You are on page 1of 15

บทความวิจัย

การวิเคราะห์รูปไวยากรณ์จากคลังข้อมูลภาษาสู่การเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่น:
กรณีศึกษารูปไวยากรณ์ “ภาษาสุภาพ”

ณัฏฐิรา ทับทิม
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปไวยากรณ์ระดับกลางจากคลังข้อมูลภาษาญี่ปุ่น จัดล�ำดับความถี่
ทีป่ รากฏและน�ำเสนอรูปแบบการอธิบายรูปไวยากรณ์ทสี่ อดคล้องกับการใช้จริงโดยเก็บรวบรวมข้อมูลรูปไวยากรณ์
จากคลังข้อมูลภาษาประเภทเอกสาร ได้แก่ ข้อสอบวัดระดับความสามารถทางภาษาญีป่ นุ่ ระดับ 2 เก่าและข้อมูล
ทีบ่ รรจุในระบบคอมพิวเตอร์ ได้แก่ คลังข้อมูลภาษาเขียนภาษาญีป่ นุ่ (BCCWJ) น�ำรูปไวยากรณ์ระดับกลางทีไ่ ด้
จัดอันดับความถีท่ ปี่ รากฏ คัดเลือกรูปทีม่ คี วามถีใ่ นการใช้สงู สุดมาอธิบายลักษณะและรูปแบบการน�ำไปใช้เพือ่ ให้
ผู้เรียนเข้าใจและน�ำไปใช้ได้ ผลการวิจยั พบว่ารูปไวยากรณ์ระดับกลางที่มีความถี่ปรากฏในข้อสอบวัดระดับความ
สามารถทางภาษาญี่ปุ่นระดับ 2 เก่าและคลังข้อมูลภาษาเขียนมากที่สุด คือ ภาษาสุภาพ (敬語) เมื่อวิเคราะห์
ลักษณะและหลักการน�ำไปใช้จริงพบว่าในหนังสือ ต�ำราเรียนยังอธิบายภาษาสุภาพไม่ครอบคลุมหลักการเพื่อให้
เกิดการน�ำไปใช้ ซึ่งจะต้องประกอบไปด้วย 1) ลักษณะสถานการณ์ที่ควรใช้ภาษาสุภาพ 2) หลักการเลือกใช้ค�ำ
ยกย่องและค�ำถ่อมตน 3) รูปแสดงค�ำยกย่อง ค�ำถ่อมตน และ 4) หลักการใช้ お・ご

คÓสÓคัญ: คลังข้อมูลภาษา รูปไวยากรณ์ระดับกลาง ภาษาสุภาพ

32
Research Paper
An Analysis on Grammatical Forms based on Corpora for
Japanese Education: Case Study of Respectful Language

Natthira Tuptim*
Faculty of Humanities and Social Sciences, Pibulsongkram Rajabhat University

Abstract

Frequency of Japanese grammatical forms at an intermediate level was studied, to


explain how to use them in real-world situations. Data of grammatical forms were collected
from two corpora, the paper-based Japanese Language Proficiency Test (JLPT) level 2 and
computer-based Balanced Corpus of Contemporary Written Japanese (BCCWJ). The data were
arranged in descending order to find the most frequently used form, described characteristi-
cally and pragmatically. Results were that the most frequent intermediate-level grammatical
form found in the corpora was respectful language. Explanations in Japanese textbooks were
not sufficient to use respectful language in real-life situations, where situations, selection of
honorific and humble language, honorific and humble forms, and O・ GO prefix usage must
be considered.

Keywords: Corpora, Intermediate-level Grammatical Forms, Respectful Language

* Corresponding author e-mail: ntuptim@hotmail.com

33
วารสารญี่ปุ่นศึกษา
Japanese Studies Journal

1. บทนÓ ปรากฏในหนังสือเรียนกับสภาพการใช้จริงในภาษาเขียน
มูลนิธิญี่ปุ่น (Japan Foundation) ได้ ของคนญี่ปุ่น (ณัฏฐิรา ทับทิม, 2558: 2-16) พบ
ด�ำเนินการส�ำรวจสภาพการเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่น ว่าไม่ปรากฏรูป させる ในรูปแบบประโยคค�ำนามสิ่งมี
ทั่วโลกเป็นประจ�ำทุก 3 ปี ปีล่าสุดที่ท�ำการส�ำรวจ ชีวิต (ผู้ให้กระท�ำ) –ค�ำนามสิ่งไม่มีชีวิต (ผู้กระท�ำ)
คือปี ค.ศ. 2012 ปรากฏว่าจ�ำนวนผู้เรียนภาษาญี่ปุ่น ซึ่งเป็นรูปแบบที่ใช้แพร่หลายในภาษาญี่ปุ่นที่ใช้จริง
ในประเทศไทยมีจ�ำนวน 129,616 คน จ�ำนวนครู ผลการวิจัยนี้สอดคล้องกับความคิดเห็นของ 駒田編
อาจารย์ผู้สอนมี 1,387 คน ซึ่งมีจ�ำนวนเพิ่มขึ้นจาก (1990) ที่กล่าวไว้ว่ารูปไวยากรณ์ที่ปรากฏในหนังสือ
ปี ค.ศ. 2009 (มูลนิธิญี่ปุ่น, 2555) เมื่อพิจารณา เรียนไม่ได้ถูกคัดเลือกจากงานวิจัย แต่ถูกเลือกจาก
ข้อมูลสภาพการเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่นในประเทศ ความรู้สึกหรือประสบการณ์ของครูผู้สอนมากกว่าถูก
อย่างละเอียดจะพบว่าผูเ้ รียนและครูผสู้ อนส่วนใหญ่อยู่ เลือกจากผลการศึกษาจากงานวิจัยพื้นฐาน ด้วยเหตุ
ในระดับชัน้ มัธยมศึกษา โดยมีสดั ส่วนครูผสู้ อนจ�ำนวน ดังกล่าวจึงมีรปู ไวยากรณ์ทไี่ ม่ส�ำคัญต่อการเรียนระดับต้น
605 คน ต่อผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษา 88,325 คน บรรจุในหนังสือ ต�ำราเรียนภาษาญีป่ นุ่ ท�ำให้ผเู้ รียนเสีย
(อัตราส่วนผูส้ อนต่อผูเ้ รียน 1 ต่อ 146) เมือ่ พิจารณา โอกาสเรียนรูปไวยากรณ์ที่จ�ำเป็นจริงๆ ในการสื่อสาร
คุณวุฒิและความรู้ของผู้สอนภาษาญี่ปุ่นในระดับชั้น จากสภาพลักษณะของครูผสู้ อนและหนังสือ
มัธยมศึกษาพบว่ามีความเหลือ่ มล�้ำกับครูผสู้ อนในระดับ ต�ำราเรี ย นดั ง กล่ า ว การวิ จั ย พื้ น ฐานเกี่ ย วกั บ รู ป
อุดมศึกษามาก เนื่องจากผู้สอนในระดับอุดมศึกษา ไวยากรณ์ในแง่มุมต่างๆ ยังมีความส�ำคัญโดยเฉพาะ
ส่วนใหญ่ได้รับการศึกษาจากประเทศญี่ปุ่นโดยตรง อย่างยิง่ การวิเคราะห์รปู ไวยากรณ์ทปี่ รากฏในการใช้จริง
และส่วนมากกระจายตัวอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร ของคนญี่ปุ่นจากแหล่งข้อมูลคลังภาษาต่างๆ เพื่อให้
และปริมณฑล ในงานวิจัยของ ブッサバー (2009: ผู้สอนมีองค์ความรู้เรื่องรูปไวยากรณ์เชิงลึก สามารถ
117-122) กล่าวถึงลักษณะของผู้สอนภาษาญี่ปุ่นใน อธิบายปรากฏการณ์ทางภาษาตามหลักภาษาได้ โดย
ประเทศไทยไว้วา่ คนที่มปี ระสบการณ์เรียนในประเทศ เฉพาะครูผู้สอนภาษาญี่ปุ่นทั้งในระดับมัธยมศึกษา
ญีป่ นุ่ หรือคนทีม่ คี วามสามารถทางภาษาญีป่ นุ่ จะไม่มา และอุดมศึกษา การพัฒนาทักษะและเทคนิคการสอน
ท�ำงานสอน ครูผู้สอนส่วนใหญ่ในระบบการศึกษาจึง ยังเป็นเรื่องจ�ำเป็น แต่ความรู้ว่าควรสอน “อะไร” ก็มี
เป็นครูที่ผ่านการอบรมการสอนภาษาญี่ปุ่น 1 ปีและ ความส�ำคัญพอๆ กับการสอน “อย่างไร” ทั้งนี้งาน
มาท�ำหน้าที่สอนภาษาญี่ปุ่นพร้อมๆ กับสอนวิชาอื่น วิจัยนี้น�ำเสนอกระบวนการคัดเลือกรูปไวยากรณ์ที่
ที่ครูผู้นั้นสอนก่อนหน้าที่จะไปอบรมการสอนภาษา ถูกน�ำไปใช้จริงในภาษาญี่ปุ่นผ่านคลังข้อมูลภาษาเพื่อ
ญี่ปุ่น นอกจากนี้ในมุมมองของคนญี่ปุ่นก็คิดเห็นเช่น เป็นข้อมูลแก่ผู้สอนที่ต้องการจัดการเรียนการสอนให้
เดียวกัน โดย 小浦方 (1999) ได้วิเคราะห์สภาพ สอดคล้องกับสภาพการใช้จริง และน�ำเสนอการสอน
การสอนภาษาญีป่ นุ่ ในเขตภาคเหนือพบลักษณะของครู รูปไวยากรณ์ตัวอย่างที่มีความถี่สูงซึ่งสามารถน�ำไป
ผูส้ อนภาษาญีป่ นุ่ เช่นเดียวกับงานวิจยั ของ ブッサバー ใช้ในชั้นเรียนได้
นอกจากนี้ยังพบปัญหาที่เกิดจากหนังสือต�ำราเรียน คลังข้อมูลภาษา หรือ Corpus คือ แหล่ง
ภาษาญี่ปุ่นที่ใช้สอนในประเทศซึ่งยังไม่ได้อธิบายการ ข้อมูลภาษาใช้จริงขนาดใหญ่ เช่น คลังข้อมูลภาษา
ใช้รูปไวยากรณ์ที่ส�ำคัญๆ ครอบคลุมตามลักษณะการ ประเภทหนังสือพิมพ์ คลังข้อมูลภาษาประเภทนวนิยาย
ใช้จริง เช่น จากงานวิจัยเรื่องการศึกษารูป させる ที่ ทัง้ นีจ้ ะอยูใ่ นรูปแบบเอกสารรวบรวมหรือรูปแบบข้อมูล

34
การวิเคราะห์รูปไวยากรณ์จากคลังข้อมูลภาษาสู่การเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่น: กรณีศึกษารูปไวยากรณ์ “ภาษาสุภาพ”
ณัฏฐิรา ทับทิม

คอมพิวเตอร์ ในปัจจุบันค�ำว่าคลังข้อมูลภาษามักจะ ผลการวิจยั ของ 江田・小西 แสดงให้เห็นว่า


หมายถึงแหล่งข้อมูลภาษาที่ใช้จริงขนาดใหญ่ที่บรรจุ หนังสือเรียนภาษาญีป่ นุ่ ระดับต้นส่วนใหญ่ เช่น มินนะ
ในคอมพิวเตอร์มากกว่าในรูปแบบเอกสารรวบรวม โนะนิฮงโกะ 1-4 บรรจุรูปไวยากรณ์ที่ปรากฏในการใช้
เนือ่ งจากการใช้ระบบคอมพิวเตอร์จะช่วยในเรือ่ งการใส่ จริงครอบคลุมทุกรูปที่ปรากฏข้างต้น ซึ่งงานวิจัยของ
คีย์เวิร์ดค้นหา การค�ำนวณความถี่และการหาค่าเฉลี่ย 江田・小西 มีจ�ำนวนตัวอย่างการวิเคราะห์ไม่มากนัก
ได้ ในขณะที่คลังข้อมูลภาษาที่เป็นเอกสารจะต้องใช้ เมื่อเปรียบเทียบกับงานของ 岩田 (2014) และ 森
แรงงานคนในการค้นหาและไม่สามารถค�ำนวณความถี่ (2011)
ได้ทันที งานวิจัย 岩田 (2014) ศึกษารูปไวยากรณ์
ในงานวิ จั ย นี้ น�ำผลจากการศึ ก ษาในคลั ง จากคลังข้อมูลภาษาพูด 名大会話コーパス จ�ำนวน
ข้อมูลภาษาทัง้ ในรูปแบบคอมพิวเตอร์และเอกสารเน้น 1,026,675 ค�ำ เปรียบเทียบกับผลการศึกษาของ 森
ไปที่ประเด็นความถี่ของรูปไวยากรณ์ที่ปรากฏ เพื่อใช้ (2011) ที่ส�ำรวจจากคลังข้อมูลภาษาเขียน BCCWJ
เป็นเกณฑ์ในการคัดเลือกรูปไวยากรณ์ที่ควรสอนเพื่อ (เวอร์ชั่น ปี ค.ศ. 2009) จ�ำนวน 934,655 ค�ำ จาก
ให้ผเู้ รียนเข้าใจและน�ำไปใช้ได้ ลักษณะคลังข้อมูลภาษา แหล่งข้อมูล 4 แหล่ง (ในจ�ำนวนทั้งหมด 11 แหล่ง)
ทีน่ �ำมาใช้ประโยชน์ในงานวิจยั นีม้ หี ลายแหล่งทัง้ จากงาน 4 แหล่ง ดังกล่าวได้แก่ Yahoo! 知恵袋, 白書, 書
วิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องและจากการส�ำรวจค้นคว้าโดยตรง โดย 籍 และ 新聞 รูปไวยากรณ์เป้าหมายของ 森 คือรูป
คลังข้อมูลภาษาที่ได้ศึกษาค้นคว้าโดยตรงคือข้อสอบ ไวยากรณ์ระดับต้นจ�ำนวน 229 รูปซึง่ เป็นรูปไวยากรณ์
วัดระดับความสามารถทางภาษาญี่ปุ่นและคลังข้อมูล ที่ใช้กับค�ำกริยาเป็นหลัก โดยอ้างอิงจากงานวิจัยของ
ภาษาเขียน (BCCWJ) งานวิจัยที่วิเคราะห์ผ่าน 庵他 (2000) รูปไวยากรณ์ระดับต้นที่มีความถี่การ
คลังข้อมูลภาษา ได้แก่ งานวิจัยของ 江田・小西 ใช้ทงั้ ในภาษาพูดและภาษาเขียนรวมกันเรียงจากมากไป
(2008) ซึ่งได้ส�ำรวจรูปไวยากรณ์ระดับ 3 และ 4 น้อยซึง่ เป็นผลจากการวิจยั ของ 岩田 และ 森 มีจ�ำนวน
(ข้อสอบระบบเก่า) จากคลังข้อมูลภาษา 3 แหล่ง 47 รูปดังนี้
คือ บทสนทนาจริง นวนิยายและหนังสือทั่วไป พบ のだ、ている、から(理由)、受身、られる(可能)、
รูปไวยากรณ์จ�ำนวน 48 รูป เรียงล�ำดับจากมากไป たら、と、ようと思う、ようだ(比況・推量)、ば、とき、で
น้อยได้ดังนี้ しょう、たい、て+授受、使役、たり、てみる、かもしれ
ている、のだ、受身、から、と、ば、られる(可能)、 ない、ので、のに、なら、てある、てください、そうだ(兆
とき、ようだ(比況)、ので、たら、でしょう、使役、こと 候)、てから、ながら、ことができる、ておく、てもいい、
ができる、て+授受、たり、ようだ(推量)、たい、かも たことがある、たほうがいい、てしまう、ましょう、かど
しれない、てみる、ながら、はずだ、ておく、てある、 うか、はずだ、なければならない、なさい、おーに
なら、てもいい、そうだ(兆候)、なければならない、て なる*、られる(尊敬)*、ところだ、つもりだ、なくても
から、たほうがいい、てしまう、てください、使役受身、 いい、使役受身、ことにする、てはいけない、そうだ
のに、たことがある、おーになる*、られる(尊敬)*、 (伝聞)、ないでください
ようと思う、かどうか、ことにする、ましょう、つもりだ、て จะเห็นได้วา่ ผลของงานวิจยั 3 งาน คือ งาน
はいけない、そうだ(伝聞)、なくてもいい、なさい、な วิจัยของ 江田・小西、岩田 และ 森 ได้ผลการวิจัย
いでください、ところだ คล้ายคลึงกัน รูปไวยากรณ์ระดับต้นที่มีความถี่ในการ
ใช้จริงอยู่กลุ่มสูง คือ ている、のだ、受身、から、ら
れる(可能) ฯลฯ ส่วนรูปที่มีความถี่ต�่ำในการใช้จริง
35
วารสารญี่ปุ่นศึกษา
Japanese Studies Journal

คือ つもりだ、てはいけない、そうだ(伝聞)、なくて る/によると/によれば(手段・方法)、に伴って/


もいい、なさい、ないでください、ところだ ฯลฯ จาก に伴い/に伴う、ものの、ながら、おそれがある、
ข้อมูลดังกล่าวผู้สอนสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ในการ に限って/に限り/に限らず(限定)、を通じて/
วางแผนการสอนรูปไวยากรณ์ได้ โดยใช้เวลาในการ を通して、に応じて/に応じ/に応じては/に応じ
ても/に応じた、上で/上の/上では/上でも/上
ฝึกรูปไวยากรณ์กลุ่มที่มีความถี่สูงยาวนานกว่ากลุ่มที่
での(場面、条件)、ように(例)、をもとに/をもとに
มีความถี่ต�่ำหรืออธิบายการใช้ วิธีใช้รูปที่มีความถี่สูง
して、にかかわらす/にもかかわらず/にかかわり
ละเอียดกว่ารูปที่มีความถี่ต�่ำ เป็นต้น
なく/にはかかわりなく、つつある、にわたって/
ในส่ ว นของการศึ ก ษารู ป ไวยากรณ์ ร ะดั บ にわたり/にわたる/にわたった、によって/によ
กลางที่ปรากฏในคลังข้อมูลภาษายังมีจ�ำนวนไม่มาก り/によっては/による/によれば、うえ/うえに
นัก งานวิจัยที่ศึกษารูปไวยากรณ์ระดับกลาง ได้แก่ จากงานวิจัยของ Chen and Yamamoto
งานวิจัยของ Chen and Yamamoto (2008) ซึ่ง จะเห็นได้ว่ารูปไวยากรณ์ระดับกลางที่ปรากฏสามารถ
ส�ำรวจรูปไวยากรณ์ระดับกลางและระดับสูงที่ปรากฏ น�ำไปใช้ อ ้ า งอิ ง เป็ น ข้ อ มู ลในการสอนได้ ร ะดั บ หนึ่ ง
ในหนังสือพิมพ์ 3 บริษัท จ�ำนวน 90 ฉบับ พบรูป เนื่ อ งจากภาษาที่ ใ ช้ ใ นหนั ง สื อ พิ ม พ์ มี ลั ก ษณะเป็ น
ไวยากรณ์ระดับกลาง 93% ระดับสูง 7% (เกณฑ์ ภาษาเขียนและมีข้อจ�ำกัดเรื่องพื้นที่ของข้อความเพื่อ
ก�ำหนดรูปไวยากรณ์ระดับกลางและสูงใช้ข้อมูลจาก ใส่ ข ้ อ มู ล 5W1Hให้ ค รบ รู ป ไวยากรณ์ ที่ ป รากฏจึ ง
มาตรฐานข้อสอบวัดระดับความสามารถ หรือ 日本語 เป็นรูปไวยากรณ์ที่ใช้กับค�ำนามจ�ำนวนค่อนข้างมาก
能力試験出題基準) โดยรูปทีม ่ คี วามถีเ่ ฉลีย่ ปรากฏ เช่น  について、として、に関して、によって、を中心
ในหน้าหนังสือพิมพ์หน้าข่าวใหญ่ประจ�ำวัน เรียงล�ำดับ に、にかかわらず、上で ฯลฯ รูปไวยากรณ์ที่ใช้กับ
จากมากไปน้อยมีจ�ำนวน 38 รูป ดังนี้ ค�ำกริยาหรือภาคแสดงมีสดั ส่วนค่อนข้างน้อย เช่น べき
について/につき/については/につ
だ、かねない、たところ、ものの、ながら ฯลฯ ค�ำสันธาน
いても/についての、として/としては/としても、
เชื่อมประโยคมีเพียง 1 รูปที่พบ คือ 一方 ผลการ
に対して/に対し/に対しては/に対しても/に
対する、によって/により/によっては/による/
ศึกษาของ Chen and Yamamoto สามารถน�ำไป
によれば(根拠)、をーとして/をーとする/をーと ปรับใช้กบั การสอนภาษาญีป่ นุ่ ทีป่ รากฏในหนังสือพิมพ์
した、をめぐって/をめぐる、によって/により/に หรือสื่อสิ่งพิมพ์ใกล้เคียงได้ เนื่องจากผลที่ได้มีความ
よっては/による/によると/によれば(行為者)、 เฉพาะทาง ไม่สามารถน�ำไปใช้กับภาษาญี่ปุ่นที่ใช้
べき/べきだ/べきではない、一方/一方で/一方 ในชีวิตประจ�ำวันอื่นๆ แต่ข้อมูลของ Chen and
では、上で/上の/上では/上でも/上での(時間 Yamamoto ก็ยงั คงมีประโยชน์ตอ่ การวิเคราะห์ขอ้ มูล
的前後関係)、ことから、に基づいて/に基づき/ รูปไวยากรณ์ระดับกลางและสูงซึ่งงานวิจัยที่ศึกษารูป
に基づく/に基づいた、によって/により/によっ ไวยากรณ์ระดับกลางและสูงยังมีน้อยกว่ารูปไวยากรณ์
ては/による/によると/によれば(原因・理由)、
ระดับต้น ในงานวิจัยศึกษารูปไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่น
に関して/に関しては/に関しても/に関する、か
จากคลังข้อมูลภาษานีจ้ งึ ก�ำหนดขอบเขตการหาความ
ねない、たところ、を中心に/を中心として/を中心
ถี่ที่ปรากฏเป็นรูปไวยากรณ์ระดับกลาง และน�ำเสนอ
にして、ように(目的)、に加えて/に加え、とともに、
にとって/にとっては/にとっても/にとっての、だ
รูปแบบการอธิบายรูปไวยากรณ์ที่มีความถี่ในการใช้
けに(強調)、によって/により/によっては/によ จริงสูง

36
การวิเคราะห์รูปไวยากรณ์จากคลังข้อมูลภาษาสู่การเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่น: กรณีศึกษารูปไวยากรณ์ “ภาษาสุภาพ”
ณัฏฐิรา ทับทิม

2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล
เพื่อศึกษารูปไวยากรณ์ระดับกลางจากคลัง 1. ค้นรูปไวยากรณ์ระดับกลางจากข้อสอบ
ข้ อ มู ล ภาษาญี่ ปุ ่ น จั ด ล�ำดั บ ความถี่ ที่ ป รากฏและ วัดระดับความสามารถทางภาษาญีป่ นุ่ ระดับ 2 เก่า ใน
น�ำเสนอรูปแบบการอธิบายรูปไวยากรณ์ที่สอดคล้อง ข้อสอบการอ่านและข้อสอบรูปไวยากรณ์ ในส่วนของ
กับการใช้จริง ข้อสอบการอ่านเป็นส่วนที่มีบริบทแวดล้อมและมีข้อ
ค�ำถามที่เกี่ยวกับรูปไวยากรณ์ปรากฏร่วมด้วย
3. วิธีการดÓเนินการวิจัย 2. น�ำรูปไวยากรณ์ที่ปรากฏในข้อสอบวัด
งานวิ จั ย นี้ เ ป็ น งานวิ จั ย เชิ ง คุ ณ ภาพโดย ระดับ ฯ มาใส่ตารางและแจงความถี่ เรียงล�ำดับจาก
การวิ เ คราะห์ เ อกสารที่ เ กี่ ย วข้ อ งและเก็ บ รวบรวม ค�ำที่มีความถี่สูงสุดไปถึงค�ำที่มีความถี่ต�่ำสุด
รูปไวยากรณ์จากคลังข้อมูลข้อสอบวัดระดับความ 3. น�ำรูปไวยากรณ์ทไี่ ด้จากข้อสอบวัดระดับฯ
สามารถทางภาษาญี่ปุ่นเทียบหารูปที่มีความถี่บ่อย หาความถี่ในการใช้จริงจากคลังข้อมูลภาษา BCCWJ
ครั้งในคลังข้อมูลภาษา ทั้งนี้เพื่อแสดงกระบวนการ และวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างความถี่ในการใช้
คั ด เลื อ กรู ป ไวยากรณ์ ที่ มี ค วามถี่ สู งในการใช้ จ ริ ง จริงกับความถี่ที่ศึกษาได้
จากนั้นน�ำเสนอรูปแบบการน�ำไปใช้ในประโยคและ 4. เสนอแนวทางการสอนรูปไวยากรณ์ที่มี
สถานการณ์ ต ่ า งๆ พร้ อ มค�ำอธิ บ ายที่ ไ ด้ จ ากการ ความถี่สูงสุด ชี้ประเด็นข้อมูลที่ควรอธิบายเพิ่มเติม
วิเคราะห์ สังเคราะห์ตามหลักภาษา คลังข้อมูลภาษา จากข้ อ มู ล ที่ ป รากฏในหนั ง สื อ เรี ย นภาษาญี่ ปุ ่ นโดย
ที่ใช้ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ 1) ข้อสอบวัดระดับ อ้างอิงผลการวิจยั ก่อนหน้าของ 文化庁 (2011) และ
ความสามารถทางภาษาญี่ปุ่น ระดับ 2 เก่า ปี ค.ศ. 村田 (2009) ในประเด็นข้อ 1) ลักษณะสถานการณ์
1991-2008 (ยกเว้นปี ค.ศ. 1999) จ�ำนวน 17 ปี ใดที่ควรใช้ภาษาสุภาพและข้อ 4) หลักการใช้ お・ご
แบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ ข้อสอบค�ำศัพท์และคันจิ
ข้อสอบฟัง ข้อสอบการอ่าน และข้อสอบรูปไวยากรณ์ 4. ผลการวิจัยและอภิปรายผล
และ 2) BCCWJ หรือ Balanced Corpus of จากการรวบรวมรู ป ไวยากรณ์ ร ะดั บ กลาง
Contemporary Written Japanese คลังข้อมูล จากข้อสอบวัดระดับความสามารถทางภาษาญี่ปุ่น
ภาษาเขียนภาษาญี่ปุ่นในปัจจุบัน คลังข้อมูลภาษา ระดับ 2 (แบบเก่า) พบรูปไวยากรณ์ทั้งสิ้น 203 รูป
แบ่งแหล่งข้อมูลออกเป็น 11 แหล่ง ได้แก่ 書 รูปไวยากรณ์ที่ถูกน�ำไปใช้ในข้อสอบวัดระดับความ
籍 (1971-2005) 雑誌 (2001-2005) 新聞 สามารถทางภาษาญี่ปุ่นมากที่สุด คือ รูปไวยากรณ์
(1971-2005) 白書 (1976-2005) 教科書 ภาษาสุภาพ (敬語) ทั้งในรูปแบบค�ำยกย่องและค�ำ
(2005-2007) 広報紙 (2008) Yahoo! 知 ถ่อมตน (尊敬語・謙譲語) มีความถี่ 16 ครั้งจาก
恵袋 (2005) Yahoo! ブログ (2008) 韻 จ�ำนวนข้อสอบฯ 17 ปี กล่าวได้ว่าภาษาสุภาพเป็นรูป
文 (1980-2005) 法律 (1976-2005) และ ไวยากรณ์ทถ ี่ กู น�ำมาออกข้อสอบเพือ่ วัดความสามารถ
国会会議録 (1976-2005) ในการใช้เกือบทุกปี รายละเอียดรูปไวยากรณ์ทพี่ บและ
ความถี่ของแต่ละรูปน�ำเสนอดังต่อไปนี้1
1 เครื่องหมายดอกจัน (*) หมายถึงความถี่ที่พบในการใช้จริงจาก BCCWJ โดย * คือความถี่ระหว่าง 5001-10000 ** คือ
ความถี่ระหว่าง 10001-15000 *** คือความถี่ระหว่าง 15001-20000 **** คือความถี่ระหว่าง 20001-25000 ***** คือ
ความถี่ระหว่าง 25001-30000 ****** คือความถี่มากกว่า 30001
37
วารสารญี่ปุ่นศึกษา
Japanese Studies Journal

1. รูปไวยากรณ์ทปี่ รากฏในข้อสอบวัดระดับฯ り・にあたって、最中に、にむかって、につき、ことに


ระดับ 2 เก่าสถิติเท่ากับ 16 คือ ภาษาสุภาพ****** なる****、るところ*****、はもとより、(な)ことに、どこ
2. รูปไวยากรณ์ทปี่ รากฏในข้อสอบวัดระดับฯ ろか、(都合)次第、むけに、につれて、う・ようとして
ระดับ 2 เก่าสถิติเท่ากับ 6 คือ わりに、かーないか も***、に先立ち、ーほど******、をきっかけに、に従
のうち、ように(目的)、にしては、さえ***、ついでに、 って、のみならず、たばかりに、ともなって、ぬきにし
ようがない・ようもない ては、において******、ように(比喩)、(どれほど助
かった)ことか**、に反して、際******、ます+得る、
3. รูปไวยากรณ์ทปี่ รากฏในข้อสอบวัดระดับฯ
ことだから、ようになる***、てしょうがない、に関して*
ระดับ 2 เก่าสถิติเท่ากับ 5 คือ というものだ***、に
、ないことはない、ことはない、っこない、とおり*****
すぎない、をめぐって、しかない*、だけ・だけに・だ
、て(は)いられない、つつある、ところで****、(残念)
けの・だけあって・だけでない***、ものだ・ものでは
ながら・ながら(逆接)******、というと*、として******、
ない****、に限る・に限って・に限り
としても**
4. รูปไวยากรณ์ทปี่ รากฏในข้อสอบวัดระดับฯ
7. รูปไวยากรณ์ทปี่ รากฏในข้อสอบวัดระดับฯ
ระดับ 2 เก่าสถิติเท่ากับ 4 คือ おかげで、たびに、
ระดับ 2 เก่าสถิติเท่ากับ 1 คือ ほどーない**、にも
によって******、かねる、を問わず、としたら*、ざるを
かかわらず、に対する*****、を通して、あげく、かと
えない、させていただく、てたまらない、からには、わ
いえば、だそうです、ものがある、ぬきで、にむけ、
けがない、てならない,のあまり、からーにかけて、わ
につき、にたとえると、にかかわる、ところを見ると、
けだ*、わけではない、わけでもない*、 +次第、
に比べて・に比べ**、の末に、に応じて、(行く)のな
させる(使役)******、をもとに、にわたって、べきでは
ら、たばかり、をこめて、にともなう、気味だ、をおい
ない
て(ほかにーない)、て以来、それとも*、に際して、
5. รูปไวยากรณ์ทปี่ รากฏในข้อสอบวัดระดับฯ ば******、につけーにつけ、まい******、のに******
ระดับ 2 เก่าสถิติเท่ากับ 3 คือ うえに、以上は、可 、かねて、(残す)ところあと、読んでいては、 +
能形・辞書形+ものなら、おそれがある、せいで*、 がたい、を通じて*、そうもない・そうにない、こそ***、
たとたん、に決まっている、ほかない、がち*、 に基づいて、というより、 +ぬく、にせよ、上(法
+きる、ものの***、かのようだ、どころではない、か 律上)、かけ、っぽい、やらーやら、てばかりいる、
らして、授受表現、からといって、ずにはいられな +かける、たら******、にあたる、による******、
い、にとって *****、てはじめて、ないことには、たと おきに、を契機に、ーをーにする、からいうと、反
えーても、かわりに、ものか*、ばーほど*、といって 面、ことで******、に違いない*、をーとする、ことな
も*、(動詞辞書形+)一方、くせに、たところ***、に い、から見れば/見ると*、一方**、ようにする、上
かけては、きり(だ)、ばかりか、てからでないと、に は、ーかと思ったら、といった***、(わざわざ買う)と
こたえても、はともかく、ないかぎり、かぎりでは、 ころで****、ふりに、に沿って、はずがない、かえっ
わけにはいかない て、にかわって、かまわない、(この調子)だと、ば・
6. รูปไวยากรณ์ทปี่ รากฏในข้อสอบวัดระดับฯ たらいいのに、たとえようがない
ระดับ 2 เก่าสถิติเท่ากับ 2 คือ とともに***、つつも、 เมือ่ เทียบรูปไวยากรณ์ในมาตรฐานข้อสอบรูป
をはじめ*、ほかならない、だらけ、ほどだ、はもちろ ไวยากรณ์ระดับ 2 (日本語能力試験出題基準・文
ん、ことだ****、(物価が上がる)ばかりに(生活は少
法 (2級)) ซึง่ เป็นรูปไวยากรณ์ระดับกลางจ�ำนวน 170
し楽にならない)、うちに、上で、ものだから、にあた

38
การวิเคราะห์รูปไวยากรณ์จากคลังข้อมูลภาษาสู่การเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่น: กรณีศึกษารูปไวยากรณ์ “ภาษาสุภาพ”
ณัฏฐิรา ทับทิม

รูป มีรปู ทีต่ รงกับผลการส�ำรวจของงานวิจยั นี้ 144 รูป


เห็นถึงความแตกต่างเชิงโครงสร้าง ยกตัวอย่างบริบท
ประกอบเพื่อแสดงให้เห็นความแตกต่าง การสอนรูป
ส่ ว นอี ก 59 รู ป เป็ น รู ป ที่ ไ ม่ ป รากฏในมาตรฐาน
ข้อสอบฯ ระดับ 2 ซึง่ ในการออกข้อสอบวัดระดับความ ไวยากรณ์ร ะดับกลางที่ มีลั กษณะเช่นนี้จึงควรสอน
พร้อมๆ กัน เพือ่ ให้เกิดการเปรียบเทียบการใช้ เช่น การ
สามารถทางภาษาญีป่ นุ่ อาจมีรปู ไวยากรณ์อนื่ ๆ ถูกน�ำ
มาออกสอบ เช่น รูปไวยากรณ์ระดับต้น ように (เพือ่ )、 สอนรูป くせに ควบคูก่ บั รูปไวยากรณ์ระดับต้น のに
しかない (เพียงแค่)、ようになる (กลายเป็น)、のに เนื่องจากมีการใช้คล้ายคลึงกัน
(ทั้งๆ ที่) 、そうだ (ได้ยินว่า) ฯลฯ และจากข้อมูล เมื่อพิจารณาความถี่ที่ปรากฏในการใช้จริง
ข้างต้นแสดงให้เห็นว่ารูปไวยากรณ์ระดับกลางมีจ�ำนวนจากคลังข้อ มูลภาษา BCCWJ กับผลการศึกษา
ค่อนข้างมากและมีความหมายคล้ายๆ กันเมือ่ ถูกแปล จากข้อสอบวัดระดับฯ พบว่ามีความถี่ในการน�ำรูป
เป็นภาษาไทย หลายๆ ค�ำมีค�ำแปลที่เหมือนกัน เช่น ไวยากรณ์ไปใช้ทั้งสอดคล้องและไม่สอดคล้องกัน จะ
เห็ นได้ ว ่ า หลายรู ป มี ค วามถี่ น ้ อ ยครั้ งในข้ อ สอบวั ด
กลุ่มรูปแสดงสาเหตุ ระดับฯ แต่มีความถี่สูงใน คลังข้อมูลภาษา BCCWJ
せいで เพราะ おかげで เพราะ ばかりに สังเกตได้จากรูปทีม่ เี ครือ่ งหมายดอกจัน (*) ก�ำกับซึง่
เพราะ あまりに เพราะ (ความรูส้ กึ หรือการกระท�ำบาง แสดงความถี่ในการใช้จริงเกินกว่า 5,001 ครั้งขึ้นไป2
อย่างมากเกินไป) จน.... รู ป ที่ มี ค วามสอดคล้ อ งเรื่ อ งความถี่ ที่ ป รากฏทั้ งใน
ข้อสอบวัดระดับฯ และคลังข้อมูลภาษา BCCWJ
กลุ่มรูปแสดงความขัดแย้ง คือรูปภาษาสุภาพ และเมื่อเปรียบเทียบกับผลการ
くせに ทั้งๆ ที่ のに ทั้งๆ ที่ ものの ทั้งๆ ที่ วิจย ั ก่อนหน้าจะพบว่ารูปภาษาสุภาพในงานของ 岩田
ながら ทั้งๆ ที่ にもかかわらず ทั้งๆ ที่ กั บ 森 เมื่ อ รวมความถี่ ร ะหว่ า งรู ป おーにな
る และ られる จะอยู่ในล�ำดับความถี่ที่สูงขึ้นและ
กลุ่มรูปแสดงเวลา ในงานวิจัยของ 江田・小西 ก็พบการใช้รูป おー
たとたん ทันทีที่ +次第 ทันทีที่ になる และ られる ทั้งนี้ไม่พบการใช้ภาษาสุภาพ
ในการส�ำรวจของ Chen and Yamamoto ซึ่ง
เนื่ อ งจากรูปไวยากรณ์ระดับกลางมีความ ส�ำรวจจากภาษาที่ใช้ในหนังสือพิมพ์เมื่อหาความถี่
หมายคล้ายกันและมีความหมายคล้ายกับรูปไวยากรณ์ ในการใช้จริงจากคลังข้อมูลภาษา BCCWJ ของรูป
ระดับต้น หลายค�ำมีค�ำแปลภาษาไทยเหมือนกัน การ ภาษาสุภาพโดยค้นหาด้วยค�ำกริยารูปเฉพาะ3 ของ
อธิบายรูปไวยากรณ์ระดับกลางดังกล่าวจึงต้องแสดงให้ “ค�ำยกย่อง” และ “ค�ำถ่อมตน” (ไม่รวมรูปสร้าง お・
ご และรูป られる) จะได้ความถี่ตารางที่ 1 และ 2

2 อ้างอิงจำ�นวนเทียบเท่าคำ�ที่ควรรู้ในการสอบข้อสอบวัดระดับความสามารถทางภาษาญี่ปุ่นระดับ 2 เก่าและ 1 เก่า จำ�นวน


5,000 คำ�และ 10,000 คำ� ตามลำ�ดับ ความถี่ 5,001 ขึ้นไปจึงเป็นความถี่ที่ค่อนข้างสูงสำ�หรับรูปไวยากรณ์ที่ถูกนำ�ไปใช้จริง
3 อ้างอิงคำ�กริยารูปเฉพาะจากมินนะโนะนิฮงโกะ เล่ม 4 (2549: 152) เคโกะ ภาษาสุภาพเพื่อเข้าสังคมญี่ปุ่น (2552: 47, 75-
76) และ กุญแจสู่ 200 ประโยคพื้นฐาน (2546: 202) เพื่อให้ครอบคลุมคำ�กริยาที่มีรูปเฉพาะทั้งหมด

39
วารสารญี่ปุ่นศึกษา
Japanese Studies Journal

ตารางที่ 1 ค�ำยกย่องกับความถี่ที่พบในการใช้จริง4 (BCCWJ)

ลÓดับที่ คÓกริยา คÓยกย่อง ความถี่ (BCCWJ)


1 いる・行く・来る いらっしゃる 4487
おいでになる 212
来る 見える
 お見えになる 25
 お越しになる 17
2 言う おっしゃる 3863
3 くれる くださる 2988
4 する なさる 1930
5 知っている ご存知です 435
6 見る ご覧になる 199
7 死ぬ お亡くなりになる 100
8 食べる・飲む 召し上がる 54
9 気に入る お気に召す 45
10 寝る お休みになる 22
11 着る お召しになる 19
12 買う お求めになる 10
13 連れていく・連れてくる お連れになる 5
รวม 14411
จากตารางแสดงให้เห็นว่าค�ำยกย่องรูปเฉพาะ ได้มีปัจจัยหลายอย่างที่ท�ำให้ความถี่ของค�ำยกย่องรูป
ทีถ่ กู ใช้จริงในภาษาเขียนของคนญีป่ นุ่ มีความถีท่ งั้ หมด เฉพาะมีจ�ำนวนน้อยกว่าค�ำถ่อมตนรูปเฉพาะ หนึ่งใน
เท่ากับ 14,411 ครั้ง เมื่อเปรียบเทียบการใช้กับค�ำ เหตุผลคือค�ำยกย่องรูปเฉพาะมีจ�ำนวนรูปมากกว่าค�ำ
ถ่อมตนรูปเฉพาะในตารางที่ 2 (98,987 ครั้ง) จะได้ ถ่อมตนรูปเฉพาะ จึงมีการกระจายการใช้หลากหลาย
ข้อสังเกตที่มีประโยชน์ต่อการสอนภาษาสุภาพ กล่าว กว่าค�ำถ่อมตนรูปเฉพาะ ในค�ำยกย่องจะมีรูปเฉพาะ
คือ ในการใช้ภาษาจริง สถานการณ์ที่จ�ำเป็นต้องใช้ รูปสร้าง お・ご และรูป られる แสดงการยกย่องได้
ค�ำถ่อมตนรูปเฉพาะจะมีมากกว่าสถานการณ์ที่ต้อง ในขณะที่ค�ำถ่อมตนมีรูปเพียง 2 รูปเท่านั้น คือ รูป
ใช้ค�ำยกย่องรูปเฉพาะ ซึ่งข้อสังเกตนี้สามารถน�ำไป เฉพาะกับรูปสร้าง お・ご เมื่อแยกดูรายค�ำจะเห็นว่า
ประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมจ�ำลองการใช้รูปเฉพาะ ค�ำยกย่องรูปเฉพาะที่มีความถี่ในการใช้มากที่สุดคือ
ในภาษาสุภาพที่ควรให้น�้ำหนักความส�ำคัญกับการ ค�ำ いらっしゃる ซึ่งเป็นรูปเฉพาะของค�ำกริยา 3 ค�ำ
จัดสถานการณ์จ�ำลองเพื่อให้เกิดการใช้ค�ำถ่อมตนรูป คือ いる・行く・来る ล�ำดับรองลงมาคือ おっしゃる
เฉพาะมากกว่าค�ำยกย่องรูปเฉพาะทัง้ นีค้ วามถีท่ สี่ �ำรวจ และ くださる ซึ่งเป็นรูปเฉพาะของค�ำกริยา 言う และ
くれる

4 ที่มา คลังข้อมูลภาษาเขียนภาษาญี่ปุ่น BCCWJ สำ�รวจเมื่อ 26-27 กรกฎาคม 2558 นับทุกรูปผัน กล่าวคือ รูปพจนานุกรม
รูป た รูป ます และรูป ました

40
การวิเคราะห์รูปไวยากรณ์จากคลังข้อมูลภาษาสู่การเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่น: กรณีศึกษารูปไวยากรณ์ “ภาษาสุภาพ”
ณัฏฐิรา ทับทิม

ตารางที่ 2 ค�ำถ่อมตนกับความถี่ที่พบในการใช้จริง (BCCWJ)

ลÓดับที่ คÓกริยา คÓถ่อมตน ความถี่ (BCCWJ)


1 いる おる 19431
2 もらう いただく 11888
3 言う 申し上げる 7100
4 あげる 差し上げる 379
5 見る 拝見する 264
6 会う お目にかかる 251
7 承知する・引き受ける 承る 167
8 訪ねる(行く) 伺う 163
9 借りる 拝借する 51
10 一緒に行く お供する 36
11 見せる お目にかける 28
12 聞く 拝聴する 25
13 ある ございます 40490
14 する いたします 12131
15 言う 申します 3583
16 行く 参ります 2932
17 知る・思う・考える 存じます・存じ上げます 86
18 知っている 存じています 33
รวม 98987

จากตารางที่ 2 แสดงให้เห็นว่าค�ำถ่อมตนรูป る และ いたす ซึ่งเป็นรูปเฉพาะของ いる、もらう、あ


เฉพาะที่ถูกใช้จริงในภาษาเขียนของคนญี่ปุ่นมีความถี่ る และ する ตามล�ำดับ
ทัง้ หมดเท่ากับ 98,987 ครัง้ เมือ่ เปรียบเทียบการใช้กบั จากข้อมูลข้างต้นสามารถสรุปแนวทางการ
ค�ำยกย่องรูปเฉพาะ (14,411 ครัง้ ) จะเห็นว่ามีความถี่ คัดเลือกรูปไวยากรณ์ทมี่ คี วามถีส่ งู ได้วา่ ควรสังเคราะห์
ในการใช้มากกว่าค�ำยกย่องรูปเฉพาะทั้งนี้จากจ�ำนวน ข้อมูลความถีก่ ารน�ำไปใช้จริงจากหลายๆ แหล่งข้อมูล
รูปเฉพาะทีม่ จี �ำนวนมากกว่าและรูปค�ำถ่อมตนทัง้ หมด ทั้งคลังข้อมูลภาษาเขียน คลังข้อมูลภาษาพูด และ
มีการใช้อยู่เพียง 2 รูปหลักคือรูปเฉพาะกับรูปสร้าง จากแหล่งข้อมูลเฉพาะด้าน เช่น จากแหล่งข้อมูล
ผลที่ได้ยังอาจสะท้อนสถานการณ์การใช้ในภาษาจริง หนังสือพิมพ์ หรือข้อสอบวัดระดับฯ เพื่อให้ได้รูป
ว่ามีสถานการณ์การใช้ค�ำถ่อมตนมากกว่าสถานการณ์ ไวยากรณ์ในการใช้จริงอย่างแท้จริงเช่นที่งานวิจัยนี้
การใช้ค�ำยกย่อง แต่ทงั้ นีก้ ารสรุปเช่นนีย้ งั เป็นเพียงข้อ ศึกษาแล้วพบว่าภาษาสุภาพเป็นรูปที่ถูกใช้ทั้งในแหล่ง
สมมติฐานเนื่องจากต้องศึกษาความถี่ในทุกรูปค�ำทั้ง ข้อมูลภาษาญีป่ นุ่ ระดับต้น ระดับกลาง และคลังข้อมูล
รูปเฉพาะ รูปสร้าง お・ご และรูป られる จึงจะ ภาษา BCCWJ
สามารถสรุปได้อย่างถูกต้องใกล้เคียงกับสภาพการใช้ การน�ำรูปไวยากรณ์ที่มีความถี่ในการใช้สูง
จริง เมือ่ แยกดูรายค�ำของรูปเฉพาะจะเห็นได้วา่ ค�ำถ่อมตน หรือรูปภาษาสุภาพ มาจัดการเรียนการสอน ประเด็น
ทีม่ คี วามถีก่ ารใช้มากทีส่ ดุ คือค�ำ おる、いだたく、ござ ทีต่ อ้ งเน้นย�ำ้ เพือ่ ให้เกิดความเข้าใจก่อนน�ำไปใช้จริงคือ
41
วารสารญี่ปุ่นศึกษา
Japanese Studies Journal

1. ลักษณะสถานการณ์แบบใดทีค่ วรใช้ภาษา ต่อผู้ฟังตามค�ำอธิบายในหนังสือเรียนที่พบได้ทั่วไป


สุภาพ นอกจากนี้ยังสังเกตได้ว่าผู้เรียนยังไม่เข้าใจหลักการ
2. หลักการเลือกใช้ค�ำยกย่อง ค�ำถ่อมตน ใช้ お・ご กับค�ำกริยา ปัญหาข้างต้นส่วนหนึ่งมาจาก
3. รูปแสดงค�ำยกย่อง ค�ำถ่อมตน การขาดความรู้เรื่องการน�ำรูปภาษาสุภาพไปใช้จริงใน
4. หลักการใช้ お・ご สถานการณ์ต่างๆ ซึ่งจ�ำเป็นต้องเข้าใจหลักเกณฑ์
โดยทั่วไปการสอนภาษาสุภาพมักจะเน้นไป 4 ข้อข้างต้น หนังสือเรียนภาษาญี่ปุ่นที่งานวิจัยนี้ใช้
ที่ข้อ 3 รูปแสดงค�ำยกย่อง ค�ำถ่อมตน มีการอธิบาย อ้างอิง (มินนะโนะนิฮงโกะ, 2549: 152; พจนานุกรม
ประเด็นในข้อ 1 และ 2 เช่นเดียวกัน คือ อธิบายค�ำ รูปประโยคภาษาญี่ปุ่น, 2554: 78-79; กุญแจสู่ 200
ยกย่องว่าเป็นค�ำพูดแสดงความเคารพทีผ่ พู้ ดู มีตอ่ ผูฟ้ งั ประโยคพื้นฐาน, 2546: 194-201) ไม่ได้เน้นการ
หรือบุคคลที่ก�ำลังกล่าวถึงอยู่ ใช้ค�ำยกย่องแสดงการ สร้างความเข้าใจในหลักเกณฑ์ดังกล่าวอย่างละเอียด
กระท�ำหรือสถานการณ์ของผูฟ้ งั หรือบุคคลทีก่ �ำลังกล่าว เนื่องจากข้อจ�ำกัดเรื่องเวลาที่ต้องเรียนรูปไวยากรณ์
ถึง (มินนะโนะนิฮงโกะ, 2549: 152; พจนานุกรม หลายรูป ข้อจ�ำกัดเรื่องข้อมูลเชิงความถี่ในการใช้ว่า
รูปประโยคภาษาญี่ปุ่น, 2554: 78-79; กุญแจสู่ 200 รูปภาษาสุภาพเป็นรูปที่ใช้ในชีวิตประจ�ำวันค่อนข้าง
ประโยคพื้นฐาน, 2546: 194-201) การอธิบาย มาก และข้อจ�ำกัดเรือ่ งเนือ้ หาทีบ่ รรจุในหนังสือเรียนที่
เช่นนี้ครอบคลุมการใช้ภาษาสุภาพส่วนหนึ่งแต่อาจ ไม่ครอบคลุมหลักการน�ำไปใช้ ข้อจ�ำกัดต่างๆ ข้างต้น
ไม่ครอบคลุมลักษณะการน�ำไปใช้จริงในภาษาญี่ปุ่น สามารถจัดการได้หากใช้กระบวนการส�ำรวจ วิจัย
เช่น การอธิบายหลักการเลือกใช้ค�ำยกย่องว่าเป็น เพื่อคัดเลือกและศึกษารูปไวยากรณ์โดยประเด็นเน้น
ค�ำพูดแสดงความเคารพที่ผู้พูดมีต่อผู้ฟังหรือบุคคลที่ ย�้ำ 4 ข้อได้มาจากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับ
ก�ำลังกล่าวถึงอยู่ โดยไม่ได้เชื่อมโยงกับประเด็นข้อ 1 ภาษาสุภาพ วิเคราะห์ตัวอย่างการใช้จริง ออกแบบ
ลักษณะสถานการณ์แบบใดที่ควรใช้อาจท�ำให้ผู้เรียน กระบวนการสอนตามองค์ความรูท้ ไี่ ด้จากเอกสารและ
แต่งประโยคลักษณะต่อไปนี้ น�ำไปใช้สอนในรายวิชาภาษาญี่ปุ่นที่ผู้วิจัยรับผิดชอบ
(1) 毎週、日本語のテストがあるから、私 โดยวิเคราะห์หลักการน�ำไปใช้ทีละประเด็นต่อไปนี้
たちは に日本語を勉強します。 (寺村, ประเด็นข้อ 1 ลักษณะสถานการณ์แบบใด
1990: 351 (ล�ำดับที่ 5946)) ที่ควรใช้ภาษาสุภาพ หลักการส�ำคัญคือต้องให้ผู้เรียน
ประโยค (1) ใช้ お楽しみ ผิด ที่ถูก เข้าใจสถานการณ์ที่ควรใช้ “ภาษาสุภาพ” ก่อน ซึ่ง
คือ 私たちは楽しく日本語を勉強します ประเด็น สถานการณ์สนทนากับบุคคลลักษณะต่อไปนี้มีการ
ผิดพลาดที่ระบุในงานของ 寺村 คือ การใช้ค�ำกริยา ใช้ภาษาสุภาพมากที่สุด จัดอันดับร้อยละที่มีการใช้
วิเศษณ์ผิด แต่เมื่อใช้หลักการใช้ค�ำยกย่องเป็นเกณฑ์ มากที่สุดได้ดังนี้5 (1) สถานการณ์พูดกับคนอายุ
ในการวิเคราะห์จะเห็นได้ว่าผู้เรียนไม่เข้าใจว่ากรณี มากกว่า (ร้อยละ 83.3) (2) สถานการณ์พดู กับคนทีม่ ี
สถานการณ์ที่ตนเองเป็นผู้กระท�ำกริยาจะไม่สามารถ ฐานะสูงกว่า (ร้อยละ 81.9) (3) สถานการณ์พูดกับ
ใช้รูปภาษาแบบยกย่อง เช่น お楽しみに ได้ ทั้งนี้ คนที่ไม่รู้จัก (ร้อยละ 79.3) (4) สถานการณ์พูดกับ
อาจเกิดจากการเข้าใจว่าเป็นค�ำพูดแสดงความเคารพ คนที่ตนเองเคารพ (ร้อยละ 64.7) (5) สถานการณ์

5 ที่มา จากผลการสำ�รวจ 文化庁 (2011:11)

42
การวิเคราะห์รูปไวยากรณ์จากคลังข้อมูลภาษาสู่การเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่น: กรณีศึกษารูปไวยากรณ์ “ภาษาสุภาพ”
ณัฏฐิรา ทับทิม

อยากยกย่ อ งฝ่ า ยตรงข้าม (ร้อยละ 39.1) (6) เมื่อย้อนดูค�ำอธิบายในหนังสือมินนะโนะนิฮงโกะมี


สถานการณ์อยากให้ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลราบรืน่ ค�ำอธิบายหลักการเลือกใช้ค�ำยกย่อง คือ ใช้แสดงการ
(ร้อยละ 38.5) (7) สถานการณ์พูดกับคนที่ไม่รู้จัก กระท�ำหรือสถานการณ์ของผู้ฟังหรือบุคคลที่ก�ำลัง
(กับคนที่คิดว่าอายุน่าจะน้อยกว่า) (ร้อยละ 36.2) กล่า วถึ ง ส่วนค�ำถ่อ มตนใช้แสดงการกระท�ำหรื อ
(8) สถานการณ์แสดงความเป็นทางการ (ร้อยละ สถานการณ์ของผู้พูดหรือคนในครอบครัวหรือคนที่
33.5) (9) สถานการณ์ขอร้องให้อีกฝ่ายท�ำบางอย่าง ผู้พูดคิดว่าเป็นคนในครอบครัว ประเด็นข้อ 2 นี้
(ร้อยละ 33.1) (10) สถานการณ์อยากให้อีกฝ่าย สามารถอธิบายเสริมได้เพื่อให้ผู้เรียนสามารถแยกการ
เห็นชอบกับเรื่องที่ตนพูด (ร้อยละ 10.5) และ (11) ใช้ได้ชดั เจนว่ากรณีเป็นการกระท�ำหรือสถานการณ์ของ
สถานการณ์อยากแสดงความเป็นผูม้ มี ารยาท (ร้อยละ คนที่เราควรยกย่องใช้ค�ำยกย่อง กรณีเป็นการกระท�ำ
10.3) หรือสถานการณ์ของเราควรใช้ค�ำถ่อมตน เช่นตัวอย่าง
การอธิบายโดยเริ่มจากสถานการณ์ที่ควร (2) ข้างต้น ผู้พูดเลือกใช้ค�ำยกย่องเนื่องจากการ
ใช้ภาษาสุภาพตามสถานการณ์ข้างต้นจะท�ำให้ผู้เรียน กระท�ำ (いらっしゃいます・お帰りになる) เป็นการ
ไม่ ยึ ด ติ ด แค่ ส ถานการณ์ บ างสถานการณ์ เช่ น กระท�ำของคนทีค่ วรยกย่องซึง่ ก็คอื นายผูห้ ญิงของบ้าน
สถานการณ์พูดกับคนอายุมากกว่า สถานการณ์พูด (3) 台湾のファンへメッセージを ヨン
กับคนที่มีฐานะสูงกว่า เนื่องจากในการน�ำไปใช้จริงมี ジュン:台湾家族(ファン)の皆さん、台湾に こ
หลายสถานการณ์6 とができず申し訳ございません。(Yahoo!ブログ,
(2) 大奥さまは、ただいま、外出中でいら 2008)
っしゃいますが、そのほどなく、あの、すぐにお帰り ประโยคนี้เลือกใช้ค�ำถ่อมตน 伺う เนื่องจาก
になると思いますので。(惑乱の華,1995) เป็นการกระท�ำของ ヨンジュン คนที่อยู่ฝั่งเดียวกับ
ผู ้ พู ด ประโยคนี้ คื อ คนรั บใช้ ใ นบ้ า นพู ด กั บ
ผู้พูด สถานการณ์ของประโยคคือสถานการณ์อยาก
คนภายนอกที่ไม่รู้จักซึ่งเป็นหลักการใช้ตามลักษณะ แสดงความรู้สึกเป็นทางการ หรือสถานการณ์พูด
สถานการณ์พูดกับคนที่ไม่รู้จัก ส่วนการพูดถึงการ กับคนที่ตนเองเคารพ เนื่อ งจากเป็นแฟนคลับที่มี
กระท�ำของผู้ที่ก�ำลังถูกกล่าวถึงอยู่คือนายผู้หญิงซึ่ง อุปการคุณ เป็นต้น การออกแบบแบบฝึกการใช้เพือ่ ฝึก
เป็นคนที่ควรยกย่องโดยใช้รูปภาษายกย่องนั้นเป็น ประเด็นนี้ คือ ให้สถานการณ์เช่นเดียวกับการฝึกใน
หลักการเลือกใช้ค�ำยกย่อง ค�ำถ่อมตนซึง่ เข้ากับหลักการ ประเด็นข้อ 1 แต่เปลีย่ นรูปค�ำกริยาหรือค�ำนามให้เป็น
ข้อ 2 การฝึกการใช้ประเด็นข้อ 1 สามารถออกแบบแบบ รูปทัว่ ไปเพือ่ ให้ผเู้ รียนพิจารณาว่าสถานการณ์ทตี่ อ้ งใช้
ฝึกโดยน�ำตัวอย่างประโยคทีม่ คี �ำยกย่องและค�ำถ่อมตน ภาษาสุภาพนี้ควรใช้เป็นรูปค�ำยกย่องหรือค�ำถ่อมตน
แล้วให้ผู้เรียนวิเคราะห์ว่าเข้ากับสถานการณ์ใดใน 11 เช่นแบบฝึกต่อไปนี้
สถานการณ์ข้างต้นหรืออาจมีบางสถานการณ์ที่ไม่เข้า (4) 【研修会の受付で】
กับสถานการณ์ใดๆ 分からないことがありましたら、あちらの席
ประเด็ น 2 หลั ก การเลื อ กใช้ ค�ำยกย่ อ ง にいます者たちが説明します。
ค�ำถ่อมตนเมื่อผู้เรียนเข้าใจสถานการณ์การใช้ภาษา ตอบค�ำถามรูปภาษาที่ควรใช้คือ ก. ค�ำ
สุภาพแล้ว หลักการต่อมาทีต่ อ้ งเรียนรูเ้ พือ่ ให้เข้าใจและ ยกย่อง หรือ ข. ค�ำถ่อมตน
น�ำไปใช้ได้คือเมื่อใดเลือกใช้ค�ำยกย่องและค�ำถ่อมตน (5) 首相は一生懸命やると言いました。

6 ตัวอย่าง (2) (3) (8) (9) นำ�มาจากคลังข้อมูลภาษา BCCWJ


43
วารสารญี่ปุ่นศึกษา
Japanese Studies Journal

ตอบค�ำถามรูปภาษาที่ควรใช้คือ ก. ค�ำ สู่ 200 ประโยคพื้นฐาน (2546: 203) ที่กล่าวถึงแต่


ยกย่อง หรือ ข. ค�ำถ่อมตน ยังไม่ละเอียดเพียงพอ) งานวิจัยนี้น�ำหลักการใช้ お・
ประเด็นข้อ 3 หลักการเลือกใช้รูปค�ำยกย่อง ご มาจากงานวิจย ั ของ 村田 (2009) โดยสรุปได้ดงั นี้
รูปค�ำถ่อมตน หลักการเลือกใช้รปู ค�ำยกย่องหรือค�ำถ่อม (8) 念のため再発行の請求書とお振り
ตนใช้หลักการทั่วไปเหมือนกันคือเมื่อค�ำกริยามีรูป 込み用紙を同封いたしますので、お手数とは存じ
เฉพาะหรือรูปพิเศษ เช่น いらっしゃいます、おり ますが、○月○日までにお振り込みくださいますよ
ます、召し上がります、いただきます ฯลฯ ให้ใช้รูป うお願い申し上げます。(そのまま使える手紙・はが

เฉพาะก่อน กรณีค�ำกริยาไม่มีรูปเฉพาะให้ใช้รูปสร้าง きの文例事典, 1998)


เช่น お帰りになる、お書きする、お持ちです ฯลฯ お・ご มีหลักเกณฑ์การใช้ทส ี่ �ำคัญนอกเหนือ
หรือใช้รปู られる ซึง่ เป็นรูปทีส่ ภุ าพน้อยทีส่ ดุ หลักการ จากชนิดค�ำทีเ่ กิดร่วม คือ หลักการทีว่ า่ ประโยคทีน่ �ำไป
ข้อ 3 เป็นประเด็นที่ถูกเน้นย�้ำในการเรียนการสอน ใช้เป็นประโยคที่ใช้ยกย่องผู้ที่ควรยกย่องหรือไม่ หาก
ทั้งลักษณะแบบฝึกหัดการเปลี่ยนรูปค�ำกริยาให้เป็น ใช่ค�ำนามทีเ่ กีย่ วข้องสัมพันธ์กบั ผูท้ คี่ วรยกย่องก็จะใช้
รูปเฉพาะ รูปสร้างหรือรูป られる (กุญแจสู่ 200 お หรือ ご กับค�ำนามนั้น เช่นใช้ お กับค�ำนาม 振

ประโยคพื้นฐาน, 2546: 203) ทั้งนี้แบบฝึกการใช้รูป り込み用紙 หรือ 手数 ซึ่งเป็นอาการนามของผู้ซื้อ

ค�ำยกย่องและค�ำถ่อมตนสามารถใช้แบบฝึกลักษณะ (お客) เปรียบเทียบกับค�ำนาม 再発行の請求書


ตัวอย่าง (4) กับ (5) ได้ เมือ่ ผูเ้ รียนตอบ ก. ค�ำยกย่อง ซึ่งไม่ใช่ค�ำนามที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับผู้ซื้อ (ผู้ซื้อ
หรือ ข. ค�ำถ่อมตน หลังจากนัน้ ให้ผเู้ รียนฝึกเขียนรูปของ ไม่ได้เป็นเจ้าของอาการนาม) ไม่จ�ำเป็นต้องใส่ お เพือ่
ค�ำที่เป็นค�ำตอบนั้น เช่น แสดงความเคารพสุภาพ อีกตัวอย่างหนึ่ง เช่น
(6) 【研修会の受付で】 (9) はい、先生はよく、お鞄を私に 預
分からないことがありましたら、あちらの席 けましたから。でも、私に預けるときは、いつも鍵を

にいます者たちが説明します。 かけていました。(処刑病棟, 1993)


รูปภาษาที่ควรใช้คือ ก. ค�ำยกย่อง หรือ ข. หลักการใช้ お ที่ปรากฏในตัวอย่าง (9)
ค�ำถ่อมตน ใช้หลักการเดียวกับประโยค (8) สิ่งของที่เกี่ยวข้อง
説明します:ご説明します สัมพันธ์กับผู้ที่ควรยกย่อง ในที่นี้คือ 鞄 สามารถใส่
(7) 首相は一生懸命やると言いました。 お เพื่อแสดงความสุภาพได้
รูปภาษาที่ควรใช้คือ ก. ค�ำยกย่อง หรือ ข. นอกจากหลั ก การใช้ お・ご กั บ ค�ำนาม
ค�ำถ่อมตน 言いました:おっしゃいました ค�ำคุณศัพท์ ค�ำกริยาวิเศษณ์ดังกล่าวแล้ว หลักการ
ประเด็นข้อ 4 หลักการใช้ お・ご ลักษณะ สร้างรูป お・ごーする กับค�ำกริยากรณีค�ำถ่อมตน
ค�ำที่เกิดกับ お・ご ที่ถูกกล่าวถึงหรือใช้ในการสอน ก็เป็นสิง่ ส�ำคัญทีค่ วรให้ผเู้ รียนรับรูแ้ ละสร้างประสบการณ์
หลายครั้งคือค�ำที่มีในภาษาญี่ปุ่นมาแต่เดิมใช้ お ค�ำ ให้ผเู้ รียนเข้าใจหลักการสร้าง お・ごーする กับค�ำกริยา
ทีม่ าจากภาษาจีนใช้ ご แต่ยงั ไม่ได้กล่าวถึงหลักการน�ำ กรณี ค�ำยกย่ อ งไม่ มี ข ้ อ จ�ำกั ด เรื่ อ งความหมายของ
ไปใช้ในประโยคว่าเวลาใดควรใส่ お・ご หน้าค�ำนาม ค�ำกริยา (ค�ำกริยาความหมายไม่ดไี ม่นยิ มน�ำมาท�ำเป็น
ค�ำคุ ณ ศั พ ท์ ห รื อ ค�ำกริ ย าวิ เ ศษณ์ (จากการส�ำรวจ ภาษาสุภาพ) แต่กรณีค�ำถ่อมตน ค�ำกริยาทีจ่ ะใช้ในรูป
หนังสือเรียนที่บรรจุภาษาสุภาพมีเพียงหนังสือกุญแจ お・ごーする ได้นั้นต้องมีความหมายว่า “มีผู้รับการ

44
การวิเคราะห์รูปไวยากรณ์จากคลังข้อมูลภาษาสู่การเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่น: กรณีศึกษารูปไวยากรณ์ “ภาษาสุภาพ”
ณัฏฐิรา ทับทิม

กระท�ำ” เป็นส่วนประกอบความหมาย เช่นใช้ ご相 รูปไวยากรณ์ในข้อสอบวัดระดับฯ จ�ำนวน 7 รูป มี


談する และ お誘いする ได้ เพราะมีผู้รับการกระท�ำ เพียง 1 รูปเท่านัน้ ที่มีความถี่เกิน 5,001 ครั้ง คิดเป็น
“ปรึกษา” “ชวน” ซึง่ ผูร้ บั การกระท�ำคือผูไ้ ด้รบั ความ สัดส่วนร้อยละ 14.28 ในขณะที่กลุ่มความถี่ระดับ 5
เคารพสุภาพจากผู้กระท�ำกริยาไปด้วย ส่วนค�ำที่ไม่มี ครั้ง จ�ำนวน 7 รูป มีรูปที่มีความถี่การใช้จริงตั้งแต่
ความหมายผู้รับการกระท�ำ เช่นค�ำว่า 運転する、考 5,001 ครั้งขึ้นไปจ�ำนวน 4 รูป มีสัดส่วนมากกว่า
える ไม่สามารถใช้ในรูป xお運転する และ x お考 ร้อยละ 57.14 ในกลุ่มความถี่ระดับอื่นๆ มีสัดส่วน
えする ได้ รูปไวยากรณ์ที่มีความถี่เกินกว่า 5,001 ครั้งเท่ากับ
จากการศึกษาตัวอย่างการใช้จริง เอกสารวิจยั ร้อยละ 19, 13.51, 33.33 และ 22.66 ตามล�ำดับ ส่วน
ที่เกี่ยวข้องกับภาษาสุภาพและประสบการณ์การสอน ที่สอดคล้องคือภาษาสุภาพซึ่งเป็นรูปไวยากรณ์ที่พบ
ภาษาสุภาพของผูว้ จิ ยั พบว่าหลักการอธิบายทีน่ �ำเสนอ ความถี่สูงสุดทั้งในข้อสอบวัดระดับฯ และคลังข้อมูล
ทั้ง 4 ประเด็นข้างต้นครอบคลุมเพียงพอที่จะท�ำให้ ภาษา BCCWJ และเป็นรูปไวยากรณ์ที่พบในการ
ผูเ้ รียนน�ำไปใช้ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับสถานการณ์ ส�ำรวจรูปไวยากรณ์ระดับต้นในงานวิจัยของ 江田・小
ต่างๆ รายละเอียดการสอนภาษาสุภาพที่ปรากฏใน 西、岩田 และ 森 จากผลดังกล่าวอาจกล่าวได้ว่าการ
หนังสือเรียนภาษาญี่ปุ่นเน้นประเด็นข้อ 2-3 ในส่วน คัดเลือกรูปไวยากรณ์เพื่อน�ำมาใช้สอนควรน�ำข้อมูล
ของข้อ 1 มีการอธิบายแต่ไม่ครอบคลุมสถานการณ์ จากหลายๆ แหล่งคลังข้อมูลภาษาประกอบกันซึ่ง
ที่สามารถน�ำไปใช้ได้ทั้งหมดและจากภาษาที่ใช้จริง เป็นไปตามแนวทางของ 駒田編 (1990) ที่น�ำเสนอ
ก็จะเห็นว่ามีสถานการณ์ที่หลากหลายกว่าที่น�ำเสนอ แนวทางแก้ไขการสอนรูปไวยากรณ์ที่ไม่จ�ำเป็นว่าจะ
ในหนังสือเรียน ส่วนหลักการใช้ในข้อ 4 เป็นข้อที่ ต้องมีการคัดเลือกว่าสอน “อะไร” จากการศึกษาวิจยั
ไม่ค่อยมีการกล่าวถึงมากนัก แต่ในงานวิจัยวิเคราะห์ ก่อน แล้วเข้าสู่กระบวนการสอน “อย่างไร” ดังเช่น
ภาษามีการศึกษาไว้หลายแง่มุม การน�ำองค์ความรู้ที่ งานวิจยั นีท้ นี่ �ำเสนอกระบวนการคัดเลือกรูปไวยากรณ์
ได้จากการศึกษาภาษามาสู่การเรียนการสอนเป็นเรื่อง จากแหล่งข้อมูล 2 แหล่งและศึกษาเอกสารทีเ่ กีย่ วข้อง
ที่ต้องเกิดขึ้นเพื่อให้การเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่นมี กับรูปภาษาสุภาพผสมผสานกับประสบการณ์การสอน
ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด การเลื อ กรู ป ไวยากรณ์ แ ละ รูปดังกล่าวจึงได้มาซึง่ การสอนภาษาสุภาพ “อย่างไร”
หลักการอธิบายรูปไวยากรณ์จงึ ควรอาศัยกระบวนการ 4 ประเด็นที่ควรเน้นย�้ำในการสอนดังที่ได้น�ำเสนอ
ส�ำรวจ ค้นคว้าวิจัยทั้งจากคลังข้อมูลภาษาที่ใช้จริง
และจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ได้เนื้อหาข้อมูลที่ 6. บรรณานุกรม
เป็นประโยชน์ต่อผู้เรียน ณัฏฐิรา ทับทิม. (2558). การศึกษารูป させる
ที่ปรากฏในหนังสือเรียนกับสภาพการใช้จริงใน
5. สรุป ภาษาเขียนของคนญีป่ นุ่ . เอกสารหลังการประชุม
จากที่กล่าวมาทั้งหมดสรุปได้ว่าความถี่ของ วิ ช าการระดั บ ชาติ ญี่ ปุ่ น ศึ ก ษาในประเทศไทย
รูปไวยากรณ์ระดับกลางที่ปรากฏในคลังข้อมูลภาษา ครั้งที่ 8 (ภาษาและวรรณคดี), 2-16. สมาคม
ประเภทข้ อ สอบวั ด ระดั บ ความสามารถทางภาษา ญี่ปุ่นศึกษาแห่งประเทศไทย.
ญี่ปุ่นมีระดับความถี่ทั้งที่สอดคล้องและไม่สอดคล้อง มินนะโนะนิฮงโกะ เล่ม 4: แบบเรียนภาษาญี่ปุ่นระดับ
กับการน�ำไปใช้จริงในกลุ่มความถี่ระดับ 6 ครั้งของ ต้น. (2549). กรุงเทพฯ: ภาษาและวัฒนธรรม.

45
วารสารญี่ปุ่นศึกษา
Japanese Studies Journal

มูลนิธญิ ปี่ นุ่ . (2555). Kaigai no nihongokyouiku 庵功雄 (2000)「教育文法に関する覚書」『一橋大


no genjou- nihongokyouikukikan 学留学生センター紀要』(3), 33-41.
chousa・2006 year [online]. Retrieved 庵功雄・高梨信乃・中西久実子・山田敏弘 (2000)
June 20, 2014, from www.jfbkk.or.th 『初級を教える人のための日本語文法ハンド
ブック』東京: スリーエーネットワーク.
(In Japanese).
岩田一成 (2014)「口頭表現出現率から見た文法
มูลนิธญ
ิ ปี่ นุ่ . (2556). การอบรมภาษาญีป่ นุ่ ในโครงการ
シラバス」『公開シンポジウム―シラバス作成
Sakura Network. [เอกสารประชาสัมพันธ์].
を科学にする―日本語教育に役立つ多面
กรุงเทพฯ : ผู้แต่ง. 的な文法シラバスの作成』, 17-26.
ยูตากะ คูซานางิ. (2552). เคโกะ ภาษาญี่ปุ่นเพื่อ 江田すみれ・小西円 (2008)「3種類のコーパスを
เข้าสังคมญี่ปุ่น. แปลจาก 敬語ネィティブにな 用いた 3 級4 級文法項目の使用頻度調査
ろう!!. แปลโดยเสาวนีย์ นากางาวา. กรุงเทพฯ: とその考察」『日本女子大学紀要』57, 1-28.
ภาษาและวัฒนธรรม. 駒田聡他編 (1990)『中・上級日本語教科書文型
วิโรจน์ อรุณมานะกุล. (2553). ภาษาศาสตร์คลัง 索引』東京 :くろしお.
ข้อมูล : หลักการและการใช้. กรุงเทพฯ : โครงการ 小浦方理恵 (1999)「北部タイにおける日本語教育
เผยแพร่ ผ ลงานวิ ช าการ คณะอั ก ษรศาสตร์ の現状と課題-交流型日本語教育の試み」
『お茶の水女子大学比較日本学教育研究セン
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ター研究年報お茶の水女子大学比較日本学
เอทสึโกะ โทโมมัทสึ, จุง มิยาโมะโตะ, และมาซาโกะ
教育研究センター編』6, 179-187.
วากุริ. (2003). กุญแจสู่ 200 ประโยคพื้นฐาน
寺村秀夫 (1990)『外国人学習者の日本語誤用
ภาษาญี่ ปุ่ น ชั้ น ต้ น และชั้ น กลาง. แปลจาก 例集ー特別推進研究日本語の普遍性と個
どんなときどう使う日本語表現文型200初・
別性に関する理論的及び実証的研究』大
中級. แปลโดยวีรวรรณ วชิรดิลกและน้ำ�ทิพย์ 阪大学.
เมธเศรษฐ. กรุงเทพฯ: ภาษาและวัฒนธรรม. ブッサバー・バンチョンマニー (2009)「タイにおけ
Chen, P. H. and Yamamoto H. (2008). る日本語教育・特集「海外での日本語教育
Shinbunniokerunihongo no chuukyuujo- 事情」『東京外国語大学日本研究教育年
ukyuubunkei no shiyouhinndonikansuru- 報』, 117-122.
chousakenkyuu. Bull. of Yamagata Univ, 文化庁 (2011)『平成23年度国語に関する世論調
Educ Sci, 14(3),251-259. (In Japanese). 査』東京: 文部省文化局.
村田志保 (2009)「日本語教育での接頭辞「お」の
Group Jammassy. (2554). พจนานุกรมรูปประโยค
付く語」『名古屋市立大学大学院人間文化研
ภาษาญี่ปุ่น. แปลจาก 日本語文型辞典. แปล
究科紀要』(12), 205-219.
โดยบุษบา บรรจงมณี, ปราณี จงสุจริตธรรม,
森篤嗣 (2011)「『現代日本語書き言葉均衡コーパ
ประภา แสงทองสุข, และวันชัย สีลพัทธ์กุล. ス』コアデータにおける初級文法項目の出現
กรุงเทพฯ: ภาษาและวัฒนธรรม. 頻度」『日本語教育文法のための多様なアプ
ローチ』東京:くろしお.

46

You might also like