You are on page 1of 13

1

ประเภทของการศึกษาภาษาศาสตร์
การศึกษาด้านภาษาศาสตร์สามารถแบ่งออกได้หลายมุมมอง ได้แก่

ภาษาศาสตร์เชิงประวัติศาสตร์ (Dichotomies and language) แบ่งได้เป็ น

• การศึกษาเชิงประวัติศาสตร์เน้นเฉพาะยุคสมัย (synchronic study)


เป็ นการศึกษาคุณสมบัติทางภาษาศาสตร์ (linguistic feature) ของ
ภาษาในช่วงยุคสมัยต่างๆ
• ภาษาศาสตร์เชิงประวัติศาสตร์เปรียบเทียบ (diachronic study) เป็ นการ
ศึกษาประวัติศาสตร์ของภาษาและกลุ่มของภาษา และความเปลี่ยนแปลง
เชิงโครงสร้างที่เกิดขึ้นในยุคต่างๆ

ภาษาศาสตร์เชิงทฤษฎีและเชิงประยุกต์

• ภาษาศาสตร์เชิงทฤษฎี (หรือภาษาศาสตร์ท่ัวไป) จะเป็ นการกำาหนด


อรรถาธิบายให้กับภาษาแต่ละภาษา และกำาหนดทฤษฎีเกี่ยวกับมุมมอง
ต่างๆ ของภาษาให้ครอบคลุม
• ภาษาศาสตร์เชิงประยุกต์จะเป็ นการประยุกต์ใช้ทฤษฎีทางภาษาศาสตร์
ต่างๆ กับงานด้านอื่นๆ

ภาษาศาสตร์แบบพึง ่ พาบริบทและแบบไม่พึง
่ พาบริบท (Contextual and
Independent Linguistics)

• ภาษาศาสตร์แบบพึ่งพาบริบท เป็ นการสร้างอรรถาธิบายเกี่ยวกับการใช้


ภาษาโดยมนุษย์ เช่น หน้าที่เชิงสังคมในภาษา วิธีการใช้งานภาษา และวิธี
การสร้างและรับร้้ภาษาของมนุษย์
• ภาษาศาสตร์แบบไม่พึ่งพาบริบท เป็ นการศึกษาที่ตัวภาษาเอง โดยไม่
พิจารณาปั จจัยภายนอกต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

ั ไม่มีการแบ่งแยกอย่างชัดเจน ในหนังสือ สา
อย่างไรก็ตามคำาทั้งสองนี้ ยง
รานุกรมบริทานิ กา (Encyclopædia Britannica) จึงใช้คำาว่า
ภาษาศาสตร์มหภาค (macrolinguistics) และภาษาศาสตร์จุลภาค
(microlinguistics) แทน

จากมุมมองต่างๆ เหล่านี้ นักภาษาศาสตร์ หรือนักภาษาศาสตร์เชิงทฤษฎี


โดยทั่วไป มักจะศึกษาภาษาศาสตร์แบบไม่พึ่งพาบริบท ในเชิงทฤษฎี เฉพาะยุค
สมัย (independent theoretical synchronic linguistics) ซึ่งเป็ นที่ร้กันว่า
เป็ นแก่นของวิชาภาษาศาสตร์

ผ้้เชี่ยวชาญต่างๆ ได้ต้ังประเด็นคำาถามและทำาวิจัยทางด้าน
ภาษาศาสตร์ไว้อย่างกว้างขวาง ซึง ่ บางประเด็นก็ยังหาข้อสรุปไม่ได้ ดังที่ รัส ไร
เมอร์ (Russ Rymer) ได้กล่าวเอาไว้อย่างละเอียดว่า

"ภาษาศาสตร์เป็ นทรัพย์สินที่มีการโต้เถียงกันอย่างเผ็ดร้อนที่สุดโดยหาจุด
ยุติไม่ได้ในวงการวิชาการ ภาษาศาสตร์โชกชุ่มไปด้วยหยาดโลหิตของนักกวี นัก
ศาสนวิทยา นักปรัชญา นักภาษาโบราณ นักจิตวิทยา นักชีววิทยา และ
2

นักประสาทวิทยา รวมทั้งเลือดของนักไวยากรณ์เท่าที่จะสามารถเอาออกมา
ได้"

(Linguistics is arguably the most hotly contested property in


the academic realm. It is soaked with the blood of poets,
theologians, philosophers, philologists, psychologists, biologists, and
neurologists, along with whatever blood can be got out of
grammarians.) 1

[แก้] แขนงวิชาของภาษาศาสตร์เชิงทฤษฎี
บ่อยครั้ง ภาษาศาสตร์เชิงทฤษฎีสามารถแบ่งออกได้เป็ นหลายแขนง บาง
แขนงสามารถศึกษาได้โดยอิสระ บางแขนงก็ต้องศึกษาควบค่ก ้ ับแขนงอื่น อย่างไร
ก็ตาม เป็ นที่ร้กันโดยทั่วไปว่า ภาษาศาสตร์เชิงทฤษฎีสามารถแบ่งออกเป็ นแขนง
ต่างๆ ได้ดังนี้

• สัทศาสตร์ (Phonetics) เป็ นการศึกษาเสียงต่างๆ ซึ่งใช้ร่วมกันในภาษา


มนุษย์ทุกภาษา
• สัทวิทยา (Phonology) เป็ นการศึกษาร้ปแบบเสียงพื้นฐานของภาษา
• วิทยาหน่ วยคำา (Morphology linguistics) เป็ นการศึกษาโครงสร้าง
ภายในของคำาและการเปลี่ยนร้ปของคำา
• วากยสัมพันธ์ (Syntax) เป็ นการศึกษาการประกอบคำาขึ้นเป็ นประโยคที่
ถ้กต้องตามหลักไวยากรณ์
• อรรถศาสตร์ (Semantics) เป็ นการศึกษาความหมายของคำา (lexical
semantics) และวิธีการประกอบคำาขึ้นเป็ นประโยคเพื่อสื่อความหมาย
• วัจนปฏิบต ั ิศาสตร์ (Pragmatics)เป็ นการศึกษาวิธีการใช้ถอ ้ ยความ
(utterance) เพื่อสื่อความหมายในการสื่อสาร เช่น แบบตรงตัว (literal
pragma) แบบอุปมาอุปไมย (figurative pragma) ฯลฯ
• ภาษาศาสตร์เชิงประวัติ (Historical linguistics) เป็ นการศึกษา
ภาษาต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กันในเชิงประวัติศาสตร์ ซึ่งสามารถสังเกตได้
จากความใกล้เคียงของคำาศัพท์ การสร้างคำา และวากยสัมพันธ์
• แบบลักษณ์ภาษา (Linguistic typology) เป็ นการศึกษาคุณสมบัติทาง
ไวยากรณ์ท่ีใช้อย่้ในภาษาต่างๆ
• วัจนลีลาศาสตร์ (Stylistics linguistics) เป็ นการศึกษาลีลาในการใช้
ภาษา

อย่างไรก็ตาม ความสำาคัญเฉพาะของแขนงต่างๆ ก็ยังไม่เป็ นที่ทราบโดย


ทั่วกัน และนักภาษาศาสตร์ทุกท่านก็เห็นพ้องกันว่า การแบ่งแขนงแบบดังกล่าว
ยังคงมีขอบเขตซ้อนทับกันอย่้มาก ถึงกระนั้น แขนงย่อยก็ยง
ั คงมีคอนเซ็ปต์แก่นซึ่ง
สนับสนุนการตั้งประเด็นปั ญหาและการวิจัยของผ้้ชำานาญการได้เป็ นอย่างดี

[แก้] ภาษาศาสตร์เชิงประวัติศาสตร์เปรียบ
เทียบ (Diachronic linguistics)
ในขณะที่แก่นของภาษาศาสตร์เชิงทฤษฎีเกี่ยวข้องกับการศึกษาภาษา
เฉพาะห้วงเวลาหนี่ งๆ (ซึ่งส่วนมากจะเป็ นช่วงเวลาปั จจุบัน) ภาษาศาสตร์เชิง
3

ประวัติศาสตร์เปรียบเทียบ จะเน้นไปที่การศึกษาความเปลี่ยนแปลงของภาษาตาม
การเปลี่ยนแปลงของเวลา ในบางครั้งอาจจะใช้เวลานับร้อยปี ภาษาศาสตร์เชิง
ประวัติศาสตร์จะต้องใช้ท้ง
ั การศึกษาด้านประวัติศาสตร์อันยาวนาน (ซึ่งการศึกษา
ภาษาศาสตร์ก็ได้เติบโตมาจากภาษาศาสตร์เชิงประวัติศาสตร์น่ันเอง) และพื้น
ฐานด้านทฤษฎีท่ีเข้มแข็ง เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา

ในมหาวิทยาลัยของอเมริกาหลายแห่ง มุมมองที่ไม่ขึ้นกับประวัติศาสตร์
(non-historic perspective) จะมีอิทธิพลมากกว่า ยกตัวอย่างเช่น ในห้องเรียน
ภาษาศาสตร์เบื้องต้นหลายแห่งจะครอบคลุมภาษาศาสตร์เชิงประวัติเฉพาะช่วง
เวลาปั จจุบันเท่านั้น การหันเหความสนใจไปยังมุมมองที่ไม่ขึ้นกับประวัติศาสตร์
เริ่มต้นจาก แฟร์ดินองด์ เดอ โซซ้ร์ (Ferdinand de Saussure) และเริ่มมี
อิทธิพลมากกว่าโดย โนม ช็อมสกี

มุมมองที่ขึ้นกับประวัติศาสตร์อย่างเด่นชัด ได้แก่ ภาษาศาสตร์เปรียบ


เทียบเชิงประวัติ และ ศัพทม้ลวิทยา - ศาสตร์ท่ีว่าด้วยการกำาเนิ ดและการ
พัฒนาของคำา)

[แก้] ภาษาศาสตร์เชิงประยุกต์ (Applied


linguistics)
ในขณะที่ภาษาศาสตร์เชิงทฤษฎีเกี่ยวข้องกับการหาอรรถาธิบาย
คุณสมบัตส ิ ากล ทั้งภายในเฉพาะภาษาหนึ่ งๆ หรือทุกภาษา ภาษาศาสตร์เชิง
ประยุกต์จะนำาอรรถาธิบายเหล่านั้นมาประยุกต์ใช้กับศาสตร์ด้านอื่นๆ บ่อยครั้งที
เดียวที่ภาษาศาสตร์เชิงประยุกต์จะอ้างถึงงานวิจัยทางภาษาศาสตร์ในการสอน
ภาษา แต่ถึงกระนั้น ผลจากงานวิจย ั ด้านภาษาศาสตร์ก็ยังใช้ในศาสตร์ด้านอื่นๆ
อีกเช่นเดียวกัน

ทุกวันนี้ แขนงวิชาต่างๆ ของภาษาศาสตร์เชิงประยุกต์จะเกี่ยวข้องกับการ


ประยุกต์ใช้กับคอมพิวเตอร์อย่างชัดเจน ในการสังเคราะห์เสียง (en:Speech
synthesis) และการร้้จำาเสียง (en:Speech recognition) มีการนำาเอาความร้้
ด้านสัทศาสตร์และพยางค์ (phonetic and en:phonemic knowledge) มาใช้
เพื่อสร้างส่วนติดต่อคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง การประยุกต์ใช้งานภาษาศาสตร์เชิง
คำานวณในการแปลภาษาด้วยเครื่อง (en:Machine translation) การ
แปลภาษาแบบเครื่องช่วย (en:Computer-assisted translation) และ
การประมวลผลภาษาธรรมชาตินั้น จัดเป็ นแขนงวิชาที่เป็ นประโยชน์อย่าง
มากของภาษาศาสตร์เชิงประยุกต์ ซึ่งเริ่มเข้ามามีบทบาทในไม่ก่ีปีที่ผ่านมา ตาม
สมรรถนะการคำานวณของคอมพิวเตอร์ท่ีเพิ่มส้งขึ้น อิทธิพลของภาษาศาสตร์เชิง
คำานวณได้ก่อให้เกิดผลกระทบอย่างมากต่อทฤษฎีของวากยสัมพันธ์และอรรถ
ศาสตร์ เนื่ องด้วยการออกแบบทฤษฎีทางวากยสัมพันธ์และอรรถศาสตร์บน
คอมพิวเตอร์ จะจำากัดประสิทธิภาพของทฤษฎีเหล่านั้นด้วยโอเปอเรชั่นที่คำานวณ
ได้ (computable) และทำาให้เกิดทฤษฎีพ้ ืนฐานทางคณิตศาสตร์ท่ีแม่นยำา (ข้อม้ล
เพิ่มเติมในหัวข้อ ทฤษฎีการคำานวณได้)

[แก้] ภาษาศาสตร์แบบพึง่ พาบริบท


(Contextual linguistics)
4

ภาษาศาสตร์แบบพึ่งพาบริบทเป็ นวงการซึ่งหลักภาษาศาสตร์เชื่อมโยงกับ
ศาสตร์วิชาการด้านอื่นๆ ในขณะที่ภาษาศาสตร์เชิงทฤษฎีจะศึกษาภาษาโดยไม่
คำานึ งถึงปั จจัยอย่างอื่นภายนอกนั้น แขนงวิชาที่มีการผสมหลายหลักการของ
ภาษาศาสตร์จะวิเคราะห์ภาษาว่ามีปฏิสัมพันธ์กับปั จจัยภายนอกอย่างไรบ้าง

ในภาษาศาสตร์สังคม (en:Sociolinguistics) ภาษาศาสตร์เชิง


มานุษยวิทยา (en:Anthropological Linguistics) และมานุษยวิทยาเชิง
ภาษาศาสตร์ (en:Linguistics Anthropology) จะมีการวิเคราะห์สังคมโดยใช้
หลักสังคมศาสตร์ควบค่้ไปกับหลักทางภาษาศาสตร์

ในปริจเฉทวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ (en:Critical Discourse Analysis)


จะมีการนำาศิลปะการใช้ถ้อยคำา (en:Rhetoric) และปรัชญา มาประยุกต์รวม
กับหลักภาษาศาสตร์

ในภาษาศาสตร์จิตวิทยา (en:Psycholinguistics) และภาษาศาสตร์


เชิงประสาทวิทยา (en:Neurolinguistics) จะมีการนำาหลักทาง
แพทยศาสตร์มาประยุกต์ใช้ร่วมกับหลักทางภาษาศาสตร์

นอกจากนี้ ยงั มีแขนงวิชาอื่นๆ ที่มีการผสมหลักการทางภาษาศาสตร์เข้าไป


เช่น การร้้ภาษา (en:Language Acquisition), ภาษาศาสตร์เชิง
วิวัฒนาการ (en:Evolutionary linguistics), ภาษาศาสตร์แบบแบ่งเป็ น
ชั้น (en:Stratificational Linguistics) และ ศาสตร์การรับร้้ของมนุษย์
(en:Cognitive science)

[แก้] ผ้้พ้ด, ชุมชนทางภาษา, และเอกภพทาง


ภาษาศาสตร์
นักภาษาศาสตร์น้ันจะแตกต่างกันออกไป ตามกลุ่มของผ้้ใช้ภาษาที่นัก
ภาษาศาสตร์เหล่านั้นศึกษา บางกลุ่มจะวิเคราะห์ภาษาเฉพาะบุคคล หรือ การ
พัฒนาภาษา ถ้าจะมองให้ละเอียดลงไป บางพวกก็ศึกษาภาษาที่ยังคงใช้กันอย่้
ในชุมชนภาษา ขนาดใหญ่ เช่น ภาษาถิ่น ของกลุ่มคนที่พ้ดภาษาอังกฤษแอ
ฟริกันอเมริกัน หรือที่เรียกว่า อีโบนิ กส์ บางพวกก็พยายามจะค้นหาเอกภพ
ทางภาษาศาสตร์ ซึ่งจะนำามาประยุกต์ใช้เพื่ออธิบายปรากฏการณ์ทางภาษากับ
ทุก ๆ ภาษามนุษย์ โครงการหลังสุดนี้ ได้รับการสนับสนุนอย่างโด่งดังโดยโนม ช็
อมสกี และทำาให้นักวิจัยด้านภาษาศาสตร์จิตวิทยา และศาสตร์การรับร้้ของ
มนุษย์ หันมาสนใจศาสตร์ด้านนี้ มากขึ้น ได้มีการคิดกันว่า เอกภพของภาษา
มนุษย์น้ันอาจจะนำาไปส่ก้ ารไขปริศนาของเอกภพเกี่ยวกับจิตใจมนุษย์ได้

[แก้] ภาษาศาสตร์แบบกำาหนดและ
ภาษาศาสตร์แบบบรรยาย (Prescription and
description)
5

ดูบทความหลักที่ ภาษาศาสตร์แบบกำาหนดและภาษาศาสตร์แบบ
บรรยาย

งานวิจัยทางภาษาศาสตร์สว ่ นใหญ่มักจะเป็ นแบบบรรยายบริสุทธิ ์ (purely


descriptive) นั่นคือ นักภาษาศาสตร์จะหาหนทางเพื่อสร้างความกระจ่างใน
ธรรมชาติของภาษา โดยไม่มีการกำาหนดวิธีการล่วงหน้าหรือพยายามที่จะหา
ทิศทางของภาษาในอนาคต อย่างไรก็ตามมีท้ังนักภาษาศาสตร์มืออาชีพและมือ
สมัครเล่นที่กำาหนดกฏเกณฑ์ล่วงหน้า (prescribe) ให้กับกฏของภาษา โดยจะมี
มาตรฐานเฉพาะเพื่อให้ผ้อ่ ืนได้ปฏิบัติตาม

นักกำาหนดกฏเกณฑ์ (Prescriptivist) มักจะพบได้ในผ้้สอนภาษาในระดับ


ต่างๆ ผ้้เชี่ยวชาญเหล่านี้ จะมีกฏเกณฑ์ชัดเจนที่ตัดสินว่า อะไรถ้ก อะไรผิด และ
อาจทำาหน้าที่รับผิดชอบการใช้ภาษาอย่างถ้กต้องของคนในรุ่นถัดไป ส่วนมาก
ภาษาที่ควบคุมมักจะเป็ นภาษาที่ใกล้เคียงภาษามาตรฐาน (en:acrolect)
ของภาษาหนึ่ งๆ เหตุท่ีนักกำาหนดกฏเกณฑ์เหล่านี้ ไม่สามารถทนเห็นการใช้ภาษา
ผิดๆ นั้น อาจจะเกิดจากความไม่ชอบในคำาที่เกิดขึ้นใหม่ (en:neologism)
ภาษาถิ่นที่สังคมไม่ยอมรับ (en:basilect) หรือความขัดแย้งเพียงเล็กน้อยกับ
ทฤษฎีท่ีเข้มงวด นักกำาหนดกฏเกณฑ์สุดโต่งอาจจะพบเห็นได้ในกลุ่มนักเซ็นเซอร์
ซึ่งเป้ าหมายของคนกลุ่มนี้ คือกำาจัดคำาและโครงสร้างไวยากรณ์ท่ีคิดว่าจะบ่อน
ทำาลายสังคม

ในทางกลับกัน นักอธิบายกฏเกณฑ์ (Descriptivist) จะพยายามหาราก


เหง้าของการใช้ภาษาไม่ถูกต้อง นักอธิบายกฏเกณฑ์จะอธิบายการใช้ภาษาแบบ
ดังกล่าวให้เป็ นการใช้ภาษาเฉพาะแบบ (idiosyncratic usage) หรืออาจจะ
ค้นพบกฏซึ่งอาจจะขัดกับนักกำาหนดกฏเกณฑ์ ภาษาศาสตร์แบบบรรยาย
(en:descriptive linguistics) ตามบริบทของงานภาคสนาม (en:fieldwork)
จะหมายถึงการศึกษาภาษาโดยแนวทางของนักอธิบายกฏเกณฑ์ (มากกว่าที่จะ
เป็ นแนวทางของนักกำาหนดกฏเกณฑ์) วิธก ี ารของนักอธิบายกฏเกณฑ์จะใกล้เคียง
กับวิธก
ี ารทางวิทยาศาสตร์ในสายวิชาการอื่นๆ มากกว่าวิธีการของกำาหนดกฎ
เกณฑ์

[แก้] ภาษาพ้ดและภาษาเขียน
นักภาษาศาสตร์ร่วมสมัยส่วนใหญ่มักจะทำาวิจยั ภายใต้สมมติฐานที่ว่า
ภาษาพ้ด นั้นเป็ นหลักพื้นฐาน และมีความสำาคัญต่อการศึกษามากกว่าภาษา
เขียน เหตุผลที่สนับสนุนข้อสมมติฐานดังกล่าว ได้แก่

• ภาษาพ้ดเป็ นสิ่งสากลสำาหรับมนุษย์ (human-universal) ในขณะที่หลาย


วัฒนธรรมและหลายชุมชนภาษาพ้ดไม่มีภาษาเขียน
• มนุษย์สามารถเรียนร้้การพ้ดและการประมวลผลภาษาพ้ดได้ง่ายกว่า
และง่ายกว่าการเขียนมากๆ
• นักวิทยาศาสตร์การรับร้้ของมนุษย์ จำานวนหนึ่ งอ้างว่า สมองมี
โมดูลภาษา โมด้ลภาษาในที่น้ี เป็ นสัญชาตญาณซึ่ง ความร้้ท่ีภายหลัง
สามารถเพิ่มเติมได้โดยการเรียนร้้ภาษาพ้ดมากกว่าเรียนร้้จากภาษาเขียน
โดยเฉพาะอย่างยิง ่ เนื่ องมาจากภาษาพ้ดนั้นเป็ นปรับใช้ตามวิวัฒนาการ
ในขณะที่ภาษาเขียนนั้น เมื่อเทียบแล้วเป็ นการประดิษฐ์ท่ีตามมาทีหลัง
6

แน่นอน นักภาษาศาสตร์ยังคงเห็นพ้องกันว่า การศึกษาภาษาเขียนก็มี


คุณค่าเช่นเดียวกัน สำาหรับงานวิจัยด้านภาษาศาสตร์ท่ีใช้วิธีการภาษาศาสตร์
คลังข้อม้ล และภาษาศาสตร์เชิงคำานวณแล้ว ภาษาเขียนย่อมสะดวกต่อการ
ประมวลผลข้อม้ลทางภาษาศาสตร์ขนาดใหญ่มากกว่า คลังข้อม้ล ขนาดใหญ่
สำาหรับภาษาพ้ดนั้น สร้างและแสวงหาได้ยาก อย่างไรก็ตามคลังเอกสารสำาหรับ
ภาษาพ้ดก็ยง ั คงใช้กันโดยทั่วไปในร้ปแบบของการถอดความ

นอกจากนี้ การศึกษาระบบการเขียน ก็ยังเป็ นแขนงหนึ่ งของ


ภาษาศาสตร์อีกด้วย

[แก้] สาขาวิจัยด้านภาษาศาสตร์
• ศัพทม้ลวิทยา
• ภาษาศาสตร์เปรียบเทียบเชิงประวัติ
• พจนานุกรมวิทยา
• ศัพทศาสตร์
• สัทศาสตร์
• สัทวิทยา
• วัจนปฏิบตั ิศาสตร์
• อรรถศาสตร์
• วากยสัมพันธ์
• ภาษาศาสตร์เชิงทฤษฎี
• ภาษาศาสตร์เชิงคำานวณ
• ภาษาศาสตร์คลังข้อม้ล
• ภาษาศาสตร์เชิงอธิบาย
• แบบลักษณ์ภาษา
• สัญศาสตร์

[แก้] การวิจัยทางภาษาศาสตร์ทีเ่ กีย


่ วข้องกับ
ศาสตร์แขนงอื่นๆ
• ภาษาศาสตร์เชิงมานุษยวิทยา
• ภาษาศาสตร์ประยุกต์
• ศาสตร์การรับร้้ของมนุษย์
• ภาษาศาสตร์เปรียบเทียบ
• ภาษาศาสตร์เชิงคำานวณ
o การประมวลผลภาษาธรรมชาติ
o การร้้จำาผ้้พ้ดจากเสียง (เพื่อการรับรองสิทธิของผ้้ใช้)
o การประมวลผลเสียง
o การร้้จำาเสียง
o การสังเคราะห์เสียง
• ปริจเฉทวิเคราะห์เชิงวิพากษ์
• ศาสตร์การเข้ารหัส
7

• ศาสตร์การถอดรหัส
• ภาษาศาสตร์เชิงวิวัฒนาการ
• ศาสตร์ด้านกล่องเสียง
• ภาษาศาสตร์เชิงประวัติ
• การร้้ภาษา
• ภาษาศาสตร์เชิงประสาทวิทยา
• อักขรวิทยา
• ภาษาศาสตร์จิตวิทยา
• การร้้ภาษาที่สอง
• ภาษาศาสตร์สังคม
• ภาษาศาสตร์แบบแบ่งเป็ นชั้น
• ภาษาศาสตร์เชิงเนื้ อความ
• ระบบการเขียน

[แก้] นักภาษาศาสตร์และกลุ่มแนวคิดทีส
่ ำาคัญ
นักภาษาศาสตร์ในยุคเริ่มต้น ได้แก่

• จาค็อบ กริมม์ (en:Jakob Grimm) ผ้้ซึ่งเสนอหลักของการเลื่อนเสียง


พยัญชนะ (en:Consonantal shift) ในการสะกด ซึ่งเป็ นที่ร้จักกันใน
นาม กฏของกริมม์ (en:Grimm's Law) ในปี พ.ศ. 2365 (ค.ศ. 1822)
• คาร์ล เวอร์เนอร์ (en:Karl Verner) ผ้้ซึ่งค้นพบกฏของเวอร์เนอร์
(en:Verner's Law)
• เอากุสต์ ชไลเคอร์ (en:August Schleicher) ผ้้ซึ่งสร้าง ทฤษฎีชทัม
บาว์ม (en:Stammbaumtheorie /ชทัม-บาว์ม-เท-โอ-รี/)
• โยฮันเนส ชมิดท์ (en:Johannes Schmidt) ผ้้ซึ่งพัฒนาแบบจำาลอง
คลื่น (en:Wellentheorie /เฟฺวล-เลน-เท-โอ-รี/) ในปี พ.ศ. 2415

แฟร์ดินองด์ เดอ โซซ้ร์ (en:Ferdinand de Saussure) เป็ นผ้้ก่อตั้ง


ภาษาศาสตร์เชิงโครงสร้างสมัยใหม่ แบบจำาลองฟอร์มอลของภาษาของโนม ช็
อมสกี (Noam Chomsky) ซึ่งก็คือ ไวยากรณ์แปลงร้ปเชิงขยาย ได้รับการ
พัฒนาภายใต้อิทธิพลของอาจารย์ของท่าน เซลลิก แฮร์ริส (en:Zellig Harris)
ผ้้ซึ่งได้รับอิทธิพลอย่างรุนแรงมาจาก เล็นเนิ ร์ด บล้มฟิ ลด์ (en:Leonard
Bloomfield) ไวยากรณ์แปลงร้ปเชิงขยายนี้ ได้เข้ามามีบทบาทต่อวงการ
ภาษาศาสตร์ต้ังแต่ทศวรรษที่ 1960

นักภาษาศาสตร์และกลุ่มแนวคิดที่สำาคัญอีกกลุ่มหนึ่ ง ได้แก่

• ไมเคิล ฮอลลิเดย์ (en:Michael Halliday) ผ้้พัฒนาไวยากรณ์


ฟั งก์ชันที่เป็ นระบบ (en:Systemic Functional Grammar) ซึ่งพัฒนา
ไล่ตามกันอย่างกระชั้นชิดในสหราชอาณาจักร, แคนาดา,
ออสเตรเลีย, จีน และญี่ปุ่น
8

• เดลล์ ไฮมส์ (en:Dell Hymes) ผ้้พัฒนาแนวทางวจันปฏิบัติศาสตร์ ซึ่ง


เรียกว่าชาติพันธ์ุวิทยาของภาษาพูด (en:The Ethnography of
Speaking)
• จอร์จ แล็คคอฟฟ์ (en:George Lakoff) เล็นนาร์ด ทาล์มี
(en:Leonard Talmy) และโรนัลด์ แล็งแก็กเกอร์ (en:Ronald
Langacker) ผ้้บุกเบิกภาษาศาสตร์ปริชาน (en:Cognitive
linguistics)
• ชาร์ลส์ ฟิ ลล์มอร์ (en:Charles Fillmore) และอะดีล โกลด์เบิร์ก
(en:Adele Goldberg) ผ้้ร่วมกันพัฒนาไวยากรณ์แบบก่อร่าง
(en:Construction grammar)
• ทาล์มี กิฟว็อน (en:Talmy Givon) และโรเบิรต ์ แวน วาลิน จ้เนี ยร์
(en:Robert Van Valin, Jr.) ผ้้พัฒนาไวยากรณ์เชิงหน้าที่
(en:Functional grammar หรือ en:Functionalism)

[แก้] ร้ปแทนเสียงภาษาพ้ด
• สัทอักษรสากล (IPA) เป็ นระบบร้ปแทนเสียงที่ใช้เขียน และสามารถนำา
มาสังเคราะห์เสียงของภาษามนุษย์
• SAMPA เป็ นวิธีการถอดสัทอักษรสากล โดยใช้รหัสแอสกี (ASCII) เท่านั้น
ผ้้เขียนหนังสือบางรายจะใช้ระบบนี้ แทนสัทอักษรเพื่อสะดวกในการพิมพ์
สามารถหาข้อม้ลเพิ่มเติมได้ท่ี โฮมเพจของ SAMPA

[แก้] มุมมองแคบของภาษาศาสตร์
คำาว่า ภาษาศาสตร์ และ นักภาษาศาสตร์ อาจจะไม่สามารถนำามาประยุกต์
ใช้ได้กว้างขวางอย่างที่ได้กล่าวไว้ข้างบนก็ได้ ในบางกรณี คำานิ ยามที่ดีท่ีสุด
สำาหรับคำาว่า ภาษาศาสตร์ คงจะเป็ น วิชาที่สอนกันในภาควิชาภาษาศาสตร์ของ
มหาวิทยาลัย และ นักภาษาศาสตร์ ก็คงจะเป็ น ผู้ท่ีเป็ นศาสตราจารย์ในภาค
วิชาภาษาศาสตร์ ภาษาศาสตร์ในมุมมองแคบมักจะไม่ได้กล่าวถึงการเรียนเพื่อพ้ด
ภาษาต่างประเทศ (ยกเว้นว่าจะช่วยให้เห็นโมเดลฟอร์มอลของภาษาได้ดีขึ้น) และ
ก็ไม่ได้รวมเอาการวิเคราะห์วรรณกรรม (Literary analysis) ไว้เลย มีเพียง
บางครั้งเท่านั้นที่อาจจะมีการศึกษาเนื้ อหาบางอย่างตามความจำาเป็ น เช่น อุป
ลักษณ์ (metaphor]]) บางครั้งนิยามเหล่านี้ ก็ไม่สามารถนำามาใช้กับงานวิจัยใน
แนวกำาหนดกฏเกณฑ์ได้ ดังเช่นที่พบในงาน มูลฐานแห่งวัจนลีลา (The
Element of Style) ของ สทรังค์ (William Strunk, Jr.) และ ไวท์ (E. B.
White) นักภาษาศาสตร์มักจะเป็ นผ้้คน ้ หาว่าผ้้ใช้ภาษาใช้ภาษาอย่างไร มากกว่า
ที่จะไปกำาหนดว่าผ้้ใช้ภาษาควรใช้ภาษาอย่างไร การตัดสินว่าใครเป็ นหรือไม่เป็ น
นักภาษาศาสตร์นั้น เป็ นไปได้ว่าต้องใช้เวลานานในการตัดสิน
9

แบบเสนอหัวข้อบทความ วิชา ศศภท 406 สัมมนาภาษาไทย

ข้อมูลผู้เขียนบทความ
ชื่อ-สกุล. นส. สุดารัตน์ โยธาบริบาล รหัสประจำาตัว 4770286
ARTH/B
กลุุม ภาษาศาสตร์ อาจารย์ประจำากลุุม อาจารย์ชนกพร พัวพัฒนกุล
โทร 089-440-8895 อีเมล dao_angy@hotmail.com

ข้อมูลบทความ
1. ชื่อบทความ
การศึกษาปริเฉทของฉลากสินค้าประเภทแชมพูสระผม
2.ความเป็ นมาและความสำาคัญของปั ญหา
เนื่ องจากฉลากบนผลิตภัณฑ์สินค้าเป็ นชุองทางหนึ่ งที่มีความสำาคัญ
และมีผลตุอการตัดสินใจของผู้ซ้ือในการเลือกซื้อสินค้าในชีวิตประจำา
วัน โดยมีภาษา (ข้อความ)ที่ปรากฏอยุบ ู นตัวฉลากสินค้าด้านหลัง
ผลิตภัณฑ์ ได้มีการเขียนเรียบเรียงข้อความบรรยายข้อมูลตุางๆที่
เกี่ยวข้องกับสินค้าชนิ ดนั ้นๆ โดยเฉพาะการเรียบเรียงข้อความ และ
เลือกใช้คำาเพื่อสื่อความหมายของข้อความในแตุละสุวนนั ้นเพื่อการ
สร้างภาพลักษณ์สินค้าให้กับตัวผลิตภัณฑ์ซ่ ึงมีผลตุอการโน้ มน้ าวใจผู้
ซื้อให้ตัดสินใจซื้อสินค้าได้งุายขึ้นอีกด้วย ซึ่งจะพบปรากฏอยุูในสุวน
ของการบรรยายสรรพคุณสินค้าบนฉลาก
ภาษาเป็ นปั จจัยสำาคัญมากในการสื่อสาร เพราะภาษาโฆษณาเป็ นสื่อ
กลางนำ าสารหรือบทโฆษณาจากผู้สุงสารไปยังผู้รับสาร ภาษาที่ใช้ใน
การโฆษณาจึงมุุงโน้ มน้ าวใจให้ผู้รับสารเห็นความสำาคัญ ความเป็ น
ข้อดี และประโยชน์ของสินค้าและบริการในโฆษณา ( วีรพร คงสุวรรณ
,2545 : 1) ทัง้ นี้จึงหมายความรวมถึง ฉลากสินค้า ซึ่งเป็ นชุองทางหนึ่ ง
ที่มีจุดมุุงหมายอยุางเดียวกับการโฆษณาสินค้าหรือสร้างภาพลักษณ์
สินค้า
แชมพูสระผมนั บวุาเป็ นสินค้าประเภทหนึ่ งที่จากผลการสำารวจของการ
จัดการสุงเสริมการตลาดพบวุาแชมพูสระผมเป็ นสินค้าที่มียอด
จำาหนุ ายที่ใช้งบประมาณโฆษณาสูงสุดเป็ นอันดับ 3 ในปี 2542 จาก
สินค้าประเภทอื่นๆ (นพรัตน์ ภูมิวุฒิสาร ,2542:35) อีกทัง้ สินค้า
ประเภทแชมพูสระผมที่เลือกนำ ามาศึกษานี้ จากผลการสำารวจของ
นิ ตยสาร Brand Age ฉบับปี ท่ี 1 มกราคม 2550 เป็ นผลการสำารวจ
10

ประชากรผู้ท่ีเคยใช้หรือมีสุวนรุวมในการตัดสินใจเลือกซื้อทัง้ สิน ้
1259 คน พบวุาแชมพูสระผม 10 ยี่ห้อที่ได้รบ ั ความเชื่อถือจากผู้ใช้มาก
ที่สุด นอกจากนี้ผลการสำารวจยังระบุไว้วุาแชมพูสระผมยังเป็ นสินค้าที่
มีการบรรยายสรรพคุณไว้อยุางนุ าสนใจมีอิทธิพลตุอการสร้างความนุ า
เชื่อถือและดึงดูดใจผู้บริโภคสินค้าในการตัดสินใจเลือกซื้อแชมพูสระ
ผมอีกด้วย
ด้วยเหตุนี้ผู้ศึกษาจึงเลือกศึกษาปริเฉทของฉลากสินค้าประเภทแชมพู
สระผม 10 ยี่ห้อ ที่ได้จากผลการสำารวจ โดยพิจารณาข้อความในสุวนที่
ที่เป็ นการบรรยายสรรพคุณสินค้า การศึกษาปริเฉทนี้ คือการศึกษา
กระบวนการใช้ภาษาในภาษาเขียน (การศึกษาโครงสร้างหรือองค์
ประกอบในงานเขียน) (ดร.พิณทิพย์ ทวยเจริญ, 2547 : 376) ซึ่งจาก
ปริเฉทในแตุละสุวนสามารถนำ ามาจัดกลุุมการเลือกใช้ภาษาเพื่อสื่อ
ความหมายในแตุละสุวนได้ นำ าไปสุูการวิเคราะห์การใช้ภาษาและ เพื่อ
ให้เห็นวุาถ้อยคำาตุางๆที่ปรากฏอยุูในแตุละสุวนของการบรรยาย
สรรพคุณนั ้น สามารถสร้างภาพลักษณ์ของสินค้าสุงผลตุอการตัดสิน
ใจของผู้ซ้ือสินค้าได้อยุางไร
ในการศึกษาในครัง้ นี้มีประโยชน์อยุางมากตุอผู้ศึกษาในการหา
เอกลักษณ์รป ู แบบการใช้ภาษาในการสื่อสารของสินค้าผุานฉลาก
สินค้าด้านหลังบรรจุภัณฑ์ประเภทแชมพูสระผม วุาในแตุละยี่ห้อของ
สินค้าชนิ ดเดียวกันมีลักษณะรุวมกันอยุางไร ทำาให้ทราบถึงการเรียบ
เรียงข้อความในแตุละสุวน การเลือกใช้ถ้อยคำาในแตุละสุวนเพื่อ
สื่อสารข้อมูลไปสุูผบู้ ริโภค ซึ่งเป็ นกลวิธีอยุางหนึ่ งในการโน้ มน้ าวใจ
หรือสร้างภาพลักษณ์ความนุ าเชื่อถือให้กับสินค้า อีกทัง้ บทความนี้ยัง
มีประโยชน์อยุางยิ่งตุอผู้บริโภคในการเข้าใจและพิจารณาการเลือกซื้อ
สินค้าประเภทแชมพูสระผมอยุางมีวิจารณญาณ และสามารถเลือกซื้อ
สินค้าที่ตรงกับความต้องการของผู้บริโภคได้อยุางเหมาะสม

3.วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาฉลากสินค้าประเภทแชมพูสระผม 10 ยี่ห้อ (จากการจัด
อันดับของนิ ตยสาร Brand Age ฉบับปี ท่ี 1 มกราคม 2550)
2.เพื่อศึกษาปริเฉทที่ปรากฏใช้บนฉลากแชมพูสระผมในสุวนที่เขียน
บรรยายสรรพคุณสินค้า
3.เพื่อศึกษาภาษาที่ใช้ในปริเฉทแตุละสุวนบนการบรรยายสรรพคุณ
บนฉลากสินค้า
4.เพื่อหาลักษณะรุวมของการใช้ภาษาซึ่งเป็ นเอกลักษณ์ของแชมพู
สระผม
11

4.สมมติฐาน
1.การเรียบเรียงข้อความบรรยายสรรพคุณสินค้าของฉลากแชมพูสระ
ผมนั ้น แบุงออกเป็ น 3 สุวนเสมอ
1 ความนำ า มักขึ้นต้นด้วยการบอกถึงปั ญหา 2.เนื้ อหา ตามด้วยการ
แก้ไขปั ญหา 3. สรุป เป็ นการบรรยายสรรพคุณที่ดีของสินค้า
2.ฉลากแชมพูสินค้า 10 ยี่ห้อนี้จะมีการเรียบเรียงข้อความบรรยาย
สรรพคุณสินค้าแบบเดียวกัน
3.การใช้ภาษาในแตุละสุวนของข้อความนั ้นมีการใช้คำาสื่อความหมาย
ไปในแนวทางเดียวกัน (เชุน การบอกวัตถุดิบ ก็จะพูดถึงสุวนประกอบ
ของแชมพู เชุน คาลาเมเลีย ฮอต ออยล์ ดอกอัญชัน ไขุแดง )

5.ข้อมูล (ระบุ) และขอบเขตการศึกษา


-ศึกษาเฉพาะฉลากสินค้าที่อยุูด้านหลังแชมพูสระผม 10 ยี่ห้อ (ทุก
สูตร) จากผลการสำารวจแชมพูท่ีนุาเชื่อถือมากที่สุด ที่ถูกนำ ามาจัด
อันดับจากนิ ตยสาร Brand Age ฉบับปี ท่ี 1 มกราคม 2550 จากผลการ
สำารวจประชากรผู้ท่ีเคยใช้หรือมีสุวนรุวมในการตัดสินใจเลือกซื้อทัง้
สิน
้ 1259 คน
-ศึกษาปริเฉทเฉพาะเนื้ อหาที่เป็ นรายละเอียดของสินค้าบรรยาย
สรรพคุณ
-ศึกษาเฉพาะรายละเอียดสินค้าที่เป็ นภาษาไทย
-ข้อมูลแชมพูสระผม 10 ยี่ห้อนี้ ศึกษาทุกรุุนในแตุละยี่ห้อ ที่มีวาง
จำาหนุ ายอยุูในท้องตลาดปั จจุบัน

6.แนวคิดหรือทฤษฎีท่ีใช้ / วิธีการศึกษา
-เอกสารตำาราที่เกี่ยวข้อง
-รายการการวิจัย วิทยานิ พนธ์
-ฉลากสินค้าของแชมพูทุกสูตร ใน 10 ยี่ห้อ ที่มีวางจำาหนุ ายในท้อง
ตลาด
-ทฤษฎีปริเฉท (ดร.พิณทิพย์ ทวยเจริญ, 2547 : 378)

7. นิ ยามศัพท์
-ฉลากสินค้า หมายถึง รูปรอยประดิษฐ์ เครื่องหมายหรือข้อความใดๆ
ที่แสดงไว้ท่ีภาชนะหรือหีบหุอ หรือบบรจุภัณฑ์ ,ข้อความแสดง
สรรพคุณของสินค้า
-สรรพคุณสินค้า หมายถึง คุณสมบัติ ของสินค้านั ้นๆ
-ปริเฉท หรือสัมพันธสาร (discourse) หมายถึง ข้อความทางภาษาที่
12

มนุษย์ใช้ในการมีปฏิสัมพันธ์ซ่ ึงกันและกัน อาจแสดงในลักษณะสัม


พันธสารจากการพูด และสัมพันธสารจากการเขียนก็ได้ (ดร.พิณทิพย์
ทวยเจริญ, 2547 : 378)
-แชมพูสระผม หมายถึง ผลิตภัณฑ์ท่ีสามารถชำาระล้างคราบไข ฝุ ุน
ละออง และสิ่งสกปรกออกจากเส้นผมและหนั งศีรษะได้ โดยไมุเป็ น
อันตรายตุอผู้ใช้ (ความหมายในทางเครื่องสำาอาง)

8.โครงเรื่องบทความ
1.บทนำ า
2.ทบทวนวรรณกรรม
2.1 ความเป็ นมาของฉลากสินค้า
2.1.1 องค์ประกอบของฉลากสินค้า
2.1.2 การบรรยายสรรพคุณสินค้า
2.2 แชมพูสระผม
2.2.1 ความเป็ นมาและความสำาคัญ
2.2.2 ผลการสำารวจจากนิ ตยสาร Brand Age ฉบับปี ท่ี 1 มกราคม
2550
2.2.3 ผลการสำารวจผลิตภัณฑ์ท่ีใช้งบประมาณโฆษณาสูงสุดในปี
2542
1.3 ทฤษฎีการศึกษาปริเฉท
3.วิเคราะห์ปริเฉทของคำาบรรยายสรรพคุณสินค้าบนฉลาก
3.1 การขึ้นต้น
3.1.1 การใช้ภาษา
3.1.1.1 บอกปั ญหากุอนใช้แชมพูสระผม
1) ผมไมุดี
3.1.1.2 บอกประโยชน์ท่ีผู้ใช้จะได้รบ

1)ผมดี
3.2 เนื้ อหา
3.2.1 การใช้ภาษา
3.2.1.1 บรรยายสรรพคุณแชมพูสระผม
3.2.1.2 บอกวัตถุดิบ (สุวนผสม)
3.2.1.3 วิธีการทำางานของแชมพูสระผม
3.2.1.4 การแก้ปัญหาสภาพผม
3.3 การสรุป
3.3.1 การใช้ภาษา
3.3.1.1 ผลลัพธ์ท่ีได้
3.3.1.2 ตอกยำา้ สรรพคุณสินค้า
13

4.สรุปผลการศึกษา
9.รายการอ้างอิง
หนั งสือภาษาไทย
นพรัตน์ ภูมิวุฒิสาร .(2542).การจัดการการสุงเสริมการ
ตลาด.กรุงเทพมหานคร : สำานั กพิมพ์แหุงมหาจุฬาลงกรณ์
ดร.พิณทิพย์ ทวยเจริญ.(2547).ภาพรวมการศึกษาสัทศาสตร์และ
ภาษาศาสตร์.กรุงเทพมหานคร : สำานั กพิมพ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รองศาสตรจารย์พิมพร ลีลาพรพิสิฐ .(2536).เครื่องสำาอางค์เพื่อความ
สะอาด.กรุงเทพมหานคร : สำานั กพิมพ์
โอเดียนสโตร์
สุวิทย์ อินทิพย์ .(2550) .ออกแบบบรรจุภัณฑ์
หัตถกรรม.กรุงเทพมหานคร : สำานั กพิมพ์แหุงมหาจุฬาลงกรณ์
พิชัย ศิริจันทนั นท์ .(2550). Brand Age,ปี ท่ี8.( ฉบับที่ 1 มกราคม
2550) ,115

บทความภาษาไทย
ชวนะ ภวกานั นท์.(2528).แนวความคิดรวมของภาษาโฆษณาจาก
ภาษาโฆษณา. วรสารภาษาและภาษาสาสตร์. (มกราคม-
มิถุนายน),23-42.

วิทยานิ พนธ์ภาษาไทย
วีรพร คงสุวรรณ .(2545.) การศึกษาเปรียบเทียบบทโฆษณาใน
นิ ตยสารมุุงกลุุมเป้ าหมายเพศชายและเพศหญิง.
ปริญญาศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์ บัณฑิต
วิทยาลัยธรรมศาสตร์

You might also like