You are on page 1of 34

วารสารภาษาและภาษาศาสตร ปที่ 31 ฉบับที่ 2 มกราคม – มิถุนายน 2556

หนวยสรางกรรมวาจกในภาษาไทย:
การวิเคราะหในแนวไวยากรณหนาที่นิยมแบบลักษณภาษา
Passive Constructions in Thai:
An analysis in the Framework of Functional-Typological Grammar

อัญชลี สิงหนอย วงศวัฒนา


บทคัดยอ
บทความวิจัยนี้วิเคราะหหนวยสรางกรรมวาจกในภาษาไทยตามแนวไวยากรณหนาที่นิยมแบบลักษณ
ภาษา เพื่อแสดงระบบของหนวยสรางกรรมวาจก ในภาษาไทย และความสัมพันธ เชิงหนาที่ ระหวางหนวยสราง
กรรมวาจกกับหนวยสรางทางไวยากรณอื่น ที่เกี่ยวของ โดยพิจารณาที่ปริบททางวัจนปฏิบัติศาสตรและ
สัมพันธสารรวมดวย ขอคนพบในงานวิจัยนี้ ไดแสดงความกาวหนาในการศึกษาวิเคราะหหนวยสรางกรรมวาจก
ในภาษาไทยรวมทั้งแบบลักษณภาษาในอาเซียนอีกดวย

Abstract
This research article aims at analyzing passive construction in Thai language by using
Functional-Typological Grammar framework. Relatively pragmatic and discourse context, the research
found the identification of Thai passive construction system and the elaborated relationship among
passive construction and other related construction. This study makes the contribution to Thai
language grammar as well as to research on ASEAN languages typology.

1. ความนํา
จากการศึกษาเกี่ยวกับหนวยสรางกรรมวาจก (passive voice) ในภาษาไทยที่ผานมา 1 ทํา 0

ใหเราทราบกันดีวากรรมวาจกเปนประโยคที่เทียบไดหรือแปรมาจากประโยคกรรตุวาจก (active
voice) เชน

กรรตุวาจก: หมากัดแมว
กรรมวาจก: แมวถูก/โดนหมากัด

ในการแปรจากกรรตุวาจกดังกลาวเปนกรรมวาจกนั้นประธานของประโยคกรรตุวาจก
เปลี่ยนไปอยูในตําแหนงอื่นที่ไมใชประธานในประโยคกรรมวาจก กรรมของประโยคกรรตุวาจก

1
อาจเรียกแตกตางกันไป เชน “ประโยคกรรม ” (พระยาอุปกิตศิลปสาร , 2499 และ จินดา งามสุทธิ , 2522)
“หนวยสราง ถูก” (Pongsri Lekawatana 1970) “ประโยครับ” (พรพิลาส เรืองโชติวิทย, 2524) ฯลฯ

1
วารสารภาษาและภาษาศาสตร ปที่ 31 ฉบับที่ 2 มกราคม – มิถุนายน 2556

เปลี่ยนเปนประธานของประโยคกรรมวาจก และกริยาสกรรมในประโยคกรรตุวาจกบงชี้ดวยคําวา
“ถูก/โดน”
นอกจากโครงสราง ดังกลาวแลว ยังมีงานวิจัยจํานวนหนึ่งที่กลาวถึงรูปแบบ โครงสราง
และตัวบงชี้ของกรรมวาจกวามีในลักษณะอื่นๆ ที่ไมเปนที่รูจักสําหรับคนทั่วไปดวย ดังตอไปนี้

(1) แมวถูก/โดน(หมา)กัด______________________ นัยเชิงลบทั่วไป


(2) อุปกรณเหลานี้ถูกใช(โดยผูเชี่ยวชาญ)__________ เชิงวิชาการ
(3) นองถูกขโมยเงิน___________________________ ยกเฉพาะเจาของ(เงินนอง)
(4) เขาถูกออกจากราชการ______________________ กริยาอกรรม
(5) แดงถูกดําสั่งใหฆาหมู_______________________ ซับซอน: มีอนุพากย
(6) เขาไดรับเชิญไปงานเลี้ยง____________________ นัยเชิงบวก
(7) รถยนตฮอนดาผลิตอยางดี(โดยบริษัทญี่ปุน)_____ ไมมีตัวบงกรรมวาจก
(8) เตียงนี้นอนสบาย__________________________ ประธานสถานที่

หนวยสรางกรรมวาจกชนิดตางๆ ที่พบปรากฏในภาษาไทยเหลานี้ อมรา ประสิทธิรัฐสินธุ


(2549) ไดแสดงแนวทางการศึกษาวิเครา ะหในทฤษฎีตางๆ ทั้งในอดีตและปจจุบัน ตลอดจนได
แสดงความแตกตางไวโดยใชเกณฑที่บงความแตกตาง อันไดแก กรรมวาจกพื้นฐานกับกรรมวาจก
ไมพื้นฐาน กรรมวาจกประกอบรูปกับแบบคําเติม กรรมวาจกแบบเปนกลางกับแบบราย กรรม
วาจกแบบประโยคกับแบบคําศัพท กรรมวาจกตรงกับกรรมวาจกออ ม และกรรมวาจกแทกับกรรม
วาจกเทียม
อยางไรก็ตาม ยังมีความจําเปนที่ตองศึกษาวิจัยเกี่ยวกับกรรมวาจกในภาษาไทยตอไป
ดวยเหตุผลดังนี้คือ 1) ยังมีโครงสรางในลักษณะอื่นๆ อีกจํานวนหนึ่งที่ทําหนาที่เปนกรรมวาจก ซึ่ง
ยังไมมีงานวิจัยใดกลาวถึงหรือจัดใหเปนกรรมวาจก 2) ยังไมไดมีการกลาวถึงหนวยสรางประโยค
ที่เปนที่มาของกรรมวาจกชนิดตางๆ เชน ประโยคที่มีภาคแสดงเปนกริยาเรียง ประโยคที่รับอนุ
พากยเติมเต็ม ประโยคเนนสวนตาง (contrastive focus clauses) และประโยคเนนแกนความ
(marked topic clauses) และ 3) การศึกษาที่ผานมาวิเคราะหหนวยสรางกรรมวาจกโดยมีขอบเขต
จํากัดที่ระดับประโยค ไมไดพิจารณาปริบทประกอบ จึงทําใหการวิเคราะหขาดขอมูลที่สําคัญไป
และ 4) ยังไมมีงานวิจัยใดแสดงใหเห็นวากรรมวาจกในลักษณะตางๆ นั้นมีความสัมพันธเชื่อมโยง
กันอยางไร และมีความสัมพันธกับหนวยสรางอื่นๆ ที่ ไมใชกรรมวาจกอยางไรบาง ซึ่งการแสดง
ความสัมพันธเชื่อมโยงดังกลาวจะทําใหเราเห็นถึงภาพรวมหรือระบบของหนวยสรางกรรมวาจก
และทราบที่มาที่ไปของหนวยสรางกรรมวาจกในภาษาไทย อันจะทําใหมีความชัดเจนสามารถตอบ
ประเด็นปญหา ดังที่อมรา ประสิทธิรัฐสินธุ (2549) ไดกลาวไววา

2
วารสารภาษาและภาษาศาสตร ปที่ 31 ฉบับที่ 2 มกราคม – มิถุนายน 2556

“...ยังมีหนวยสรางในภาษาไทยที่นาศึกษาอีก เชน หนวยสรางยายกรรมไวหนาประโยค


(เชน เรื่องนี้กรรมการพิจารณาแลว) หนวยสรางกริยา มี (เชน หนังสือเลมนี้มีการแปลเปน
หลายภาษา) ซึ่งทําหนาที่คลายหนวยสรางกรรมวาจก แตมีโครงสรางแตกตางกัน ซึ่ งนา
ศึกษาในแงความสัมพันธทางหนาที่ระหวางหนวยสรางดังกลาวอยางยิ่ง”

การวิจัยนี้เปนการวิเคราะหหาระบบของหนวยสรางกรรมวาจกในภาษาไทย โดยมีประเด็น
การศึกษาแบงออกเปน 1) เพื่อสํารวจและศึกษาโครงสรางและวากยสัมพันธของหนวยสรางกรรม
วาจกที่ปรากฏใชในรูปแบบตางๆ 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางหนวยสรางกรรมวาจกชนิด
ตางๆ และ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางหนวยสรางกรรมวาจกและหนวยสรางไวยากรณอื่น
ที่เกี่ยวของ การศึกษาวิเคราะ หกระทําในกรอบของทฤษฎีไวยากรณหนาที่นิยมแบบลักษณภาษา
(Functional-Typological Grammar) โดย Givón (1990, 2001) ขอมูลที่ใชการศึกษาเปนเอกสาร
และหนังสือที่ครอบคลุมทั้งปริบทในเชิงวิชาการและที่ไมเปนในเชิงวิชาการ

2. หนาที่ของหนวยสรางกรรมวาจก
เพื่อใหมีความเขาใจเกี่ยวกับหนวยสรางกรรมวาจกไดอยางชัดเจนยิ่งขึ้น จะขอกลาวถึง
หนาที่ใชเชิงอรรถศาสตรและวัจนปฏิบัติศาสตรของกรรมวาจกรวมดวยกันกับหนวยสรางอื่นๆ ที่มี
ลักษณะคลายกัน หนวยสรางกรรมวาจกเปนวาจกแบบลดการถายผานชนิดหนึ่ง (de-transitive
voice) ในบรรดาวาจกแบบลดการถายผานหลายชนิด หรือกลาวอีกนัยหนึ่งไดวาเปนวาจกที่มี
กริยาสกรรมแตมีคุณสมบัติของกริยาสกรรมลดลง ซึ่งเปนไปในลักษณะที่ตรงขามกับกรรตุวาจก
(active-direct voice) กลาวคือ ในขณะที่กรรตุวาจกเปนวาจกที่มีผูกระทําเดนในระดับที่เปน
ประธานและมีกริยาซึ่งเปนเหตุการณแบบถายผาน (transitive event) หรือที่เรียกวากริยาสกรรม
เชน ตํารวจกวาดลางยาบา แตวาจกแบบลดการถายผานมีผูกระทําที่ไมเดนเทา และมีกริยาสกรรม
ที่ลดการถายผาน (de-transitive) เชน ยาบาถูก กวาดลาง ซึ่งกริยาขาดคุณสมบัติของกริยาสก รรม
ทั่วไปคือไมมีกรรมมารับ และผูกระทําไมปรากฏเนื่องจากสามารถคาดเดาได เปนตน หนาที่ของ
หนวยสรางแบบลดการถายผานอาจแบงกลาวไดเปนในเชิงอรรถศาสตรและวัจนปฎิบัติศาสตรดังนี้

2.1. หนาที่ในเชิงอรรถศาสตร
อรรถศาสตรของวาจกแบบลดการถายผานจะเขาใจไดดีโดยการศึ กษาความหมายที่เปน
ตนแบบของเหตุการณแบบถายผานดังนี้ (Hopper and Thompson, 1980 อางถึงใน Givón,
2001)
1) ผูกระทํา (agent) : ตนแบบของเหตุการณแบบถายผานมีผูกระทําที่กอการกระทําขึ้น
(initiating) โดยใชแรงกาย (active) อยางเจตนา (volitional) และควบคุมเหตุการณ
(controlling) นั้นได ผูกระทําจึงเปนสาเหตุที่เดน (salient cause) ของเหตุการณนั้น

3
วารสารภาษาและภาษาศาสตร ปที่ 31 ฉบับที่ 2 มกราคม – มิถุนายน 2556

2) ผูทรงสภาพหรือผูถูกกระทํา (patient) : ตนแบบของเหตุการณแบบถายผานมีผูทรง


สภาพเปนผูที่รับการกระทําอยางไมเจตนา (non-volitional) ไมไดใชแรงกาย
(inactive) ไมสามารถควบคุมการกระทํา (non-controlling) และไดรับผลจากการ
กระทําที่ทําใหผูทรงสภาพเปลี่ยนแปลงไป ผูทรงสภาพจึงเปนผูไดรับผลกระทบที่เดน
(salient effect) จากการกอเหตุการณนั้น
3) กริยา (event) : ตนแบบของกริยาประโยคแบบถายผานเปนเหตุการณที่กระชับแนน
(compact) สมบูรณ (perfective) เปนลําดับ (sequential) และเกิดจริง (realis)

ประโยคกรรตุวาจก เชน ตํารวจ กวาดลาง ยาบา ดังที่ไดกลาวไปขางตนเปนอยาง


เหตุการณแบบถายผานตนแบบนี้ไดดี ซึ่งมี ตํารวจ เปนประธานผูกระทําตนแบบ ยาบา เปนกรรม
ผูทรงสภาพตนแบบ และ กวาดลาง เปนกริยาสกรรมตนแบบหนวยสรางวาจกแบบลดการถายผาน
เกี่ยวของกับหลักการถายผานทั้ง 3 ประการดังกลาวโดยลดสภาพ ความเปนผูกระทํา ผูทรงสภาพ
และกริยาตนแบบลง โดยแบงกลาวไดเปน 2 กลุม ไดแก วาจกแบบลดการถายผานเชิง
อรรถศาสตร ซึ่งมีความแตกตางไปจากก ารถายผานตนแบบปรากฏอยูภายใตขอบเขตของ
เหตุการณระดับประโยค (event-clause) และวาจกแบบลดการถายผานในเชิงวัจนปฎิบัติศาสตร
ซึ่งมีความแตกตางไปจากการถายผานตนแบบปรากฏอยูนอกเหนือออกไปจากขอบเขตของ
เหตุการณระดับประโยค แตจะเปนในระดับปริบทเชิงสัมพันธสาร (discourse context) วาจกแบบ
ลดการถายผานในเชิงอรรถศาสตร ไดแก วาจกสะทอนกลับ (reflexive voice) วาจกกันและกัน
(reciprocal) และวาจกกลาง (middle voice) สวนวาจกแบบลดการถายผานในเชิงวัจนปฎิบัติ
ศาสตร ไดแก กรรมวาจก (passive voice) วาจกสลับเปลี่ยน (inverse voice) และวาจกคานกรรม
วาจก (anti-passive voice) ตัวอยางดังนี้

วาจกสะทอนกลับ: อํานวยยิงตัวเอง (กรรตุวาจก: อํานวยยิงคน)


วาจกกันและกัน: อํานวยและอํานาจยิงกัน (กรรตุวาจก: อํานวยและอํานาจยิงคน)
วาจกกลาง: ประตูปด (กรรตุวาจก: เขาปดประตู)
กรรมวาจก: ประตูถูกปด (กรรตุวาจก: เขาปดประตู)
กรรมสลับเปลี่ยน: ขาวสมชายกินแลว (กรรตุวาจก: สมชายกินขาวแลว)
วาจกคานกรรมวาจก: สมชายกินแลว (กรรตุวาจก: สมชายกินแลว)

2.2. หนาที่ในเชิงวัจนปฏิบัติศาสตร
ในขณะที่หนวยสรางวาจกแบบลดการถายผานในเชิงอรรถศาสตรแตกตางกันในประเด็นที่
ผูกระทําจงใจใชแรงกระทําฯหรือไม การที่ผูทรงสภาพเปนผูรับผลการกระทําฯหรือไม และการที่
กริยากระชับแนนสมบูรณฯ หรือไม คุณสมบัติเหลานี้จะไมเปลี่ยนแปลงเมื่อมีการลดการถายผาน
ในการใชภาษาหรือในเชิงวัจนปฎิบัติศาสตร ในเชิงวัจนปฎิบัติศาสตรหนวยสรางวาจกแบบลดการ
4
วารสารภาษาและภาษาศาสตร ปที่ 31 ฉบับที่ 2 มกราคม – มิถุนายน 2556

ถายผานแตละประเภทจะแปรเปลี่ยนไปตามการใช ที่เปนเรื่องของการเนนใหเปนแกนความ
(topicality) โดยอาจเนนผูกระทําหรือการก (case) อื่น ซึ่งมักเปนผูทรงสภาพ เปนเหตุใหการก
สองหนวยที่ปรากฏในเหตุการณเดียวกันนั้นมีความเปนแกนความมากนอยตางกัน สามารถ
เปรียบเทียบความเปนแกนความของผูกระทําและผูทรงสภาพในกรรตุวาจกและวาจกแบบลดการ
ถายผานทั้งสามประเภท (วาจกสลับเปลี่ยน กรรมวาจก และวาจกคานกรรมว าจก ) ไดดังนี้
(ดัดแปลงจาก Givón, 2001, p.93)

กรรตุวาจก: ผูกระทําเปนแกนความมากกวาผูทรงสภาพซึ่งยังคงเปนแกน
ความอยู
เชน คนรายเผาโรงเรียนวอด
วาจกสลับเปลี่ยน: ผูทรงสภาพเปนแกนความมากกวาผูกระทําซึ่งยังคงเปนแกน
ความอยู
เชน โรงเรียนคนรายเผาวอด

กรรมวาจก: ผูกระทําถูกลดความเดน จึงเหลือผูทรงสภาพเทานั้นที่เปน


แกนความ
เชน โรงเรียนถูกเผาวอด
วาจกคานกรรมฯ: ผูทรงสภาพถูกลดความเดนจึงเหลือแตผูกระทําเทานั้นที่เปน
แกนความ
เชน คนรายเผาวอด
วาจกแบบลดการถายผานทั้ง 3 ชนิดดังกลาวเปนเพียงหนวยสรางตนแบบที่ภาษาตางๆ
โดยทั่วไปมักบงดวยกระบวนการทางไวยากรณ และในบางภาษาก็มีไวยากรณจําแนกชนิดวาจก
ยอยๆ ออกไปอีกหลายชนิด โดยทั่วไปอัตราการปรากฏของหนวยสรางวาจกแบบลดการถายผาน
ประเภทตางๆ จะมีนอยกวาหน วยสรางกรรตุวาจกมาก และ ก็จะปรากฏในอัตราสวนที่แตกตางกัน
ในตัวบทแตละประเภทดวย

2.3. หนาที่ในการลดบทบาทผูกระทํา
กรรมวาจกเปนหนวยสรางที่เปนคูสลับใชกับหนวยสรางกรรตุวาจก ซึ่งมีการเลือกใชมาก
ที่สุดในบรรดา หนวยสรางวาจกแบบลดการถายผานเชิงวัจนปฏิบัติศาสตร จะสลับใชเมื่อตองการ
ลดบทบาทหรือความเดนของผูกระทําลงโดยผูกระทําอาจไมปรากฏหรือยังคงปรากฏอยูแตมี
บทบาทสําคัญนอยกวาการกอื่น (มักเปนผูทรงสภาพ ) ทําใหการกนั้นๆ เดนขึ้นมาเปนแกนความ
แทน กรรมวาจกสวนใหญ ประมาณรอยละ 80 พบใชสื่อสารโดยไมมีผูกระทําปรากฏ ปริ บทการใช
ภาษาที่เปนเหตุใหมีการลดบทบาทผูกระทํามีหลายกรณี อยางนอยปรากฏดังนี้

5
วารสารภาษาและภาษาศาสตร ปที่ 31 ฉบับที่ 2 มกราคม – มิถุนายน 2556

ผูกระทําไมมีตัวตน (non-referential) เชน ...แมถึงกับอาปากคางเมื่อเห็นจํานวนเงินที่


นํามาให กลัววาจะถูกขโมยแมรีบบอกใหนองชายปดประตูบาน...

ผูกระทําไมมีใครรูหรือไมสามารถคนหาได (unknown) เชน เขาถูกฆาตายอยางปริศนา

ผูกระทําอางตามไดจากขอความกอนหนา (anaphoric) เชน พี่ใหญฟานถึงกับแปลกใจที่


ฉันผานการคัดเลือก…นางจับไหลฉันแลวพูดวา “มา ขาจะแปลงโฉมใหเจาเอง ” ในหองแตงตัวของ
นางนั่นเองที่ฉันถูกแปลงโฉมเปนเจาหญิง (ผูกระทําคือพี่ใหญฟาน)

ผูกระทําอางนํากอนขอความที่ตามมา (cataphoric) เชน แกวน้ํานั้นถูกสงตอไป จนกระทั่ง


น้ําหมด สาวๆ คอยเริ่มรูสึกสบายขึ้น...(ผูกระทําคือสาวๆ)

ผูกระทําคาดเดาไดตามหลักการโดยทั่วไป (generic) ที่เปนที่เขาใจกันของผูคนในสังคม


วัฒนธรรมนั้นๆ เชน ชีวิตของฉันถูกลิขิต ไวกอนที่จะไดเกิดมาเสียอีก (ผูกระทําคือความเชื่อวาฟา
กรรม ชะตา ฯลฯ ลิขิตชีวิตคน)

ผูกระทําคาดเดาไดตามหลักสากลทั่วไป (universal) ที่ไมวาผูคนในสังคมใดๆ ก็เขาใจได


เชน ...ทําทาเหมือนจิ้งหรีดที่ถูกจับปน กอนถูกปลอยใหกัดกัน (ผูกระทําคือคนเทานั้น)

ผูกระทําเปนผูเขียน (author) เชน คนในหมูบานจําแนกไดเปนหลายประเภท

ผูกระทํากลาวไวในประโยคกรรมวาจกดวย แตไมสําคัญเปนแกนความ (less topical) เชน


ตัวหนังสือมองไมชัด เพราะถูกหิมะชะจางไปบางสวน...

3. โครงสรางและวากยสัมพันธของหนวยสรางกรรมวาจก
โดยทั่วไปแลวกรรมวาจกแบงตามโครงสรางไดเปน 2 ลักษณะใหญๆ ไดแก กรรมวาจก
เลื่อนกรรม (promotional passive) ดังเชนที่ปรากฏในภาษาไทย โลกถูกสรางโดยประเจา และ
กรรมวาจกไมเลื่อนกรรม (non-promotional passive) เชน เขาจายคาน้ําที่ไหน หรือแบงตาม
ความหมายที่เปนผลกระทบที่เกิดกับประธานของกรรมวาจก ไดแก กรรมวาจกนัยเชิงลบ เชน
แมวถูกหมากัดตาย และกรรมวาจกที่ไมเปนนัยเชิงลบ (non-adversative passive) เชน ชาวบาน
ไดรับแจกผาหม อยางไรก็ตามไมวาจะเปนการแบงในลักษณะใดก็จะมีความหมายที่แตกตางกันใน
แงของการไดรับผลกระทบของประธาน ดังที่ Kenaan (1985) ไดกลาวไววา “if a language

6
วารสารภาษาและภาษาศาสตร ปที่ 31 ฉบับที่ 2 มกราคม – มิถุนายน 2556

has two or more distinct passives, they are likely to differ semantically with
respect to the degree of subject affectedness”.
หนวยสรางกรรมวาจกในภาษาไทยมีลักษณะที่หลากหลาย นอกจากจะพบในทุกลักษณะ
ดังกลาวแลวยังมีลักษณะยอยๆ ที่หลากหลายออกไปอีก โดยมีโครงสรางและวากยสัมพันธทั้งที่
เปนกรรมวาจกตนแบบ (prototypical passives) ซึ่งมีคุณสมบัติทางโครงสรางแ ละวากยสัมพันธ
ของกรรมวาจกชัดเจนและปรากฏโดยทั่วไปเปนจํานวนมาก และกรรมวาจกที่ลดความเปนตนแบบ
(less prototypical passives) ซึ่งมีโครงสรางที่แตกตางไปจากหนวยสรางกรรมวาจกตนแบบ
เนื่องจากมีที่มาจากหนวยสรางประเภทอื่นๆ ที่มีการเปลี่ยนแปลงหนาที่ไวยากรณมาทําห นาที่
เปนกรรมวาจก หนวยสรางกรรมวาจกที่มาจากการเปลี่ยนแปลงจึงมีรูปที่เปนกึ่งของเดิมกับหนาที่
ใหม เนื่องจากรูปหรือโครงสรางเปลี่ยนไดชากวาหนาที่ในการสื่อสาร เฉกเชนเดียวกันกับ
โครงสรางทางชีวภาพ เชนขาหลังของปลาวาฬที่เคยเปนสัตวบกเมื่อ 65 ลานป ที่มี การปรับเปลี่ยน
ไดชากวาหนาที่ในการดําเนินชีวิต ซึ่งปจจุบันกระดูกสวนของขาหลังก็ยังคงมีอยูโดยเปนอวัยวะ
ภายในที่มีขนาดเล็กไมไดใชทําหนาที่ในการเดินอีกตอไป
Keenan (1985) และ Givón (1990b) ไดกําหนดคุณสมบัติทางโครงสรางและ
วากยสัมพันธของหนวยสรางกรรมวาจกตนแบบไวดังนี้
1) โครงสรางประโยคกรรมวาจกจะสลับใชกับประโยคกรรตุวาจก
2) การกที่ไมใชผูกระทําในกรรตุวาจกถูกเลื่อนระดับเปนประธานในกรรมวาจก
3) ผูกระทําหรือประธานในกรรตุวาจกถูกลดระดับเปนไมปรากฏหรือปรากฏเปนการก
เลือกได
4) ภาคแสดงกริยาของกรรมวาจกจะถูกกํากับดวยกริยาอื่น
เมื่อถือตามคุณสมบัติดังกลาว ในภาษาไทยปรากฏหนวยสรางกรรมวาจกที่มีคุณสมบัติ
ของกรรมวาจกตนแบบครบถวนทุกประการ เชน โลกถูกสรางโดยประเจา เปนประโยคที่สามารถ
ใชสลับกับประโยคกรรตุวาจก พระเจาสรางโลก ไดจากการเลื่อนระดับการกผูทรงสภาพ โลก ซึ่ง
เปนกรรมในกรร ตุวาจกไปเปนประธานในกรรมวาจก และลดระดับผูกระทํา พระเจา ซึ่งเปน
ประธานในกรรตุวาจกไปเปนการกเลือกไดปรากฏในตําแหนงที่ไมสําคัญเทาประธานและกรรม
และภาคแสดงกริยา สราง ถูกกํากับดวยกริยาอื่นเปน ถูกสราง นอกจากนี้ยังพบกรรมวาจกใน
โครงสรางที่นอกเหนือไปจากกรรมวาจก ตนแบบนี้อยางหลากหลาย ซึ่งลดความเปนตนแบบลงไป
ในระดับตางๆ ไมเทากัน โครงสรางและวากยสัมพันธของกรรมวาจกตนแบบและกรรมวาจกที่ลด
ความเปนตนแบบในภาษาไทยมีรายละเอียดกลาวไดดังตอไปนี้

7
วารสารภาษาและภาษาศาสตร ปที่ 31 ฉบับที่ 2 มกราคม – มิถุนายน 2556

3.1. หนวยสรางกรรมวาจกตนแบบ: หนวยสรางกรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงลบ

รูปแบบและโครงสรางมูลฐาน
หนวยสรางกรรมวาจกตนแบบในภาษาไทยเปนหนวยสรางกรรมวาจกเลื่อนกรรม
(promotional passive) ที่เปนนัยเชิงลบ (adversative passive) พบปรากฏทั่วไป (ทั้งในปริบท
เชิงวิชาการและไมเปนเชิงวิชาการ ) เปนจํานวนมากที่สุดในบรรดาหนวยสรางกรรมวาจ กทั้งหมด
เปนอัตราสวนรอยละ 57.5 โดยทั่วไปหนวยสรางกรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงลบมีรูปแบบที่บง
ดวยกริยาชวย ถูก หรือ โดน (ในบางปริบทอาจพบวามีคําวา ตอง เปนตัวบงดวย ) ซึ่งมาจากคํา
แสดงสัมผัส ในโครงสรางที่มีการเลื่อนกรรมในกรรตุวาจกคูเทียบไปเปนประธานในกรรมวาจก
แสดงไดดวยแผนภูมิตนไม ดังนี้

กรรตุวาจก
ประธาน กริยาวลี
กริยา กรรม
คนราย เผา โรงเรียน
กรรมวาจก
ประธาน กริยาวลี
กริยาชวย กริยา
โรงเรียน ถูก เผา(วอด)

ในกรณีที่กริยาสกรรมในกรรตุวาจกอยูในโครงสรางกริ ยาเรียง (serial verbs) ซึ่งเปนหนวยสรางที่


พบปรากฏทั่วไปเปนลักษณะเดนในภาษาไทย เมื่อสลับใชเปนกรรมวาจก กริยาชวย ถูก จะ
ปรากฏหนากริยาคําแรกเสมอ แมวากรรมที่ถูกเลื่อนขึ้นมาเปนประธานนั้นจะเปนกรรมของกริยา
คําหลังๆ ก็ตาม เชน

กรรตุวาจก: คนรายบุกเขาไปลอบทํารายเขา
กรรมวาจก: เขาถูกบุกเขาไปลอบทําราย 2 1

*เขาบุกเขาไปลอบถูกทําราย

2
แตกตางจากที่ อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ (2549) ซึ่งจัดใหโครงสรางลักษณะนี้เปนกรรมวาจกเทียมเนื่องจาก ถูก
กํากับหนากริยาอกรรม เชน สุดาถูกมาสัมภาษณวันพรุงนี้ แตในที่นี้จะพิจารณาวากริยาที่คําวา ถูก กํากับ คือ
กริยาสกรรม สัมภาษณ ไมใช มา ซึ่งอยูในกริยาเรียงชุดเดียวกัน โดย ถูก จะปรากฏหนากริยาคําแรกเสมอ
8
วารสารภาษาและภาษาศาสตร ปที่ 31 ฉบับที่ 2 มกราคม – มิถุนายน 2556

การไดรับผลกระทบนัยลบของประธาน
ในการใชภาษาโดยทั่วไปที่ไมเปนเชิงวิชาการนั้น กรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงลบสวน
ใหญ ซึ่งพบในอัตราสวนรอยละ 87 มีประธานที่ไดรับผลกระทบเชิงลบจากการกระทําซึ่งตีความได
จากปริบท ไมวากริยาจะมีนัยเชิงลบหรือไมใชเชิงลบก็ตาม เชน โรงเรียนถูกเผาวอด (กริยานัยเชิง
ลบ) สมชายถูกเชิญออกจากที่ประชุม (กริยานัยไมใชเชิงลบ แตมีปริบท ออกจากที่ประชุม บงให
ทราบวาประธานไดรับผลเชิงลบ) ฯลฯ ดังนั้นจึงเปนเหตุผลที่จะยังคงเรียกกรรมวาจกชนิดนี้วาเปน
กรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงลบได สวนกรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงลบที่ประธานไมไดรับ
ผลกระทบเชิงลบนั้นปรากฏในการใชภาษาทั่วไปในอัตตราสวนที่นอยกวา โดยมักปรากฏในปริบท
การใชภาษาที่เปนเชิงวิชากา ร เชน ภาพพิมพจะถูกผลิตเมื่อมีผูสั่งทําเทานั้น ธงชาติไทยถูกเชิญ
ขึ้นสูยอดเสา ฯลฯ สอดคลองกับ อมรา ประสิทธิรัฐสินธุ (Prasithrathsint, 2001 และ อมรา ประ
สิทธิรัฐสินธุ, 2549) ที่ไดแสดงไววาปจจุบัน ถูก ไมจํากัดอยูที่กรรมวาจกนัยเชิงลบเทานั้น

ตารางที่ 1 อัตราการปรากฏของกรรมวาจกนัยเชิงลบในความหมายสองนัยในปริบทสองประเภท

เปนเชิงวิชาการ ไมเปนเชิงวิชาการ เฉลี่ย


ความหมาย
ความถี่ รอยละ ความถี่ รอยละ ความถี่ รอยละ
ปรากฏเปนนัยเชิงลบ 58 31 335 87 393 69
ไมปรากฏเปนนัยเชิง 51 13 178 31
127 69
ลบ
รวม 185 100 386 100 571 100

ขอจํากัดของกรรมและการกที่เลื่อนระดับ
ในภาษาไทยกรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงลบสวนใหญเปนการเลื่อนกรรมตรงที่เปนการก
ผูทรงสภาพและผูรับในกรรตุวาจกไปเปนประธานกรรมวาจก เชน เขาถูกยิง (เลื่อนผูทรงสภาพ )
เขาถูกสอนหนังสือ (เลื่อนผูรับ ) ฯลฯ สวนกรรมตรงการกอื่นๆ เชน เครื่องมือ สถานที่ ฯลฯ ไม
พบวาสามารถเลื่อนเปนประธานได เชน

กรรตุวาจก: เขายิงปน (กรรมตรงเครื่องมือ)


กรรมวาจกเลื่อนเครื่องมือ: *ปนถูกยิง
กรรตุวาจก: เขากลับบาน (กรรมตรงสถานที่)
กรรมวาจกเลื่อนสถานที:่ *บานถูกกลับ

9
วารสารภาษาและภาษาศาสตร ปที่ 31 ฉบับที่ 2 มกราคม – มิถุนายน 2556

สวนกรรมออมในกรรตุวาจกอาจเลื่อนระดับไปเปนประธานกรรมวาจกไดถาเปนการกผูรับ
(dative-benefactive) สถานที่ (location) และที่มา (source) เสมือนวาไดรับผลกระทบจากการ
กระทําดวยเชนกัน เชน

กรรตุวาจก: เขายื่นยาบาใหเด็ก
กรรมวาจกเลื่อนผูรับ: เด็กถูกยื่นยาบาให
กรรตุวาจก: เขาวาดลายดอกไมที่ผนังหอง
กรรมวาจกเลื่อนสถานที:่ ผนังหองถูกวาดลายดอกไม
กรรตุวาจก: ตํารวจลอซื้อยาบาจากเขา
กรรมวาจกเลื่อนที่มา: เขาถูกลอซื้อยาบา

กรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงลบและกริยาอกรรม
ในบางครั้งพบเสมือนวาประโยคกรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงลบสามารถปรากฏกับกริยา
อกรรมไดดวย ดังที่กลาวไวในงานวิจัยบางงานที่ผานมาเชน เขาถูกออกจากงาน (อมรา ประสิทธิ์
รัฐสินธุ 2549) แตในที่นี้พิจารณาวา ออก เปนกริยาสกรรมโดยการอุปลักษณ (metaphor)
เชื่อมโยงมาจากกริยาสกรรม ไล ใน เขาถูกไลออกจากงาน เนื่องจากมีประโยคคูเทียบกรรตุวาจก
คือ เจานายไลเขาออกจากงาน กริยาอกรรมทั่วไปที่ไมมีที่มาที่ไปในลักษณะนี้จะไมสามารถแปร
เปนกรรมวาจกได

โครงสรางที่ผูกระทําปรากฏในลักษณะกริยาเรียง
สําหรับหนวยสรางกรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงลบที่มีผูกระทําปรากฏรวมดวยนั้น พบใน
2 โครงสรางที่แตกตางกัน โครงสรางแรกคือกริยาเรียง ซึ่งเปนกรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงลบที่
พัฒนาขึ้นมาในภาษาไทยไมไดรับมาจากการแปลมาจากภาษาอื่น กรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิง
ลบรูปแบบกริยาเรียงมีภาคแสดงประกอบ ดวยกริยาวลีสองชุด โดยชุดแรกประกอบดวยกริยาสก
รรม ถูก หรือ โดน และกรรม สวนกริยาวลีชุดที่สองประกอบดวยกริยาสกรรมอื่น แสดงไดดังนี้

กรรมวาจก
ประธาน ภาคแสดง
กริยาวลี กริยาวลี
กริยา กรรม กริยา
เขา ถูก โจร ปลน

กรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงลบรูปแบบกริยาเรียงนี้อาจจัดเปนกริยาเรียงที่มีความสัมพันธ
ของกริยาเปนแบบเหตุการณแสดงผล โดยที่ผลนั้นอาจเกิดกับประธานหรือกรรมก็ได ดังที่

10
วารสารภาษาและภาษาศาสตร ปที่ 31 ฉบับที่ 2 มกราคม – มิถุนายน 2556

กิ่งกาญจน เทพกาญจนา (2549) ไดแสดงไวเปนตัวอยางเชน ผูรายฆาตํารวจตาย (ผล: ตาย เกิด


กับกรรม) เขาปวยตาย (ผล: ตาย เกิดกับประธาน) เชนเดียวกันนี้ ประโยคกรรมวาจก เขาถูกโจร
ปลน มีผลของการปลนที่เกิดกับประธานจึงอุปมาไดวาเปนกริยาเรียงในลักษณะเดียวกัน
สาเหตุที่ไมอาจจัดใหโครงสรางกรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงลบนี้เปนกรรมวาจกที่มี
โครงสรางแบบอนุ พากยเติมเต็มเชนเดียวกันกับที่นักภาษาศาสตรหลายทานเชน
Warotamasikkhadit (1963) อมรา ประสิทธิรัฐสินธุ (2549) ฯลฯ ไดกลาวไว เนื่องจาก ถูก/โดน
ไมใชกริยาที่รับอนุพากยเติมเต็มกลุมทัศนภาวะ 3 ที่ตองมีโครงสรางของอนุพากยที่ตามมาเปน
2

ประโยคที่มีประธานเปนสิ่งที่อางรวมกันกับประธานประโยคหลักจึงไมปรากฏซ้ําอีก (equi-
deleted) แตเพียงประการเดียวเทานั้น (Givón 1990, 2001) ถูก/โดน ไมไดจัดเปนกริยารับอนุ
พากยในกลุมในกลุมใดกลุมหนึ่งดังกลาว กรรมวาจกโครงสรางนี้จึงไมนาจัดเปนโครงสรางแบบอนุ
พากยเติมเต็มได
คําวา ถูก /โดน ในโครงสรางกรรมวาจกนี้แตกตางจากกริยาเรียงโดยทั่วไปที่กริยาทุกตัว
ตางเปนกริยาแทหรือกริยาหลัก หากแต ถูก /โดน เปนคําไวยากรณ ซึ่งไดเปลี่ยนแปลงโดยผาน
กระบวนการกลายเปนคําไวยากรณ (grammaticalization) มาจากกริยาแท ดังเชนที่ปรากฏใน
ประโยค อยาถูกเตา เมื่อ ถูก/โดน ไปปรากฏในปริบทเฉพาะ คือเมื่อไปปรากฏในโครงสรางกริยา
เรียงแบบเหตุการณแสดงผลเชน เขาถูกฝนเปยกโชก (ผล: เปยกโชก เกิดกับกรรม ) และเมื่อกริยา
คําหลังไดขยายไปปรากฏเปนกริยาสกรรมด วยเชน เขาถูกฝนสาด กริยา ถูก /โดน ก็เริ่ม
เปลี่ยนแปลงโดยเกิดการเลือนความหมายไปทําหนาที่ทางไวยากรณเปนกริยาชวยบงกรรมวาจก 4 3

และโครงสรางนี้ก็ไดขยายใชทั่วไป (generalization) เชน เขาถูกงูกัด เขาถูกเธอตบ เขาถูกตํารวจ


จับ ฯลฯ

โครงสรางที่ผูกระทําปรากฏเปนกรรมออม
โครงสรางกรรมวาจกที่ปรากฏผูกระทําอีกโครงสรางหนึ่งที่นอกเหนือจากกริยาเรียง มัก
พบในปริบทภาษาเขียนเชิงวิชาการ ซึ่งเปนการปรับเปลี่ยนโครงสรางกรรมวาจกใหมโดยการนํา
โครงสรางกรรมวาจกนัยเชิงลบที่ผูกระทําปรากฏในลักษณะกริยาเรี ยงไปผสมผสานกับโครงสราง

3
กริยาที่รับอนุพากยเติมเต็มแบงไดเปน 3 กลุม ไดแก กริยาทัศนภาวะ (modality verbs) กริยาบงกระทํา
(manipulation verbs) และกริยารับรู ปริชาน และถอยคํา (perception, cognition and utterance verbs) ซึ่งรับ
อนุพากยเติมเต็มที่มีโครงสรางที่แตกตางกัน (Givón 1990, 2001)
4
Prasithrathsin (2006) ไดเสนอวิวัฒนาการหรือการเปลี่ยนแปลงไวยากรณของคําวา ถูก ที่แตกตางไปจากนี้
คือจากกริยาแทที่เปนกริยาสกรรมไปสูตัวบงกรรมวาจกไว 8 ขั้นตอน ไดแก 1) กริยาอกรรม ‘to hit on the
point’ 2) กริยาอกรรม ‘to be suitable’ 3) กริยาสกรรม ‘to suite’ 4) กริยาทัศนภาวะ (modality verb) ‘must,
have to’ 5) กริยาทัศนภาวะ ‘be affected by’ 6) กริยาทัศนภาวะ ‘adversative passive’ 7) กริยาชวย
(auxiliary verb) ‘non-adversative passive’ และ 8) อุปสรรค (prefix) ‘true passive in Thai’
11
วารสารภาษาและภาษาศาสตร ปที่ 31 ฉบับที่ 2 มกราคม – มิถุนายน 2556

ประโยคกรรมวาจกในภาษาอังกฤษซึ่งมีผูกระทําปรากฏเปนกรรมออมหรือการกเลือกไดอยูในบุพ
บทวลี by เชน He was hit by a motorcycle นั่นคือในภาษาไทยกรรมผูทรงสภาพเลื่อนไปเปน
ประธาน กริยาสกรรมบงดวยกริยาชวย ถูก /โดน เหมือนในกรรมวาจกลักษณะกริย าเรียง แต
ผูกระทําไปปรากฏเปนกรรมออมอยูในบุพบทวลีเหมือนในภาษาอังกฤษ โดยพบนําดวยคําบุพบท
โดย จาก หรือ ดวย Prasithrathsint (1984) กลาววากรรมวาจกลักษณะนี้เปนผลมาจากการแปล
ขามภาษาจากภาษาอังกฤษ ยกตัวอยางเชน
กรรตุวาจก: ระบบทุนนิยมครอบงําชาวนาไทย
ทั้งสองฝายกดดันเขา
พายุทอรนาโดทําลายเมือง
กรรมวาจกผูกระทําปรากฏเปนกรรมออม: ชาวนาไทยถูกครอบงําโดยระบบทุนนิยม
เขาโดนกดดันจากทั้งสองฝาย
เมืองถูกทําลายดวยพายุทอรนาโด

โครงสรางประโยคกรรมวาจกที่ผูกระทําปรากฏเปนกรรมออมแสดงได ดังนี้

กรรตุวาจก
ประธาน กริยาวลี
กริยา กรรม
ระบบทุนนิยม ครอบงํา ชาวนาไทย
กรรมวาจก
ประธาน กริยาวลี
กริยาชวย กริยา กรรมออม
บุพบท นามวลี
ชาวนาไทย ถูก ครอบงํา โดย ระบบทุนนิยม

“ผูกระทํา ” ที่ปรากฏในกรรมวาจกรูปแบบนี้ แทที่จริงแลวไมใชการกผูกระทําเสียทั้งหมด


ยังพบเปนการกอื่นไดดวย หรืออาจกลาวไดวา หากประธานไมใชสิ่งมีชีวิต ก็อาจเปนการกสาเหตุ
หรือการกเครื่องมือ โดยจะมีบุพบทเปนตัวบงนําการกที่แตกตางกัน หากเปนการกผูกระทํา จะ บง
นําดวย โดย และ จาก การกสาเหตุจะบงนําดวย โดย จาก และ ดวย และการกเครื่องมือจะบงนํา
ดวย ดวย ตัวอยางดังนี้

การกผูกระทํา: ชาวบานถูกอพยพโดยกองทัพภาคที่ 3
ฉันถูกตราหนาจากคนงาน

การกสาเหตุ: ชาวนาไทยถูกครอบงําโดยระบบทุนนิยม

12
วารสารภาษาและภาษาศาสตร ปที่ 31 ฉบับที่ 2 มกราคม – มิถุนายน 2556

การผลิตขาวถูกกําหนดจากระบบตลาด
เมืองถูกทําลายดวยพายุทอรนาโด

การกเครื่องมือ: ประเทศถูกทําลายดวยน้ํามือของสตรี

อัตราการปรากฏของกรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงลบที่ผูกระทําไมปรากฏและ
ปรากฏ

โครงสรางกรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงลบทั้งหมดที่กลาวมา (ทั้งกรรมวาจกที่ผูกระทําไม
ปรากฏ และกรรมวาจกที่การกผูกระทําปรากฏในทั้งสองลักษณะ ) มีความถี่การปรากฏที่แตกตาง
กันมาก โดยกรรมวาจกที่ผูกระทําไมปรากฏปรากฏมากที่สุด ไมต่ํากวารอยละ 80 จากจํานวน
กรรมวาจกเลื่อน กรรมนัยเชิงลบทั้งหมดไมวาจะปรากฏในตัวบทที่เปนเชิงวิชาการและไมเปนเชิง
วิชาการก็ตาม รองลงมาเปนกรรมวาจกที่ผูกระทําปรากฏในลักษณะกริยาเรียง โดยปรากฏในทั้ง
สองตัวบทเทากัน สวนกรรมวาจกที่ผูกระทําปรากฏเปนกรรมออมปรากฏนอยที่สุดในทั้งสองตัวบท
โดยในตัวบทที่เปนเชิงวิชาการพบมากกวาเล็กนอย ดังแสดงในตาราง

ตารางที่ 2 อัตราการปรากฏของกรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงลบ ถูก/โดน รูปแบบตางๆ

ปริบท เปนเชิงวิชาการ ไมเปนเชิงวิชาการ ภาพรวม


กรรมวาจกนัยเชิงลบ
ผูกระทําไมปรากฏ 82 87 86
ผูกระทําปรากฏเปนกริยาเรียง 11 11 11
ผูกระทําปรากฏเปนกรรมออม 7 2 3
รวม 100 100 100

ปริบทของกริยาชวยบงกรรมวาจก
สําหรับการปรากฏใชของกริยาชวยบงกรรมวาจกนั้น ถูก และ โดน ปรากฏใชในปริบทที่
แตกตางกัน โดย ถูก พบใชทั่วไปโดยมีนัยทั้งเชิงลบและบวก (พบใชโดยมีนัยเชิงลบมากกวาเชิง
บวกดังที่ไดกลาวไปขางตน ) สวน โดน พบนอยมากในภาษาเขียน โดยพบเฉพาะในปริบทที่ไม
เปนเชิงวิชาการและแสดงนัยเชิงลบเทานั้น สอดคลองกับที่ อมรา ประสิทธิรัฐสินธุ
(Prasithrathsint, 2001 และ อมรา ประสิทธิรัฐสินธุ , 2549) กลาวไววา ถูก พบกับกรรมวาจกที่ไม
เปนนัยเชิงลบดวย สวน โดน กําลังจะเขามาใชบงกรรมวาจกนัยเชิงลบแทนคําวา ถูก
นอกจากคําวา ถูก และ โดน แลวยังพบคําแสดงสัมผัสอีกคําหนึ่งคือคําวา ตอง ปรากฏใช
เปนตัวบงกรรมวาจกนัยเชิงลบไดดวย แตพบจํากัดมากเฉพาะภาษาเขียนที่เปนเชิงวิชาการบาง

13
วารสารภาษาและภาษาศาสตร ปที่ 31 ฉบับที่ 2 มกราคม – มิถุนายน 2556

กรณีเทานั้น เชน เขาตองขังเปนเวลาหลายวัน คนปวยจะตองค วบคุม ในเรื่องอาหาร อาหารนี้


ตองหามสําหรับคนปวย ฯลฯ ซึ่งใชสลับกับกริยาชวย ถูก ไดหากใชในปริบททั่วไป เชน เขาถูกขัง
เปนเวลาหลายวัน คนปวยจะถูกคะลําในเรื่องอาหาร อาหารนี้ถูกหามสําหรับคนปวย เปนตน
นอกจากนี้ยังพบในคํานามประสมที่เลียนแบบประโยค หรือเปนคํานามประสมชนิดแสดงไวยากรณ
ประโยค (อัญชลี สิงหนอย, 2548) เชน ผูตองขัง ผูตองหา ผูตองสงสัย ฯลฯ

กรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงลบแบบซับซอน
โครงสรางและวากยสัมพันธของกรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงลบที่กลาวไปแลวนั้นเปน
รูปแบบมูลฐาน (simple) ที่ไมซับซอน นอกจากนี้กรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงลบอาจปรากฏใน
รูปแบบที่ซับซอนตามความซับซอนของประโยคกรรตุวาจกคูที่สลับใ ชไดดวย ซึ่งพบเปนคูสลับใช
กับประโยครับอนุพากยเติมเต็มใน 2 รูปแบบดังนี้
1) กรรมวาจกที่สลับใชมีประธานเลื่อนมาจากกรรมตรงในอนุพากยหลัก ซึ่งกรรมนั้นเปน
ผูกระทําในอนุพากยเติมเต็มดวย เชน (อนุพากยเติมเต็มขีดเสนใต)

กรรตุวาจก: เขาบังคับฉันใหกลาวคําขอโทษ
กรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงลบแบบซับซอน: ฉันถูกบังคับใหกลาวคําขอโทษ

โครงสรางประโยคกรรตุวาจกและกรรมวาจกแบบซับซอนแสดงไดดังนี้

กรรตุวาจก
ประธาน กริยาวลี
กริยา กรรม อนุพากยฯ
ตัวบงนํา ประโยค
ประธาน กริยาวลี
กริยา กรรม
เขา บังคับ ฉัน ให Ο กลาว คําขอโทษ

กรรมวาจก
ประธาน กริยาวลี
กริยา กรรม อนุพากยฯ
ตัวบงนํา ประโยค
ประธาน กริยาวลี
กริยา กรรม
ฉัน ถูก บังคับ ให Ο กลาว คําขอโทษ

14
วารสารภาษาและภาษาศาสตร ปที่ 31 ฉบับที่ 2 มกราคม – มิถุนายน 2556

ทั้งนี้อนุพากยเติมเต็มนั้นเปนชนิดที่อยูในกลุมที่มีกริยาหลัก (matrix verb) เปนกริยา


บงกระทํา (manipulation verbs) เชน หาม ให บังคับ สั่ง กําหนด จัด ฯลฯ และกริยาปริชานและ
ถอยคํา (cognition and utterance verbs) เชน มอง นับ เขาใจ เรียก กลาวหา วิจารณ ฯลฯ

2) กรรมวาจกที่สลับใชมีประธานเลื่อนมาจากกรรมตรงในอนุพากยเติมเต็ม ทําใหมีทั้ง
ผูกระทําตรงและผูกระทําออม (หากปรากฏทั้งคู ) ผูกระทําตรงเปนกรรมของอนุพากย
หลักในกรรตุวาจก ซึ่งถูกกระทําจากประธานอีกตอหนึ่ง ประธานในอนุพากยหลักนี้จึง
เปนผูกระทําออม เชน (อนุพากยเติมเต็มขีดเสนใต)

กรรตุวาจก: ผูมีอิทธิพลสั่งคนเก็บเขา
ผูกระทําออม ผูกระทําตรง

กรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงลบแบบซับซอน: เขาถูกสั่งเก็บ

โครงสรางประโยคกรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงลบแบบซับซอนแสดงไดดังนี้

กรรตุวาจก
ประธาน กริยาวลี
กริยา กรรม อนุพากยฯ
ประธาน กริยาวลี
กริยา กรรม
ผูมีอิทธพล สั่ง คน Ο เก็บ เขา

กรรมวาจก
ประธาน กริยาวลี
กริยาชวย กริยา อนุพากยฯ
ประธาน กริยาวลี
กริยา กรรม
เขา ถูก สั่ง Ο เก็บ ________

15
วารสารภาษาและภาษาศาสตร ปที่ 31 ฉบับที่ 2 มกราคม – มิถุนายน 2556

การเลื่อนบางสวนของกรรม
กรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงลบ อาจมีการเลื่อนเฉพาะบางสวนของกรรม (partial
promotion) หากกรรมผูทรงสภาพเปนนามวลีที่ประกอบดวยคํานามหลักและสวนขยายในรูปแบบ
สิ่งถือครอง- เจาของ (inanimate prosessed-possessor) นั่นคือเลื่อนระดับเฉพาะเจาของ ที่
ครอบครองสิ่งที่ไมมี ชีวิต เชน บานเขา (คํานามหลัก- (ของ)-เจาของ ) ไปเปนประธานของกรรม
วาจก คงเหลือไวแตสิ่งที่อยูในครอบครองในตําแหนงเดิม (Singnoi, 1999) เชน

กรรตุวาจก: โจรปลนบานฉัน
กรรมวาจกเลื่อนกรรม: บานฉันถูกโจรปลน
กรรมวาจกเลื่อนบางสวนของกรรม: ฉันถูกโจรปลนบาน

เจาของและสิ่งที่อยูในครอบครอบอาจเปนสิ่งที่ไมมีชีวิตทั้งคู เชน
กรรตุวาจก: เขาตัดขาเตียง
กรรมวาจกเลื่อนกรรม: ขาเตียงถูกเขาตัด
กรรมวาจกเลื่อนบางสวนของกรรม: เตียงถูกเขาตัดขา

ถาเจาของและสิ่งที่ถูกครอบครองเปนสิ่งมีชีวิตทั้งคู ก็จะไมสามารถเลื่อนระดับเฉพาะ
เจาของได เชน
กรรตุวาจก: ครูตีนองฉัน
กรรมวาจกเลื่อนกรรม: นองฉันถูกครูตี
กรรมวาจกเลื่อนบางสวนของกรรม: *ฉันถูกครูตีนอง

กรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงลบแบบซับซอนก็อาจมีการเลื่อนบางสวนของกรรมได เชน
เขาถูกสั่งตัดคอ (กรรตุวาจก: พระจักรพรรดิสั่งทหารตัดคอเขา)
เขาถูกตัดสินประหารชีวิต (กรรตุวาจก: ผูพิพากษาตัดสินประหารชีวิตเขา)

3.2. หนวยสรางกรรมวาจกที่ลดความเปนตนแบบ

หนวยสรางกรรมวาจกที่ลดความเปนตนแบบในภาษาไทยเปนกรรมวาจกที่ไมใชนัยเชิงลบ
(non-adversative passives) นั่นคือเปนกรรมวาจกนัยเชิงบวก (positive passives) และกรรม
วาจกนัยกลาง (neutral passives) แมวาจะพบปรากฏเปนจํานวนนอยกวาหนวยสรางกรรมวาจก
ตนแบบมาก แตก็พบในหลายรูปแบบ ทั้งที่เปนแบบเลื่อนกรรมและไมเลื่อนกรรม ดังนี้

16
วารสารภาษาและภาษาศาสตร ปที่ 31 ฉบับที่ 2 มกราคม – มิถุนายน 2556

3.2.1. หนวยสรางกรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงบวก
หนวยสรางกรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงบวกเปนหนวยสรางที่มีโครงสรางและ
วากยสัมพันธเหมือนกับกรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงลบ กลาวคือ ประธานของกรรมวาจกถูก เลื่อน
มาจากกรรมของกรรตุวาจก โดยผูกระทําซึ่งมาจากประธานกรรตุวาจกถูกลดความเดนลงอาจไม
ปรากฏหรือปรากฏเปนการกเลือกไดหรือกรรมออม หากแตมีกริยาในกรรมวาจกบงดวยกริยาชวย
ไดรับ ซึ่งเปนคําประสม แสดงนัยวาประธานไดรับประโยชน ในบางปริบทอาจใชแทนกรรมวาจก
เลื่อนกรรมนัยเชิงลบเมื่อประธานไดรับผลเชิงบวก เชน

กรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงลบ: ฉันถูกเชิญ (ใหพูด)


กรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงบวก: ฉันไดรับเชิญ (ใหพูด)

กรรมวาจกชนิดนี้จึงพบปรากฏนอยมากในอัตราสวนรอยละ 5.5 ของหนวยสรางกรรม


วาจกทั้งหมด โดยพบในปริบทที่ไมเปนวิชาการมากกวา โครงสรางและวากยสัมพันธของกรรม
วาจกชนิดนี้พบใน 2 ลักษณะซึ่งมีความซับซอนตามโครงสรางของกรรตุวาจกคูสลับใช ไดแก
กรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงบวกกริยาทวิกรรม และกรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงบวกกริ ยารับอนุ
พากยเติมเติม ดังนี้

กรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงบวกกริยาทวิกรรม
กรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงบวกกริยาทวิกรรมสลับใชกับกรรตุวาจกที่เปนประโยคมูล
ฐานกริยาทวิกรรมที่มีกรรมตรงผูทรงสภาพ และกรรมออมผูรับประโยชน (dative-benefactive)
ประธานของกรรมวาจกชนิดนี้เลื่อนมาจากกรรมออมผูรับประโยชนไดเทานั้น และผูกระทําหาก
ปรากฏจะเปนกรรมออมที่บงนําดวยคําบุพบท จาก เชน

กรรตุวาจก: ทหารแจกผาหมใหชาวบาน
กรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงบวก: ชาวบานไดรับแจกผาหมจากทหาร

ประโยคกรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงบวกกริยาทวิกรรมมีโครงสรางดังนี้

กรรตุวาจก
ประธาน กริยาวลี
กริยา กรรม กรรมออม
บุพบท นามวลี
ทหาร แจก ผาหม ให ชาวบาน

17
วารสารภาษาและภาษาศาสตร ปที่ 31 ฉบับที่ 2 มกราคม – มิถุนายน 2556

กรรมวาจก
ประธาน กริยาวลี
กริยาชวย กริยา กรรม กรรมออม
บุพบท นามวลี
ชาวบาน ไดรับ แจก ผาหม จาก ทหาร

กรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงบวกกริยารับอนุพากยเติมเต็ม
กรรมวาจกนับเชิงบวกกริยารับอนุพากยเติมเต็มเปนประโยคที่มีอนุพากยเติมเต็ม
เนื่องจากสลับใชกับกรรตุวาจกที่เปนประโยครับอนุพากยเติมเต็ม กริยาของกรรมวาจกชนิดนี้เปน
กริยารับอนุพากยเติ มเต็ม ซึ่งมักไดแก การเลือก เชน เลือก คัดเลือก พิจารณา แตงตั้ง ฯลฯ การ
ชวน เชน เชิญ ชวน ฯลฯ การอนุญาต เชน อนุญาต อนุมัติ ฯลฯ การแจง เชน แจง รายงาน ฯลฯ
ผูกระทําหากปรากฏจะเปนกรรมออม บงนําดวยบุพบท จาก เชน

กรรตุวาจก: ชาวบานเลือกเขาใหเปนผูใหญบาน
คณบดีอนุมัติใหฉันลาพักผอน
สายรายงานเจาหนาที่วาจะมีการสงยาบา

กรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงบวก: เขาไดรับเลือกจากชาวบานใหเปนผูใหญบาน
ฉันไดรับอนุมัติจากคณบดีใหลาพักผอน
เจาหนาที่ไดรับรายงานจากสายวาจะมีการสง
ยาบา

ประโยคกรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงบวกกริยารับอนุพากยเติมเต็มมีโครงสรางดังนี้

กรรตุวาจก
ประธาน กริยาวลี
กริยาชวย กริยา อนุพากยฯ
ตัวบงนํา ประโยค
ชาวบาน เลือก เขา ให เปนผูใหญบาน

กรรมวาจก
ประธาน กริยาวลี
กริยาชวย กริยา กรรมออม อนุพากยฯ
บุพบท นามวลี ตัวบงนํา ประโยค
เขา ไดรับ เลือก จาก ชาวบาน ให เปนผูใหญบาน

18
วารสารภาษาและภาษาศาสตร ปที่ 31 ฉบับที่ 2 มกราคม – มิถุนายน 2556

3.3. หนวยสรางกรรมวาจกนัยกลาง
หนวยสรางกรรมวาจกที่ลดความเปนตนแบบในภาษาไทยที่นอกเหนือจากกรรมวาจก
เลื่อนกรรมนัยเชิงบวกแลว เปนกรรมวาจกนัยกลาง (non-adversative/ neutral passives) ซึ่งพบ
ในหลายรูปแบบ ทั้งที่เปนแบบเลื่อนกรรมและไมเลื่อนกรรม หนวยสรางกรรมวาจกที่ลดความเปน
ตนแบบนี้มีลักษณะคลายกับหนวยสรางประโยคประเภทอื่นๆ ที่ใชแสดงความเปนแกนความของผู
ทรงสภาพไดเชนเดียวกันกับกรรมวาจก อันไดแก หนวยสรางยายไปหนา (fronting/Y-movement)
หนวยสรางแปลงเปนนาม (nominalization) หนวยสรางกริยาสภาพการณ (adjectival resultative)
และหนวยสร างประธานไรตัวตน (impersonal-subject) ซึ่งไดเปลี่ยนแปลงไวยากรณไปทําหนาที่
เปนกรรมวาจกในบางปริบท หนวยสรางเหลานี้จึงเปนที่มาของหนวยสรางกรรมวาจกบางชนิด
สอดคลองกับที่ Givón (2001, p.92) ไดกลาวไววา

“De-transitive constructions, most conspicuously the passive, commonly


arise via re-grammaticalization of some functionally-related construction. Some of
the precursors to the passive, for example, are other de-transitive voice
constructions, either semantic or pragmatic. Others belong to functional domains
that partially overlap with the passive. The most common of the latter are:
impersonal-subject constructions, nominalizations, left dislocation, Y-movement
and adjectival resultative”

ดังนั้นจึงกลาวไดวาหนวยสรางเนนผูทรงสภาพดังกลาวอาจเปนที่มา ของหนวยสรางกรรม
วาจกที่ลดความเปนตนแบบ 4 ชนิดในภาษาไทย ซึ่งมีลักษณะคลายหนวยสรางที่มาอันไดแก
กรรมวาจกเลื่อนกรรมไปหนา (object-fronting promotional passive) กรรมวาจกเลื่อนกรรม
กริยาแปลงเปนนาม (verb-nominalization promotional passive) กรรมวาจกเลื่อนกร รมกริยา
แปลงเปนสภาพการณ (verb- adjactivization promotional passive) และกรรมวาจกไมเลื่อน
กรรมประธานไรตัวตน (impersonal non-promotional passive) หนวยสรางเนนผูทรงสภาพและ
หนวยสรางกรรมวาจกทั้ง 4 ชนิดตางก็ปรากฏใชในปจจุบัน จึงเกิดเปนหมวดหมูที่เหลื่อมซอนกัน
ระหวางหนวยสรางเนนผูทรงสภาพและหนวยสรางกรรมวาจกตนแบบ โดยสวนที่ทับซอนนั้นเปน
กรรมวาจกที่ลดความเปนตนแบบ (ดังแสดงเปนแผนภูมิ ) ดังนั้นในการระบุวาเปนหนวยสรางที่มา
หรือกรรมวาจกจะตอง อาศัยการพิจารณาหนาที่ในการสื่อสาร โดยตีความไดจากปริบทที่หนวย
สรางนั้นปรากฏ

19
วารสารภาษาและภาษาศาสตร ปที่ 31 ฉบับที่ 2 มกราคม – มิถุนายน 2556

หนวยสรางยายกรรมไปหนา หนวยสรางกริยาสภาพการณ
กรรมวาจกเลื่อนกรรมไปหนา กรรมวาจกเลื่อนกรรมกริยาสภาพการณ
กรรมวาจก
หนวยสรางแปลงเปนนาม หนวยสรางประธานไรตัวตน
กรรมวาจกเลื่อนกรรมแปลงเปนนาม กรรมวาจกไมเลื่อนกรรมประธานไรตัวตน

3.3.1. หนวยสรางกรรมวาจกเลื่อนกรรมไปหนา

หนวยสรางกรรมวาจกเลื่อนกรรมไปหนาพบเปนจํานวนมากที่สุดในบรรดาหนวยสราง
กรรมวาจกที่ลดความเปนตนแบบดวยกัน นั่นคือพบในอัตราสวนรอยละ 17 จากจํานวนชนิดของ
กรรมวาจกทั้งหมด รองลงมาจากกรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงลบซึ่งเปนตนแบบ โดยพบทั้งใน
ปริบทที่เปนเชิงวิชาการและ ไมเปนเชิงวิชาการ กรรมวาจกเลื่อนกรรมไปหนามีการเลื่อนกรรมซึ่ง
มักเปนผูทรงสภาพในประโยคกรรตุวาจกไปเปนประธานในประโยคกรรมวาจก และผูกระทํา
ปรากฏเปนการกเลือกไดหรือไมปรากฏ โดยไมมีกริยาชวยใดๆ เปนตัวบงกรรมวาจก ตองอาศัย
หนาที่ที่ปรากฏในปริบทเทานั้นที่จะบอกไดวาประโยคนั้นๆ เปนกรรมวาจกหรือไม ตัวอยางของ
กรรมวาจกเลื่อนกรรมไปหนาเปรียบเทียบกับหนวยสรางยายกรรมไปหนาซึ่งเปนที่มา หนวยสราง
กรรมวาจกตนแบบ และกรรตุวาจกคูเทียบ แสดงไดดังนี้

หนวยสรางยายกรรมไปหนา: (ฉันเก็บแตเสื้อ) กางเกงนั้นฉันทิ้ง


กรรมวาจกเลื่อนกรรมไปหนา: ทุกอยางแกะสลัก (และเปนสีทองหมด)
กรรมวาจกตนแบบ: ทุกอยางถูกแกะสลัก (และเปนสีทองหมด)
กรรตุวาจกคูเทียบ: เขาแกะสลักทุกอยาง

จะเห็นไดวาหนวยสรางกรรมวาจกเลื่อนกรรมไปหนาที่ไมปรากฏผูกระทําและหนวยสราง
ยายกรรมไปหนามีรูปแบบที่เหมือนกันคือ ผูทรงสภาพ- กริยาสกรรม แตหนาที่ในปริบทที่เปนการ
เปรียบตางที่เนน กางเกง ไมใช เสื้อ ใน กางเกงนั้นฉันทิ้ง ทําใหตองตีความวาเปนหนวยสราง ยาย
กรรมไปหนาที่นอกจากจะเปนโครงสรางที่ใชเนนผูทรงสภาพแลวยังใชเปรียบตางผูทรงสภาพอีก
ดวย ในขณะที่ประโยค ทุกอยางแกะสลัก ตองตีความวาเปนกรรมวาจก เพราะเนนผูทรงสภาพแต
เพียงประการเดียว ไมไดมีเปรียบตางจากสิ่งอื่น อีกทั้งสามารถใชสลับกับกรรตุวาจกได และ
สามารถกํากับดวยกริยาชวย ถูก หากเจตนาใหมีนัยเชิงลบไดในปริบทนี้

หนวยสรางกรรมวาจกเลื่อนกรรมไปหนาที่มีผูกระทําปรากฏมักปรากฏเปนการกเลือกได
ดังนี้

20
วารสารภาษาและภาษาศาสตร ปที่ 31 ฉบับที่ 2 มกราคม – มิถุนายน 2556

กรรตุวาจก: ฉันรางประกาศ
ใบไมปกคลุมพื้นดิน
กรรมวาจกเลื่อนกรรมไปหนา: ประกาศรางโดยฉัน
พื้นดินปกคลุมดวยใบไม
มีโครงสรางดังนี้
กรรตุวาจก
ประธาน กริยาวลี
กริยา กรรม
ฉัน ราง ประกาศ

กรรมวาจก
ประธาน กริยาวลี
กริยา กรรมออม
บุพบท นามวลี
ประกาศ ราง โดย ฉัน

หนวยสรางกรรมวาจกเลื่อนกรรมไปหนาที่ไมปรากฏผูกระทํามักจะตองมีหนวยนามรวม
อื่นเชน สถานที่ เครื่องมือหรือวัสดุ ลักษณะ ฯลฯ ปรากฏแทนในตําแหนงกรรมออมเสมอ เชน

ประกาศติดที่กําแพงเมือง ชุดตัดเย็บดวยมือ เทียบตกแตงอยางหรูหรา

นอกจากกรรมตรงผูทรงสภาพที่มักเลื่อนใหเดนแลว กรรมตรงการกอื่นๆ เชน เครื่องมือ


สถานที่ ฯลฯ ยังสามารถเลื่อนเปนประธานได ซึ่งแตกตางจากกรรมวาจกตนแบบ เชน

กรรตุวาจก: เขายิงปน(เปน)
กรรมวาจกเลื่อนเครื่องมือไปหนา: ปนยิง(เปน)
กรรตุวาจก: เขาเขาบานได
กรรมวาจกเลื่อนสถานที่ไปหนา: บานเขาได

นอกจากนี้กรรมออมสถานที่ยังสามารถเลื่อนเปนประธานในกรรมวาจกเลื่อนกรรมไปหนา
ไดดวย เชน

กรรตุวาจก: เขาปกกลายดอกไมที่ชุด
กรรมวาจกเลื่อนสถานที่ไปหนา: ชุดปกลายดอกไม

21
วารสารภาษาและภาษาศาสตร ปที่ 31 ฉบับที่ 2 มกราคม – มิถุนายน 2556

แมวากรรมวาจกเลื่อนกรรมไปหนาและหนวยสรางยายกรรมไปหนาซึ่งเปนที่มา มีรูปแบบ
ที่เหมือนกันตองอาศัยปริบทในการตีความดังที่ไดกลาวแลวไปขางตน ในดานวากยสัมพันธนั้น
หนวยสรางทั้งสองก็มีความแตกตางกัน ดังนี้

1) หนวยสรางกรรมวาจกเลื่อนกรรมไปหนาทําหนาที่แสดงผูทรงสภาพที่เดนขึ้นมาเปน
ประธานของประโยคแทนประธานผูกระทําในกรรตุวาจก ในขณะที่หนวยสรางยาย
กรรมไปหนาแสดงกรรมที่ถูกยกใหเปนแกนความ (topicalized) ซึ่งยังคงทําหนาที่เปน
กรรมตามเดิม และแสดงการเนนตาง (contrastive focus) ของขอมูล วาเปนสิ่งนั้นๆ
ไมใชสิ่งอื่น โดยมักบงดวยคําชี้เฉพาะ นั้น ซึ่งทําหนาที่บงการสลับเปลี่ยนแกนความ
วาเปนแกนความใหมที่เขามาในขอความ (Unchalee Singnoi, 2001) เชน

กรรตุวาจก: เขาดัดแปลงวัดอื่นๆ จากหองหรือสวนเกา


หนวยสรางยายกรรมไปหนา: ...วัดบางหลังสรางจากปะรําเกาที่มีอยูเดิม
สวนวัดอื่นๆ ดัดแปลงจากหองหรือสวนเกา...

2) ในทางกลับกันกับกรรมผูทรงสภาพที่ถูกยกใหเปนประธานในกรรมวาจก ผูกระทําของ
หนวยสรางกรรมวาจกเลื่อนกรรมไปหนาถูกลดระดับไปเปนการกเลือกได หรือไม
ปรากฏ ในขณะที่ผูกระทําของหนวยสรางยายไปหนาไมเปนเชนนั้น ผูกระทําหาก
ปรากฏ ตองปรากฏเปนประธานเชนเดิม (แตหากผู กระทําไมปรากฏทั้งสองหนวย
สรางจะมีโครงสรางเหมือนกัน) เชน (Singnoi, 1999)

กรรตุวาจก: บริษัทญี่ปุนผลิตรถยนตฮอนดาอยางดี

กรรมวาจกเลื่อนกรรมไปหนา:
ผูกระทําเปนการกเลือกได รถยนตฮอนดาผลิตอยางดีโดยบริษัท
ญี่ปุน
ผูกระทําไมปรากฏ รถยนตฮอนดาผลิตอยางดี

หนวยสรางยายไปหนา:
ผูกระทําเปนประธาน รถยนตฮอนดาบริษัทญี่ปุนผลิตอยางดี
ผูกระทําไมปรากฏ รถยนตฮอนดาผลิตอยางดี

22
วารสารภาษาและภาษาศาสตร ปที่ 31 ฉบับที่ 2 มกราคม – มิถุนายน 2556

3) หนวยสรางกรรมวาจกเลื่อนกรรมไปหนาสามารถสลับเปลี่ยนกับกรรมวาจกดวยกัน
ในขณะที่หนวยสรางยายกรรมไปหนาไมสามารถกระทําได เชน

กรรมวาจกเลื่อนกรรมไปหนา: บานสรางอยางดี พื้นไมถูกขัดจนมัน


กรรมวาจกนัยเชิงลบ: บานถูกสรางอยางดี พื้นถูกขัดจนมัน
หนวยสรางยายไปหนา: ฉันไมกินหมู สวนปลาฉันกิน
กรรมวาจกนัยเชิงลบ: ฉันไมกินหมู *สวนปลาถูกฉันกิน

4) กลไกทางวากยสัมพันธเชน การกลายเปนนาม สามารถเกิดกับหนวยสรางกรรมวาจก


แตไมสามารถเกิดกับหนวยสรางยายกรรมไปหนา เชน (Singnoi, 1999)

กรรมวาจกเลื่อนกรรมไปหนา: การทีร่ ถยนตฮอนดาผลิตโดยบริษัทญี่ปุน


หนวยสรางยายไปหนา: *การที่รถยนตฮอนดาบริษัทญี่ปุนผลิต

3.3.2. หนวยสรางกรรมวาจกเลื่อนกรรมกริยาแปลงเปนนาม
หนวยสรางกรรมวาจกเลื่อนกรรมกริยาแปลงเปนนามมีที่มาจากหนวยสรางแปลงเปนนาม
พบปรากฏใชนอยกวากรรมวาจกเลื่อนกรรมไปหนา โดยปรากฏรอยละ 11 จากกรรมวาจกทั้งหมด
ทั้งในปริบทที่เปนเชิงวิชาการและไมเปนเชิงวิชาการ กรรมวาจกชนิดนี้เปนหนวยสรางที่มีกรรม
ตรงผูทรงสภ าพในประโยคกรรตุวาจกถูกเลื่อนระดับเปนประธานในกรรมวาจก ประธานผูกระทํา
ในกรรตุวาจกถูกลดระดับเปนกรรมออมหรือไมปรากฏในประโยคกรรมวาจก และกริยาสกรรมถูก
แปลงเปนนามบงดวยตัวบงการแปลงเปนนาม (nominalizer) ไดแก การ ความ และ ที่ เพื่อทํา
หนาที่เปนกรรมตรงในกรรมวา จกปรากฏตามกริยาหลักซึ่งพบไดแก ไดรับ มี และ เปน หาก
ผูกระทําปรากฏจะบงดวยบุพบท ไดแก จาก ใน โดย และ ของ เชน

กรรตุวาจก: พอแมบุญธรรมเลี้ยงดูฉัน
หมูพี่นองนิยมเขา
ชางฝมือดีแกะสลักบานประตู
เจาเมืองโปรดปรานนาง

กรรมวาจกเลื่อนกรรมกริยาแปลงเปนนาม: ฉันไดรับการเลี้ยงดูจากพอแมบุญธรรม
เขาไดรับความนิยมในหมูพี่นอง
บานประตูมีการแกะสลักโดยชางฝมือดี
นางเปนที่โปรดปรานของเจาเมือง
23
วารสารภาษาและภาษาศาสตร ปที่ 31 ฉบับที่ 2 มกราคม – มิถุนายน 2556

ประโยคกรรมวาจกเลื่อนกรรมกริยาแปลงเปนนามมีโครงสรางดังนี้

กรรตุวาจก
ประธาน กริยาวลี
กริยา กรรม
พอแมบุญธรรม เลี้ยงดู ฉัน

กรรมวาจก
ประธาน กริยาวลี
กริยา กรรมตรง กรรมออม
ตัวบงนาม กริยา บุพบท นามวลี
ฉัน ไดรับ การ เลี้ยงดู จาก พอแมบุญธรรม

3.3.3. หนวยสรางกรรมวาจกเลื่อนกรรมกริยาแปลงเปนสภาพการณ
หนวยสรางกรรมวาจกเลื่อนกรรมกริยาแปลงเปนสภาพการณมีโครงสรางคลายกับ
ประโยคกริยาอกรรมที่มีประธานเปนผูทรงสภาพและมีกริยาสภาพการณ (stative verb) โดยทั่วไป
หากแตกริยาสภาพการณนั้นแปลงมาจากกริยาสกรรมโดยการใชหนวยคํา นา เติมหนากริยาสก
รรม เชน นารัก นาเกลียด นาดู นาตี ฯลฯ หนวยสรางกรรมวาจกชนิดนี้มักไมมีผูกระทําปรากฏ
เนื่องจากคาดเดาไดวาเปนตัวผูสื่อประโยคนั้น (ซึ่งอาจรวมถึงบุคคลอื่นๆ ดวย ) หนวยสรางกรรม
วาจกนี้ อมรา ประสิทธิรัฐสินธุ (2549) เรียกวา กรรมวาจกแบบคําศัพท (lexical passive) พบ
ปรากฏนอยที่สุดคือรอยละ 3.5 จากกรรมวาจกทั้งหมด โดยพบในปริบทที่เปนเชิงวิชาการมากกวา
ปริบทที่ไมเปนเชิงวิชาการ ยกตัวอยางเชน

กรรตุวาจก: ฉันสงสารตัวเอง
ฉันรังเกียจเจา

กรรมวาจกเลื่อนกรรมกริยาแปลงเปนสภาพการณ: ตัวเองนาสงสาร
เจานารังเกียจ

โครงสรางประโยคกรรตุวาจกและกรรมวาจกเลื่อนกรรมกริยาแปลงเปนสภาพการณแสดง
ไดดังนี้

24
วารสารภาษาและภาษาศาสตร ปที่ 31 ฉบับที่ 2 มกราคม – มิถุนายน 2556

กรรตุวาจก
ประธาน กริยาวลี
กริยา กรรม
ฉัน สงสาร ตัวเอง

กรรมวาจก
ประธาน กริยาวลี
ตัวแปลงกริยา กริยา
ตัวเอง นา สงสาร

อยางไรก็ตาม กรรมวาจกกริยาแปลงเปนสภาพการณบางประโยคเราไมสามารถหาคู
เทียบกรรตุวาจกไดชัดเจนดังเชนหนวยสรางกรรมวาจกทั่วไปเนื่องจากกริยาสกรรมในโครงสรางนี้
ไดมีการเปลี่ยนแปลงผานกระบวนการกลายเปนกริยาสภาพการณโดยทั่วไป ซึ่งไมไดเปนเรื่อง
แปลกเนื่องจากทิศทางการลดการถ ายผานของกริยาสกรรมสามารถไปสิ้นสุดที่กริยาแสดง
สภาพการณ เชน

เด็กคนนี้นารัก ? ฉันรักเด็กคนนี้
ขนมนี้นากินจัง ? ฉันกินขนมนี้

ลักษณะนี้พบในภาษาอื่นๆ ดวยเชนกัน ยกตัวอยางในภาษาอังกฤษ เชน ประโยคกรรม


วาจก He was born in 1980 ไมมีคูเทียบเปนกรรตุวาจก นั่นคือไมปรากฏประโยคเชน *His
mother born him in 1980 โดยมีสาเหตุมาจากการเปลี่ยนแปลงทางไวยากรณ ซึ่งเปนการ
กลายเปนคําคุณศัพท ในภาษาอังกฤษพบหลายคํา เชน born interested shocked frighten ฯลฯ
อาจกลาวตอไปอีกไดวาการเปลี่ยนแปลงทา งไวยากรณจากกริยาสกรรมเปนกริยา
สภาพการณไดผานการแผขยายเปนนัยทั่วไป (generalization) ไปปรากฏกับกริยาอกรรมดวย ดัง
จะเห็นวาสามารถใช นา เปลี่ยนกริยาอกรรมใหเปนสภาพการณไดดวย ทําใหประธานของประโยค
เปนผูทรงสภาพ เชน

ถนนนาเดิน (กริยาอกรรม: เดินบนถนน)


รถนานั่ง (กริยาอกรรม: นั่งในรถ)
เตียงนานอน (กริยาอกรรม: นอนบนเตียง)

25
วารสารภาษาและภาษาศาสตร ปที่ 31 ฉบับที่ 2 มกราคม – มิถุนายน 2556

3.3.4. หนวยสรางกรรมวาจกไมเลื่อนกรรมประธานไรตัวตน
หนวยสรางกรรมวาจกไมเลื่อนกรรมประธานไรตัวตนมีที่มาจากหนวยสรางประธานไร
ตัวตน เชน มันเจ็บใจ (ที่ฉันทําอะไรเขาไมได ) ซึ่งประธาน มัน ไมอางถึงสิ่งใด (non-referential
subject) หรือ ไมมีตัวตน (impersonal subject) ผูทรงสภาพคือ ฉัน ซึ่งเปนคนที่กลาวประโยคนี้
ออกมาก กรรมวาจกไมเลื่อนกรรมประธานไรตัวตนเปนกรรมวาจกชนิดเดียวที่ไมเลื่อนกรรม นั่น
คือคงกรรมและประธานไวในตําแหน งเดียวกันกับที่ปรากฏในกรรตุวาจก แตประธานผูกระทําไมมี
ตัวตนเหมือนหนวยสรางที่เปนที่มา ซึ่งมักแสดงดวยการใชสรรพนาม ผูกระทําจึงถือเปนการถูกลด
บทบาทในลักษณะหนึ่ง กรรมซึ่งมักเปนผูทรงสภาพจึงมีความเดนขึ้นมาแทน แตเดิมนั้นจะ
พิจารณาเฉพาะหนวยสรางกรรมวาจกเลื่ อนกรรมดังที่กลาวไปแลวขางตนเทานั้นเปนกรรมวาจก
แตหากพิจารณาตามหนาที่แลวหนวยสรางกรรมวาจกประธานไรตัวตนก็ทําหนาที่เฉกเชนกรรม
วาจกทั่วไป กรรมวาจกชนิดนี้มักปรากฏเปนหนวยสรางที่สลับใชกับกรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิง
ลบในภาษาพูดที่ไมเปนทางการ (Givón, 2001) โดยปรากฏในอัตราสวนรอยละ 5.5. จากกรรม
วาจกทั้งหมด ยกตัวอยางเชนการใหสัมภาษณของชาวบานอําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก
แกนักขาวในรายการขาวสี่โมงเย็น (4 news) ทางสถานีโทรทัศนชอง 11 วันที่ 26 กันยายน 2555
เกี่ยวกับการที่รัฐบาลจะจัดใหพื้นที่อําเภอพรหมพิรามจํานวน 5,000 ไรเปนที่รองรับน้ํา วา

“...ก็ไมไดเดือดรอนอะไรมากที่ เคาใชพื้นที่อําเภอพรหมพิราม เปนพื้นที่รับน้ํา ก็ทําใหมีที่


จับปลาขายกัน เห็นเคาจับปลากันเยอะก็ออกมาจับบาง ทําอะไรไดก็ทําไป...”

จากตัวอยางประธานไรตัวตนเปนสรรพนาม เขา ซึ่งไมไดอางถึงผูใดโดยเฉพาะเจาะจง ไม


มีคํานามใดที่ถูกกลาวนําคําสรรพนามในกรรมวาจกทั้งสองประโยคมากกอน สิ่งที่เดนในสอง
ประโยคนี้ก็คือพื้นที่อําเภอพรหมพิรามที่ใชเปนพื้นที่รับน้ํา และปลาที่จับไดเยอะ กรรมวาจก
ดังกลาวมีกรรตุวาจกคูเทียบและสามารถใชสลับเปลี่ยน กับกรรมวาจกเลื่อนกรรมตนแบบหากเปน
ภาษาเขียน ดังนี้

กรรตุวาจก: (คน)ใชพื้นที่อําเภอพรหมพิรามเปนที่
รับน้ํา
กรรมวาจกไมเลื่อนกรรมประธานไรตัวตน: เขาใชพื้นที่อําเภอพรหมพิรามเปนที่
รับน้ํา
กรรมวาจกตนแบบ: พื้นที่อําเภอพรหมพิรามถูกใช
เปนที่ รับน้ํา

กรรตุวาจก: (คน)จับปลากันเยอะ
กรรมวาจกไมเลื่อนกรรมประธานไรตัวตน: เขาจับปลากันเยอะ
26
วารสารภาษาและภาษาศาสตร ปที่ 31 ฉบับที่ 2 มกราคม – มิถุนายน 2556

กรรมวาจกตนแบบ: ปลาถูกจับกันมาก

โครงสรางประโยคกรรมวาจกไมเลื่อนกรรมประธานไรตัวตนแสดงไดในแผนภูมิ ดังนี้

ประโยค
ประธาน กริยาวลี
กริยา กรรม
กรรตุวาจก: คน จับ ปลา
กรรมวาจก: เขา จับ ปลา

ประธานของกรรมวาจกไมเลื่อนกรรมไรตัวตนพบเปนคําสรรพนาม เชน เขา เรา มัน ใคร


คน ดังแสดงเปนตัวอยาง

เขา(คนทั่วไป)จายคาประปากันที่ไหน
เรา(ใครก็ไดที่เปนคนอาน)จะพบแนวคิดของ...
มัน(ใครก็ได)ตองเสียเงิน
ใครๆ (คนทั่วไป)ก็เรียนหนังสือกัน....
วันนี้คนซื้อของกันเยอะมาก

นอกจากนี้หนวยสรางกรรมวาจกประธานไรตัวตนยังพบในรูปแบบที่ซับซอน คือเปนอนุ
พากยแฝง (embedded clause) อยูในโครงสรางปรากฏ (existential construction) โดยประธาน
อนุพากยมักเปนคําวา คน หรือ ใคร เชน

กรรตุวาจก: ไกดดูแลพวกเรา
กรรมวาจกประธานไรตัวตน: มีคนดูแลพวกเรา

โครงสรางกรรตุวาจกและกรรมวาจกประธานไรตัวตนแบบซับซอนนี้ แสดงไดดังนี้

กรรตุวาจก
ประธาน กริยาวลี
กริยา กรรม
ไกด ดูแล พวกเรา

27
วารสารภาษาและภาษาศาสตร ปที่ 31 ฉบับที่ 2 มกราคม – มิถุนายน 2556

กรรมวาจก
ประธาน กริยาวลี
กริยา อนุพากยฯ
ประธาน กริยาวลี
กริยา กรรม
Ο มี คน ดูแล พวกเรา

4. ประมวลรูปแบบกรรมวาจกและอัตราการปรากฏของหนวยสรางกรรมวาจก

รูปแบบของหนวยสรางกรรมวาจกตนแบบและกรรมวาจกที่ลดความเปนตนแบบทุกหนวย
สรางดังที่ไดกลาวไปแลวนั้น แสดงในรายละเอียดไดดังนี้

1) กรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงลบ

ภาคประธาน ภาคแสดง
ผูทรงสภาพ ถูก/โดน + กริยาสกรรม
ผูทรงสภาพ ถูก/โดน + กริยาเรียง
สถานที/่ ผูรับ/ที่มา ถูก/โดน + กริยาสกรรม + ผูทรงสภาพ
เจาของ ถูก/โดน + กริยาสกรรม + สิ่งที่ถูกถือครอง
ผูทรงสภาพ ถูก/โดน + ผูกระทํา + กริยาสกรรม
ผูทรงสภาพ ถูก/โดน + กริยาสกรรม + โดย-ผูกระทํา
ผูทรงสภาพ ถูก/โดน + กริยาหลัก + ให/วา + อนุพากย
ผูทรงสภาพ ถูก/โดน + กริยาหลัก + กริยาอนุพากย

2) กรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงบวก

ภาคประธาน ภาคแสดง
ผูทรงสภาพ ไดรับ + กริยาสกรรม + (จาก–ผูกระทํา)
ผูรับ ไดรับ + กริยาสกรรม + ผูทรงสภาพ + (จาก–ผูกระทํา)

28
วารสารภาษาและภาษาศาสตร ปที่ 31 ฉบับที่ 2 มกราคม – มิถุนายน 2556

3) กรรมวาจกเลื่อนกรรมไปหนา

ภาคประธาน ภาคแสดง
ผูทรงสภาพ กริยาสกรรม + โดย/ดวย–ผูกระทํา
ที่–สถานที่
ดวย–เครื่องมือ
อยาง–ลักษณะ

สถานที่ กริยาสกรรม + ผูทรงสภาพ + (โดย/ดวย–ผูกระทํา)

4) กรรมวาจกเลื่อนกรรมกริยาแปลงเปนนาม

ภาคประธาน ภาคแสดง
ผูทรงสภาพ ไดรับ/เปน/มี + การ/ความ/ที–่ กริยาสกรรม +(จาก/ของ/โดย/ใน–
ผูกระทํา)

5) กรรมวาจกเลื่อนกรรมกริยาแปลงเปนสภาพการณ

ภาคประธาน ภาคแสดง
ผูทรงสภาพ นา–กริยาสกรรม

6) กรรมวาจกไมเลื่อนกรรมประธานไรตัวตน

ภาคประธาน ภาคแสดง
เขา/เรา/มัน/ใคร/คน กริยาสกรรม + ผูทรงสภาพ
มี + คน/ใคร + กริยาสกรรม + ผูทรงสภาพ

การปรากฏของหนวยสรางกรรมวาจกเปนไปในอัตราสวนที่นอยมากเมื่อเทียบกับกรรตุ
วาจก ในภาษาเขียนซึ่งเปนปริบทที่หนวยสรางกรรมวาจกปรากฏมากกวาในภาษาพูดนั้น งานวิจัย
นี้พบหนวยสรางกรรมวาจกปรากฏเพียงรอยละ 4 ของหนวยสรางประโยคทั้งหมด โดยมีการ
กระจายที่แตกตางกันขอ งหนวยสรางกรรมวาจกชนิดตางๆ ทั้งที่เปนตนแบบและที่ลดความเปน

29
วารสารภาษาและภาษาศาสตร ปที่ 31 ฉบับที่ 2 มกราคม – มิถุนายน 2556

ตนแบบ ในปริบทภาษาเขียนเชิงวิชาการ (เชน หนังสือและบทความทางวิชาการ ) และภาษาเขียน


ที่ไมเปนเชิงวิชาการ (เชน นวนิยายและเรื่องสั้น) แสดงไดดังในตาราง

ตารางที่ 3 การเปรียบเทียบอัตราการปรากฏของหนวยสรางกรรมวาจกแตละชนิดในภาษาเขียน
ที่เปนเชิงวิชาการและไมเปนเชิงวิชาการ
ชนิดตัวบท เปน ไมเปน
เฉลี่ย
ชนิดหนวยสรางวาจก เชิงวิชาการ เชิงวิชาการ
ตนแบบ กรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงลบ 60 55 57.5
กรรมวาจก กรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงบวก 3 8 5.5
ที่ลดความ กรรมวาจกเลื่อนกรรมไปหนา 16 18 17
เปน กรรมวาจกเลื่อนกรรมกริยาแปลงเปนนาม 10 12 11
40 45 42.5
ตนแบบ กรรมวาจกเลื่อนกรรมกริยาแปลงเปน
5 2 3.5
สภาพการณ
กรรมวาจกไมเลื่อนกรรมประธานไรตัวตน 6 5 5.5

จากตาราง กรรมวาจกตนแบบซึ่งเปนกรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงลบพบปรากฏมากกวา
กรรมวาจกที่ไมใชตนแบบชนิดตางๆ มากหลายเทาตัว คือรอยละ 57.5 ของกรรมวาจกทั้งหมด
โดยปรากฏทั้งในตัวบทที่เปนเชิงวิชาการและที่ไมเปนเชิงวิชาการในอัตราสวนใกลเคียงกัน คือรอย
ละ 60 และ 55 ตามลําดับ กรรมวาจกที่มีอัตราการปรากฏรองจากกรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงลบ
ลงไปเปนกรรมวาจกเลื่อนกรรมไปหนา ในอัตราสวนรอยละ 17 โดยปรากฏใ นตัวบททั้งสอง
ประเภทในอัตราสวนที่ใกลเคียงกันคือ รอยละ 16 ในตัวบทที่เปนเชิงวิชาการและรอยละ 18 ในตัว
บทที่ไมเปนเชิงวิชาการ ถัดไปเปนกรรมวาจกเลื่อนกรรมแปลงเปนนาม ปรากฏในอัตราสวนรอย
ละ 11 โดยพบปรากฏในตัวบททั้งสองประเภทในอัตราสวนที่ใกลเคียงกันเชนกันคื อ รอยละ 10 ใน
ตัวบทที่เปนเชิงวิชาการและรอยละ 12 ในตัวบทที่ไมเปนเชิงวิชาการ นอกนั้นปรากฏไมเกินรอยละ
10 โดยปรากฏทั้งในตัวบทที่เปนเชิงวิชาการและไมเปนเชิงวิชาการ

5. สรุปและอภิปรายผล

หนวยสรางกรรมวาจกในภาษาไทยพบปรากฏทั้งที่เปนตนแบบและที่ลดความเปนตนแบบใน
รูปแบบตางๆ กรรมวาจก ตนแบบในภาษาไทยเปนกรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงลบ ซึ่งปรากฏ
มากที่สุดและมีคุณสมบัติของกรรมวาจกที่เปนสากลครบถวน อันไดแกการมีคูสลับเปนกรรตุวาจก
ประธานของกรรมวาจกไดรับการเลื่อนระดับมาจากกรรมของกรรตุวาจก ซึ่งไมจํากัดแคเพียงกรรม
ผูทรงสภาพเทานั้น ผูกระทําในกรรมวาจกถูกลดความเดนลงจึงไมปรากฏเปนสวนใหญ หาก
ปรากฏก็จะเปนการกเลือกได และกริยาในกรรมวาจกจะเปนกริยาสกรรมที่ลดการถายผานซึ่งถูก
กํากับโดยกริยาชวยบงกรรมวาจกไดแกคําวา ถูก/โดน และกรรมวาจกนัยเชิงลบที่ผูกระทําปรากฏ

30
วารสารภาษาและภาษาศาสตร ปที่ 31 ฉบับที่ 2 มกราคม – มิถุนายน 2556

นั้น ในภาษาไทยพบในโครงสรางที่เปนกริยาเรียงและการกเลือกได สวนกรรมวาจกที่ลดความเปน


ตนแบบลงไปนั้นเปนกรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงบวกบงดวยกริยาชวย ไดรับ และกรรมวาจกนัย
กลางจํานวนหนึ่ง ซึ่งเปนกรรมวาจกที่พบเปนจํานวนนอยและขาดคุณสมบัติของกรรมวาจกสากล
บางประการไป เชน ไมมีกริยาชวยบงกรรมวาจก ไมมีการเลื่อนการกที่ไมใชผูกระทํา หรือมี
โครงสรางเหมือนกับหนวยสรางประโยคเนนผูทรงสภาพที่ทําหนาที่อื่นๆ ซึ่งไดแก หนวยสรางยาย
ไปหนา หนวยสรางกริยาแปลงเปนนาม หนวยสรางกริยาสภาพการณ และหนวยสรางประธานไร
ตัวตน อันเปนที่มาของกรรมวาจกเลื่อนกรรมไปหนา กรรมวาจกเลื่อนกรรมกริยาแปลงเปนนาม
กรรมวาจกเลื่อนกรรมกริยาแปลงเปนสภาพการณ และกรรมวาจกไมเลื่อนกรรมประธานไรตัวตน
ตามลําดับ จึงทําใหเกิดความซ้ําซอนกันระหวางกรรมวาจกและหนวยสรางที่มา การพิจารณาวา
หนวยสรางที่ปรากฏเปนกรรมวาจกหรือไมนั้นจึงตองอาศัยปริบทในการตีความเปนสําคัญ ลักษณะ
การเปนกรรมวาจกตนแบบของกรรมวาจกทุกชนิดแสดงไดดังในตาราง

ตารางที่ 4 ลักษณะการเปนกรรมวาจกตนแบบของหนวยสรางวาจก 6 ชนิด

กรรมวาจกกริยาแปลงเปนสภาพการณ

กรรมวาจกไมเลื่อนกรรมประธานไร
กรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงบวก
ชนิดของกรรมวาจก
กรรมวาจกเลื่อนกรรมนัยเชิงลบ

กรรมวาจกกริยาแปลงเปนนาม
กรรมวาจกเลื่อนกรรมไปหนา

ลักษณะการเปนกรรมวาจกตนแบบ


ปรากฏโดยทั่วไปเปนจํานวนมาก X
โครงสรางประโยคกรรมวาจกจะสลับใชกับประโยคกรรตุวาจก X X X X X X
การกที่ไมใชผูกระทําในกรรตุวาจกถูกเลื่อนระดับเปนประธาน X X X X X
ในกรรมวาจก
ผูกระทําหรือประธานในกรรตุวาจกถูกลดระดับ X X X X X X
ภาคแสดงกริยาของกรรมวาจกจะถูกกํากับดวยกริยาอื่น X X X

งานวิจัยนี้ไดแสดงความกาวหนาในการศึกษาวิเคราะหหนวยสรางกรรมวาจกในภาษาไทย
ประการแรกงานวิจัยนี้แสดงโครงสรางของกรรมวาจกที่งานวิจัยที่ผานมาไมไดกลาวถึงและเรียกวา
เปนกรรมวาจก อันไดแก กรรมวาจกไมเลื่อนกรรมประธานไรตัวตน กรรมวาจกเลื่อนกรรม
กริยาแปลงเปนนาม กรรมวาจกเลื่อนกรรมกริยาแปลงเปนสภาพการณ ตลอดจนรูปแบบที่ซับซอน
ของกรรมวาจกชนิดตางๆ เชน กรรมวาจกที่มีกริยาเรียง กรรมวาจกที่มีอนุพากยเติมเต็ม ฯลฯ
สําหรับหนวยสรางกรรมวาจกไมเลื่อนกรรมไรตัวตนนั้น อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ (2549) ไมถือเปน
31
วารสารภาษาและภาษาศาสตร ปที่ 31 ฉบับที่ 2 มกราคม – มิถุนายน 2556

กรรมวาจก เนื่องจากมีโครงสรางไมแตกตางไปจากกรรตุวาจกแตอยางใด แตหากเราพิจารณากัน


ที่หนาที่ของภาษาซึ่งจะตองยึดถือเปนสิ่งสําคัญเนื่องจากเปนที่มาของการสรางภาษาขึ้นใชสื่อสาร
กันแลว หนวยสรางดังกลาวมีหนาที่และคุณสมบัติของกรรมวาจกสากลแมจะไมครบถวนก็ตาม อีก
ทั้งยั งมีปรากฏเปนกรรมวาจกในภาษาอื่น เชน ภาษาอังกฤษอีกดวย งานวิจัยนี้จึงนับเปนกรรม
วาจกชนิดหนึ่งที่ลดความเปนตนแบบบางประการลงไป
ความกาวหนาประการตอมา เปนการแสดงความสัมพันธระหวางหนวยสรางกรรมวาจกใน
ภาษาไทยอยางเปนระบบ ซึ่งมีปรากฏทั้งที่เปนตนแบบและที่ลดความเปนตนแบบลงไปในลักษณะ
ตางๆ มากนอยไมเทากัน ซึ่งทําใหเห็นภาพรวมของหนวยสรางกรรมวาจกในภาษาไทยไดอยาง
ชัดเจน ตลอดจนเห็นความสัมพันธระหวางระบบของหนวยสรางกรรมวาจกและหนวยสรางอื่นๆ ที่
เปนวาจกลดการถายผานเชนเดียว กัน ทําใหการมองความเปนสกรรมของกริยามีความยืดหยุน
และไมตายตัวดังเชนงานวิจัยที่ผานมา
ความกาวหนาอีกประการหนึ่งคืองานวิจัยนี้ไดแสดงความสัมพันธระหวางระหวางหนวย
สรางกรรมวาจกและหนวยสรางไวยากรณอื่นที่เกี่ยวของวาเปนที่มาของหนวยสรางกรรมวาจก
เนื่องจากมีโครงสรางเหมือนหรือคลายกัน ซึ่งไมปรากฏในงานวิจัยที่ผานมา แมวาจะมีงานวิจัยบาง
งานกลาวถึงโครงสรางกรรมวาจกที่มีที่มาจากหนวยสรางอื่น เชน หนวยสรางกรรมวาจกเลื่อน
กรรมไปหนาวาเปนโครงสรางกรรมวาจกชนิดหนึ่ง ดังเชนที่ Sindhavananda (1969) ซึ่งเปนผู พบ
โครงสรางกรรมวาจกนี้ แต Sindhavananda ก็ไมไดกลาวถึงหนวยสรางยายกรรมไปหนาวามี
ความสัมพันธกับกรรมวาจกเลื่อนกรรมไปหนาหรือไมแตอยางใด ทั้งนี้เปนผลเนื่องมาจากการ
วิเคราะหกรรมวาจกที่ผานมาไมไดพิจารณาหนาที่ของโครงสรางประโยคที่ปรากฏในปริบท
ประกอบในกรณีที่จําเปนตองกระทํา จึงไมไดแยกแยะไววาโครงสรางที่ปรากฎนั้นกําลังทําหนาที่
เปนกรรมวาจกหรือกําลังทําหนาที่ของหนวยสรางยายกรรมไปหนา ซึ่งมีหนาที่ในการเปรียบตาง
ดวย
แมวาผูวิจัยจะทําการวิจัยจากการเก็บขอมูลการใชภาษาในตัวบทภาษาเขียนซึ่งมีหนวย
สรางกรรมวาจกปรากฏมากกวาภาษาพูด ทั้งที่เปนเชิงวิชาการและไมเปนเชิงวิชาการ และไดผล
สรุปที่กาวหนาไปจากงานวิจัยที่ผานมา แตผูวิจัยก็ยังประสงคที่จะเห็นงานวิจัยที่ตอยอดตอไปอีก
เชน การวิเคราะหวิจัยกรรมวาจกในเชิงเปรียบเทียบระหวางภาษาถิ่นยอยตางๆ ที่พูดใ นประเทศ
ไทย หรือเปรียบเทียบระหวางภาษาที่สัมพันธใกลชิดอยูในตระกูลเดียวกัน ตลอดจนเปรียบเทียบ
ระหวางภาษาในกลุมอาเซียน เพื่อใหเปนการศึกษาวิจัยในเรื่องของภาษาและวัฒนธรรมที่สอดรับ
กับการที่ประเทศไทยนับเปนหนึ่งในสิบประเทศที่กําลังจะกาวเขาสูประชาคมอาเซียนป พ.ศ.2558
อันใกลนี้

32
วารสารภาษาและภาษาศาสตร ปที่ 31 ฉบับที่ 2 มกราคม – มิถุนายน 2556

เอกสารอางอิง

กิ่งกาญจน เทพกาญจนา. (2549). หนวยสรางกริยาเรียงตนแบบในภาษาไทย. ใน หนวยสรางที่มี


ขอขัดแยงในไวยากรณไทย. (น.66-173). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย.
จินดา งามสุทธิ. (2522). ภาษาศาสตรภาษาไทย. กาฬสินธุ: โรงพิมพจินตภัณฑการพิมพ .
พรพิลาส เรืองโชติวิทย. (2524). ประโยครับในภาษาไทย. วิทยานิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต,
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
พระยาอุปกิตศิลปสาร. (2499). หลักภาษาไทย. พระนคร: สํานักพิมพไทยวัฒนาพานิช.
อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ. (2549). หนวยสรางกรรมวาจก. ใน หนวยสรางที่มีขอขัดแยงในไวยากรณ
ไทย. (น.174-273). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย .
อัญชลี สิงหนอย. (2548). คํานามประสม: ศาสตรและศิลปในการสรางคําไทย. กรุงเทพมหานคร:
โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย .
อัญชลี สิงหนอย. (อยูระหวางตีพิมพ). ชุดกริยาในภาษาไทย: กริยาเรียงหรืออื่นใด. วารสารภาษา
และวัฒนธรรม. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย . มหาวิทยาลัยมหิดล.
Keenan, Edward L. (1985). Passive in the world languages. In Timothy shopen (ed.).
Language Typology and Syntactiv Description Vol 1. (pp. 283-281). Cambridge:
Cambridge University press.
Givón. (1990b). Syntax : A Functional-Typological Introduction Vol 1. Amsterdam:
J.Benjamins.
Givón. (2001). Syntax Vol II. Amsterdam: J.Benjamins.
Lekawatana, Pongsri. (1970). Verb Phrases in Thai: A Study in Deep-Case Relationships.
Ph.D. dissertation, University of Michigan.
Prasithrathsint, Amara. (1984). The Thai equivalents of the English passives in formal
writing: A study of the influence of translation on the target language. University of
Hawaii Working Papers in Linguistics. 15(1).
Prasithrathsint, Amara. (2001). The establishment of the neutral passive and the
persistence of the adversative passive in Thai. MANUSYA, Journal of Humanities,
4 (2), 77-88.
Prasithrathsint, Amara. (2006). The development of /thu uk/ as a passive marker in Thai.
Passivization and Typology, edited by Werner Abraham, and Leisio_ Larisa. John
Benjamins Publishers, 115-131.
Sindhavananda, Kanchana. (1969). The verbs in Modern Thai. Ph.D. dissertation,
University of Georgetown.
33
วารสารภาษาและภาษาศาสตร ปที่ 31 ฉบับที่ 2 มกราคม – มิถุนายน 2556

Singnoi, Unchalee. (1999). An analysis of passive constructions in Thai. In Dawn


Nordquist and Catie Berkenfield (eds.). (pp.69-86). HDLS Proceedings. New
Mexico: University of New Mexico Press.
Singnoi, Unchalee. (2001). Discourse functions of Thai demonstratives: a case on
pragmatically controlled irregularfunctions. In S. Burusphat (Ed.). (pp.645-657).
Proceedings of the Eleventh Annual Meeting of the Southeast Asian Linguistics
Society, Tempe, Arizona. Arizona State University, Program for Southeast Asian
Studies.
Warotamasikkhadit, Udom. (1963). Thai Syntax: An Outline. Ph.D. dissertation, University
of Texas.

34

You might also like