ 一日为师,终身为父” ว่ า
“อาจารย์ที่สอนตนวันเดียวก็ต้องนับถือเป็นบิดาไปตลอดชีวิต แสดงถึงความเคารพที่มีต่ออาจารย์” (对教过自己
一天的老师,要一辈子当做父亲看待。表示对老师的尊敬。) ส่วนฉบับแปลให้ความหมายโดยตรง
ของสานวนว่า “เป็นอาจารย์วันเดียว นับถือเป็นพ่อไปตลอดชีวิต ” เป็นความหมายที่ถูกต้อง แต่มีการอธิบายความ
เพิ่มเติมในวงเล็บที่ว่า “เปรียบอาจารย์เหมือนกับพ่อที่ห่วงใยศิษย์ไปตลอดชีวิต” ซึ่งความหมายสานวนภาษาจีนนี้
เป็นการแสดงถึงความเคารพที่ลู กศิษย์มีต่ออาจารย์ ไม่ใช่ความห่วงใยที่อาจารย์มีต่อศิษย์ จึงเป็นการการแปล
ความหมายคลาดเคลื่อนจากความหมายเดิม ซึ่งอาจทาให้ผู้อ่านเข้าใจความหมายของผู้เขียนผิด อนึ่ง ตัวอย่างนี้ยัง
แสดงให้ เห็ น ว่าเมื่อแปลส านวน ควรให้ ความส าคัญกับการแปลความหมายอย่างเดียวยังไม่ เพียงพอ ต้องให้
ความสาคัญกับการอธิบายความหมายของสานวนอีกด้วย
กล่าวโดยสรุป การศึกษากลวิธีการแปลที่เน้นภาษาต้นฉบับและกลวิธีการแปลที่เน้นภาษาเป้าหมาย
นั้น สามารถสรุปจานวนสานวนและร้อยละของกลวิธีการแปลแต่ละประเภทได้ตามตาราง ดังนี้

ตารางที่ 1 จานวนสานวนและร้อยละของกลวิธีการแปลแต่ละประเภท
ชื่อหนังสือ
ลำดับ กลวิธีกำรแปล รวม ร้อยละ
ว ป ภ
1 การแปลเชิงสื่อสาร 15 19 7 41 37
2 การแปลแบบเอาความ 13 7 8 28 25
3 การแปลตามต้นฉบับ 7 8 3 18 16
4 การแปลเชิงอรรถศาสตร์ 1 4 4 9 8
5 การแปลตรงตัว 1 4 1 6 5
6 การแบบการละ 3 3 0 6 5
7 การแปลคาต่อคา 0 1 0 1 1
* การแปลความหมายคลาดเคลื่อน 3 0 0 3 3
รวม 43 46 23 112 100

Paper Number: ICHUSO-043 153


Proceedings of 14th International Conference on Humanities and Social Sciences 2018 (IC-HUSO 2018)
22nd-23rd November 2018, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University, Thailand

4. สรุปและอภิปรำยผล
การวิจัยครั้งนี้พบว่ากลวิธีการแปลที่ใช้ในการแปลสานวนจากภาษาจีนเป็นภาษาไทย จานวน 112
สานวนที่ปรากฏในชุดหนังสือความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับประเทศจีนมี 7 วิธี ซึ่งการแปลเชิงสื่อสารใช้มากที่สุด ถึง 41
สานวน คิดเป็นร้อยละ37 รองมาคือการแปลแบบเอาความ 28 สานวน คิดเป็นร้อยละ 25 และการแปลตาม
ต้นฉบับ 18 สานวน คิดเป็นร้อยละ 16 การแปลเชิงอรรถศาสตร์ 9 สานวน คิดเป็นร้อยละ 8 การแปลตรงตัว 6
สานวน คิดเป็นร้อยละ 5 การแปลแบบการละ 6 สานวน คิดเป็นร้อยละ 5 การแปลคาต่อคา 1 สานวน คิดเป็น
ร้อยละ 1 ตามลาดับ นอกจากนี้ยังพบมีการแปลสานวนคลาดเคลื่อน 3 สานวน คิดเป็นร้อยละ 3
หากแบ่งตามทฤษฎีการแปลของปีเตอร์ นิวมาร์ค จะเห็นว่ากลวิธีการแปลที่เน้นภาษาต้นฉบับมี การ
แปลคาต่อคา การแปลตรงตัว การแปลตามต้นฉบับ และการแปลเชิงอรรถศาสตร์ ส่ ว นกลวิธีการแปลที่เน้น
ภาษาเป้าหมายมีการแปลแบบเอาความและการแปลเชิงสื่อสารซึ่งเป็นสองวิธีที่ใช้มากที่สุด หากรวมกันแล้วเป็น
ร้ อยละ 62 นอกจากนี้ การแปลแบบการละก็ส ามารถแบ่ งในกลุ่ มกลวิธีการแปลเชิงสื่ อสาร เพราะผู้ แปลให้
ความส าคั ญ กั บ ภาษาเป้ า หมายมาหกว่ า ภาษาต้ น ฉบั บ ถึ ง ละทิ้ ง โดยไม่ แ ปล กล่ า วโดยสรุ ป คื อ การแปลเชิ ง
อรรถศาสตร์ที่ให้ความสาคัญกับความหมายของต้นฉบับมี 75 สานวน คิดเป็นร้อยละ 67 ส่วนการแปลเชิงสื่อสารที่
ให้ความสาคัญกับความเข้าของผู้อ่านบทแปลมี 34 สานวน คิดเป็นร้อยละ 40 และการแปลผิดมี 3 สานวน คิดเป็น
ร้ อยละ 3 สิ่ งที่น่ าแปลกใจคือไม่พบกลวิธีการแปลแบบส านวน ซึ่งอาจเพราะว่าผู้ แปลไม่ช านาญเรื่องส านวน
ภาษาไทยที่เป็นภาษาเป้าหมาย หรือผู้แปลให้ความสาคัญ กับการรักษาเจตนาของผู้เขียนที่แฝงไว้ในต้นฉบับทาง
ภาษา เนื่ อ งจากชุ ด หนั ง สื อ นี้ เ ป็ น หนั ง สื อ ประกอบการเรี ย นการสอนที่ มุ่ ง ถ่ า ยทอดความรู้ เ รื่ อ งวั ฒ นธรรม
ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ของประเทศจีนให้กับผู้อ่าน
ข้อสรุปดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า การแปลสานวนจากภาษาจีนเป็นภาษาไทยมีการแปลเชิงอรรถศาสตร์
ที่พยายามแปลตามโครงสร้างของต้นฉบับและพยายามสื่อความหมายตามรูปแบบการใช้ภาษาต้นฉบับ ผ่านกลวิธี
การแปลคาต่อคา กลวิธีการแปลตรงตัว กลวิธีการแปลตามต้นฉบับ และกลวิธีการแปลเชิงอรรถศาสตร์ เพื่อทาให้
ผู้อ่านบทแปลได้สัมผัสถึงวัฒนธรรมที่แผงไว้ในรูปภาษา ซึ่งผู้อ่านบทแปลที่ใช้กลวิธีดังกล่าวจะสามารถรับรู้ลักษณะ
การใช้ภาษาและความหมายของต้นฉบับ เจตนาของผู้เขียน และวัฒนธรรมของสังคมที่ใช้ภาษาต้นฉบับ นอกจากนี้
ยังมีการแปลเชิงสื่อสารที่ให้ความสาคัญกับความเข้าใจของผู้อ่านบทแปล เพื่อให้ผู้อ่านบทแปลสามารถได้รับสิ่ง
เดียวกันกับผู้อ่านต้นฉบับ ในขณะที่ยังคงรักษาความหมายของต้นฉบับและเจตนาของผู้เขียน ผ่านกลวิธีการแปล
แบบสื่อสาร กลวิธีการแปลแบบเอาความและกลวีการแปลแบบการละ ผู้อ่านบทแปลด้วยกลวิธีดังกล่าวจะสามารถ
เข้าใจเนื้อความได้ง่ายและชัดเจน แต่ต้องเสียความรู้สึกทางวัฒนรรมต้นฉบับในระดับหนึ่ง
อย่างไรก็ตาม “การแปลเป็นการถ่ายทอดจากภาษาหนึ่งไปเป็นอีกภาษาหนึ่ง เป็นการสื่อสารโดยการ
ใช้ภาษาถ่ายทอดความหมายกล่าวคือ นักแปลพยายามจับความหมายจากภาษาหนึ่งแล้วแสดงออกในอีกภาษา
หนึ่ง” (เสาวภาคย์ วรลัคนากุล และเศวรัตน์ วนาสุขพันธ์, 2555:1) สานวนเป็นถ้อยคาที่ความหมายแฝง และ
สานวนหลายสานวนไม่สามารถอธิบายความหมายตามตัวอักษรได้ ผู้วิจัยจึงเห็นว่า การแปลเชิงสื่อสารเหมาะกับ

Paper Number: ICHUSO-043 154


Proceedings of 14th International Conference on Humanities and Social Sciences 2018 (IC-HUSO 2018)
22nd-23rd November 2018, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University, Thailand

การแปลสานวนจากภาษาจีนเป็นภาษาไทยมากกว่า บทแปลจะได้กระชิบและถูกต้องทางไวยากรณ์ภาษาเป้าหมาย
มากกว่า และส่งผลให้ผู้อ่านได้เข้าใจเนื้อความได้ง่ายกว่าและชัดเจนกว่า ส่วนการเลือกกลวิธีการแปลนั้น เนื่องจาก
กลวิธีการแปลแต่ละอย่างมีลักษณะเฉพาะและมีทั้งข้อดีและข้อเสียแตกต่างกัน ดังนั้น การประยุกต์กลวิธีอย่างใด
อย่างหนึ่งต้องพิจารณาเป้าหมายของการเขียนต้นฉบับ เป้าหมายของการแปล ลักษณะของข้อความที่นามาแปล
และบริบทที่เกี่ยวข้อง
อนึ่ง หากมีความจาเป็นสามารถประยุกต์ใช้กลวิธีการแปลแบบผสม หมายความว่าใช้กลวิธีการแปล
หลายอย่างในการแปลสานวนใดสานวนหนึ่ง ไม่ว่าจะเลือกใช้กลวิธีการแปลอย่างใดก็ควรพยายามสื่อความหมายให้
ตรงกับต้นฉบับเพื่อรักษาอรรถรสและวัฒนธรรมของต้นฉบับ ขณะเดียวกันก็ต้องพยายามใช้ภาษาสละสลวยเพื่อห้
ผู้อ่านฉบับแปลได้รู้สึกเหมือนอ่านจากต้นฉบับ

5. เอกสำรอ้ำงอิง
กนกรัตน์ คุณะสารพันธ์. (2549). การแปลสานวนจากบทภาพยนตร์ภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย.
วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์เพื่อการสื่อสาร คณะศิลปศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. หน้า 1-127.
เผย์ เสี่ยวลุ่ย (裴晓睿). (2537). พจนำนุกรมจีน-ไทย. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ทฤษฎี
บริษัท ตถาตา พับลิเคชั่น จากัด
พจนานุกรมสานวนจีนออนไลน์. ค้นเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2561 จาก http://cy5156edu.com/.
รมัณยา ทิพย์มณเฑียร. (2559). การแปลสานวนภาษาอังกฤษซีรี่ย์แนววัยรุ่นเป็นภาษาไทย.
วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์เพื่อการศื่อสาร คณะศิลปศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนำนุกรม ฉบับรำชบัณฑิตสถำน พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร: นามมีบุ๊คส์
พับลิเคชั่นส์.
ศศรักษ์ เพชรเชิดชู. (2552). การแปลจีน - ไทยเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: โครงการเผยแพร่ผลงาน
วิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมพร มันตะสูตร แพ่งพิพัฒน์. (2540). กำรเขียนเพื่อกำรสื่อสำร. กรุงเทพมหานคร:โอเดียนสโตร์.
เสาวภาคย์ วรลัคนากุล และเศวรัตน์ วนาสุขพันธ์. (2555). การแปลภาษาจีน–ไทย 1. พิมพ์ครั้งที่ 3.
กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคาแหง.
Peter Newmark. (1981). Approaches to Translation. Oxford: Pergaman Press.
Peter Newmark. (1988). A Textbook of Translation. New Jersey: Prentice Hall.

Paper Number: ICHUSO-043 155


Proceedings of 14th International Conference on Humanities and Social Sciences 2018 (IC-HUSO 2018)
22nd-23rd November 2018, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University, Thailand

The Overseas Chinese Affairs Office of the State Council และ The Office of Chinese Language
Council International. (2007). ควำมรู้ทั่วไปเกี่ยวกับประวัติศำสตร์ประเทศจีน (中国
历史常识). ปักกิ่ง: สานักพิมพ์อุดมศึกษา (สานักพิมพ์ Gaodeng Jiaoyu)
The Overseas Chinese Affairs Office of the State Council และ The Office of Chinese Language
Council International. (2007). ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ประเทศจีน (中国地理
常识). ปักกิ่ง: สานักพิมพ์อุดมศึกษา (สานักพิมพ์ Gaodeng Jiaoyu)
The Overseas Chinese Affairs Office of the State Council และ The Office of Chinese Language
Council International. (2007). ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเทศจีน (中国文化
常识). ปักกิ่ง: สานักพิมพ์อุดมศึกษา (สานักพิมพ์ Gaodeng Jiaoyu)
湖北大学古籍研究所. (2007). 汉语成语大词典. 北京:中华书局.

Paper Number: ICHUSO-043 156

You might also like