You are on page 1of 5

การศึกษาคำปรากฏร่วม (Collocation)ของคำว่า Get และ Take ที่มี

ความถี่สูงในหนังสือนิยายเรื่อง นาร์เนีย โดยใช้คลังข้อมูล

บทที่ 1
บทนำ
1.1 ความเป็ นมาและความสำคัญของปั ญหา
ภาษาอังกฤษได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตของคนไทยและคนทั่วโลก ใน
ทุกวันนีส
้ ่อ
ื สารกันด้วยภาษาอังกฤษไม่ว่าจะเป็ นการติดต่อสื่อสารกัน
โดยตรง การใช้อินเทอร์เน็ต การดูโทรทัศน์การดูภาพยนตร์ การเขียน
โปรแกรมคอมพิวเตอร์หนังสือคู่มือทางด้านวิชาการต่างๆ ฯลฯ จึงมีความ
จำเป็ นอย่างมากที่จะนำไปใช้ สื่อสารในชีวิตประจำวัน การฟั ง การอ่าน
การพูด และการเขียนภาษาอังกฤษ ทัง้ 4 ทักษะนี ้ ยังถือเป็ นทักษะทาง
ภาษาที่มีความสำคัญและมีความหมายในการเรียนทุก ๆระดับอีกด้วย (รัช
ดาวัลย์ ศรีวรกุล, 2558) สาเหตุสำคัญที่ทำให้คนไทยเขียนและพูดภาษา
อังกฤษไม่ได้มาตรฐาน เพราะเราถูกสอนเพียง 2 ส่วนคือ คำศัพย์และ
ไวยากรณ์ แต่ในความเป็ นจริง คำศัพย์ในภาษาอังกฤษส่วนใหญ่จะถูกใช้เป้
นกลุ่มคำองค์ประกอบที่สำคัญในการแต่งประโยคภาษาอังกฤษให้ได้
มาตรฐาน มี 3 ส่วน คือ คำศัพท์ (Vocabulary) + ไวยากรณ์ (Grammar)
+ คำปรากฏร่วม (Collocations) ซึง่ คำปรากฏร่วม (Collocations)
เป็ นการเชื่อมคำการจัดวางคำหรือกลุ่มคำทีจำ
่ เป็ นต้องใช้ร่วมกันใน
ประโยคที่เจ้าของภาษานิยมใช้และเห็นว่าถูกต้องตาม มาตรฐาน (เนาว
รัตน์ อินทรประสิทธิ,์ 2556)
ในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทยนัน
้ ไวยากรณ์เป็ น
กฎบรรทัดฐานของรูปแบบการใช้ ภาษาที่เป็ นหลักและแนวทางให้กับผู้ใช้
หรือผู้เรียนภาษานัน
้ ๆ ว่าจะพูดหรือเขียนอย่างไร ภาษาอังกฤษเป็ นภาษา
ที่มีระบบมีหลักการที่ค่อนข้างชัดเจนและตายตัว กฎระเบียบหลักการจะ
ทำให้ผู้เรียนสามารถจดจำและสามารถ นำภาษาไปใช้งานได้จริง โดยยึด
ไวยากรณ์เป็ นกฎบรรทัดฐานของรูปแบบการใช้เป็ นแก่นในการทำความ
เข้าใจใน การใช้ภาษาอังกฤษ (อภินันท์ ตันติวัตนะ, 2553 อ้างถึงใน ดวง
กมล ฐิติเวส, 2554)
คำปรากฏร่วม (Collocation) เป็ นองค์ประกอบสำคัญที่ถูกละเลย
ไม่ได้รับความสำคัญในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ทัง้ ๆที่
Collocation ถูกใช้ในภาษาอังกฏษมากถึง 60-80% ดังนัน
้ การเน้นให้
ท่องจำศัพท์เป็ นคำๆมากๆจึงไม่ทำให้เราเรียนภาษาอังหฏษเก่งขึน
้ เท่ากับ
การฝึ กให้จำเป็ นกลุ่มคำ (Collocations) ศัพท์ที่ใช้ในชีวิตประจำวันทั่วไป
มีไม่ถึง 4,000 คำ แต่ collocations หรือกลุ่มคำศัพท์ที่ใช้ร่วมกับคำศัพย์
เหล่านัน
้ มีมากมายหลายหมื่น Collocations ดังนัน
้ หากเรารู้
Collocations หลายหมื่น Collocations ก็เท่ากับว่า เราสามารถแต่ง
ประโยคที่ถูกต้องได้มากมายนับไม่ถ้วน (วงศ์ วรรธนพิเชษฐ, 2556) คำ
ปรากฏร่วม (Collocations) เป็ นลักษณะของภาษารูปแบบหนึ่งที่มีความ
สำคัญในการเรียนภาษาต่างประเทศ (Shamsudin et al., 2013) มีผู้ให้
คำนิยาม “คำปรากฏร่วม” อย่างหลากหลาย อาทิ Lewis (2008) ให้คำ
นิยามไว้ว่า คำปรากฏร่วมคือ การรวมกันของคำหลายคำ ซึ่งปรากฏพร้อม
กันอย่างสม่ำเสมอ นอกจากนัน
้ Sinclair (1997) ได้ให้คำนิยามของ คำ
ปรากฏร่วม คือ การปรากฏร่วมกันของคำตัง้ แต่ 2 คำ ถึง 4 คำ ใน
ข้อความและพบได้ทงั ้ ในภาษาเขียนและภาษาพูด (Aghbar, 1990 อ้างถึง
ใน Bueraheng,2014)
คำปรากฏร่วม (collocation) เป็ นลักษณะของภาษารูปแบบหนึ่งที่มี
ความสำคัญในการเรียนภาษาต่างประเทศที่ผู้สอนและผู้เรียนควรให้ความ
สำคัญ (Shamsudin, Sadoughvanini, and Hanaf Zaid, 2013,
p.1295) โดยที่ผ่านมานักวิชาการได้ให้คำนิยาม“ คำปรากฏร่วม” เอาไว้
อย่างหลากหลายอาทิ Lewis (2008, p.25) ที่ให้คำนิยามเอาไว้ว่าคำ
ปรากฏร่วมคือการรวมกันของคำหลายคำซึง่ ปรากฏพร้อมกันอย่าง
สม่ำเสมอโดยความถี่ที่คำเหล่านัน
้ ปรากฏพร้อมกันนัน
้ พบมากเกินกว่าที่จะ
เป็ นการปรากฏพร้อมกันแบบบังเอิญในทำนองเดียวกัน Sinclair (1997,
p.170) ก็ให้คำนิยามคำปรากฏร่วมว่าเป็ นการปรากฏร่วมกันของคำ ตัง้ แต่
2 คำถึง 4 คำในข้อความคำปรากฏร่วมพบได้ทงั ้ ในภาษาเขียนและภาษา
พูด (Aghbar, 1990 อ้างถึงใน Hsuand Chiu, 2008, p.182)
การวิเคราะห์ภาษานัน
้ มีเครื่องมือที่ใช้หลากหลาย เช่น การวิเคราะห์
คลังข้อมูลดังที่ สุณี ธนาเลิศกุลและภาสพงศ์ ศรีพิจารณ์ (2552) ได้กล่าว
ไว้ว่า คลังข้อมูลภาษา (Corpus) เป็ นเครื่องมือ ในการรวบรวมหรือสะสม
ข้อความ บทความ หรือข้อเขียนในภาษาใดภาษาหนึ่ง เช่น รวบรวมข่าว
ภาษาอังกฤษจากหนังสือพิมพ์ หรือการเก็บรวบรวมจดหมายธุรกิจที่เขียน
เป็ นภาษาอังกฤษโดยทั่วไปไม่ได้ใช้อุปกรณ์หรือเครื่องมือทาง
อิเล็กทรอนิกส์ที่ซับซ้อนในการสร้างฐานข้อมูลและสืบค้นข้อมูล
จากบทความดังกล่าว การวิจัยครัง้ นีผ
้ ู้วิจัยสนใจที่จะศึกษาเรื่อง
คำปรากฏร่วม (Collocation)ของคำว่า Get และ Take ที่มีความถี่สูงใน
หนังสือนิยายเรื่อง นาร์เนีย โดยใช้คลังข้อมูล เพื่อเป็ นการเพิ่ม
ประสิทธิภาพการเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้คำปรากฏร่วมที่ถูกต้องทำให้ภาษา
มีความ เป็ นธรรมชาติมากกว่าตามหลักภาษา (Grammar)และเป็ น
แนวทางให้ผู้เรียนตระหนัก และ ศึกษา พัฒนาวิธีการเรียนรู้ รวมทัง้ จดจำ
คำศัพท์ภาษาอังกฤษในลักษณะคำปรากฏร่วมมากยิ่งขึน

1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาจำนวนของการใช้คำปรากฏร่วมของคำว่า Get และ
Take ในหนังสือนิยายเรื่อง นาร์เนีย (The Chronicles of
Narnia) ปี พ.ศ. 2492 เขียนโดย ซี เอส ลิวอิส โดยใช้คลังข้อมูล
1.3 ขอบเขตของงานวิจัย
1. การใช้คำปรากฎร่วม (Collocation) ของคำว่า Get และ Take
ในหนังสือนิยายเรื่อง นาร์เนีย (The Chronicles of Narnia) ปี พ.ศ.
2492 เขียนโดย ซี เอส ลิวอิส โดยใช้คลังข้อมูล (Corpus)
2. ใช้กรอบแนวคิดในการวิเคราะห์ของ Lewis โดยใช้หลักเกณ์การ
แบ่งประเภทของคำปรากฎร่วม ประเภทคำกริยา ได้แก่ Get และ
Take

1.4 นิยามคำศัพท์เฉพาะ
1. คำปรากฏร่วม (collocation) หมายถึงกลุ่มคำตัง้ แต่สองคำขึน
้ ไป
ที่มีแนวโน้มจะปรากฎร่วมกันในภาษาหนึ่งๆ
2. นวนิยาย (novel) หมายถึง หนังสือนิยายเรื่อง นาร์เนีย
(The Chronicles of Narnia) ปี พ.ศ. 2492 เขียนโดย ซี เอส ลิวอิส
3. คลังข้อมูล (Corpus) หมายถึง ฐานรวบรวมข้อมูลคอมพิวเตอร์
ที่รวบรวมหรือสะสมข้อความ บทความ หรือข้อเขียนในภาษาใดภาษาหนึ่ง
โดยมีลักษณะเฉพาะของการเก็บข้อมูล

1.5 ประโยชน์ทค
ี่ าดว่าจะได้รับจากงานวิจัย
1. ผลการวิจัยครัง้ นีทำ
้ ให้ทราบการใช้คำปรากฎร่วม (Collocation)
ของคำว่า Get และ Take ในหนังสือนิยายเรื่อง นาร์เนีย
(The Chronicles of Narnia) ปี พ.ศ. 2492 เขียนโดย ซี เอส ลิวอิส
2. ผลการวิจัยครัง้ นีทำ
้ ให้ทราบความถี่ของการใช้คำปรากฎร่วม
(Collocation) ของคำว่า Get และ Take ในหนังสือนิยายเรื่อง นาร์เนีย
(The Chronicles of Narnia) ปี พ.ศ. 2492 เขียนโดย ซี เอส ลิวอิส

You might also like