You are on page 1of 11

ลิลิตพระลอ: การศึกษาวาทกรรมและความรุนแรง

ศศิธร พิลึก
บทที่ 1 บทนา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย
บทที่ 1 บทนา
ที่มาและความสาคัญ
❖ “ลิลิตพระลอ” จากตานานหรือนิทานพื้นบ้าน
ของภาคเหนือสู่วรรณคดีเอกของไทย
❖ ผู้วจิ ัยสนใจศึกษาลิลิตพระลอ ในด้าน
กระบวนการสร้างวาทกรรม โดยใช้กรอบ
แนวคิดวาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ (Critical
Discourse Analysis) ในฐานะที่ลิลิตพระลอ
เป็นตัวบท (text) และศึกษาความรุนแรงที่แฝง
อยู่ในตัวบท
❖ เพื่อให้เห็นถึงกระบวนการสร้างวาทกรรมและ
ความรุนแรงที่ปรากฏในรูปแบบต่าง ๆ และ
เพื่อให้ตระหนักรู้ถงึ อานาจของภาษาในฐานะ
ที่เป็นเครื่องมือทางวาทกรรม
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพื่อวิเคราะห์กระบวนการสร้างวาทกรรม
ในลิลิตพระลอ
2. เพื่อวิเคราะห์ความรุนแรงที่ปรากฏ
ในลิลิตพระลอ
ประโยชน์ที่จะได้รับจากการวิจัย
1. เพื่อให้ทราบถึงกระบวนการสร้างวาทกรรมที่ปรากฏในลิลติ พระลอ
2. เพื่อให้ทราบถึงความรุนแรงที่ปรากฏในลิลิตพระลอ
บทที่ 1 บทนา
ขอบเขตของการศึกษา
อ่านลิลิตพระลอ ฉบับวิเคราะห์และถอดความ
ของ ชลดา เรืองรักษ์ลิขิต ปีพุทธศักราช 2545
(573 หน้า)

กล่าวถึงลิลิตพระลอไว้อย่างละเอียด
บทอ่านพร้อมเนื้อความที่ถอดคาประพันธ์
บทที่ 1 บทนา
นิยามศัพท์เฉพาะ
❖ ลิลติ พระลอ หมายถึง วรรณคดีท่ไี ด้รับยกย่องจากวรรณคดีสโมสร ให้เป็น
ยอดวรรณคดีประเภทลิลติ
❖ ลิลติ หมายถึง การแต่งสลับระหว่างร่ายกับโคลง
❖ วาทกรรม หมายถึง กระบวนการสร้างความหมายให้กับสิ่งต่าง ๆ ผ่านภาษา
อย่างเป็นระบบ
❖ ความรุนแรง หมายถึง พฤติกรรมที่แสดงออกในเชิงทาร้าย ที่มีผลในการทาลาย
ทั้งทางร่างกาย และจิตใจ
• ความรุนแรงทางตรง (Direct Violence)
เป็นความรุนแรงที่ปรากฏให้เห็นชัดเจน เกิดการทาร้ายร่างกายและจิตใจ
• ความรุนแรงเชิงโครงสร้าง (Structure Violence)
เป็นความรุนแรงที่อาศัยระบบโครงสร้างทางสังคม การแบ่งอานาจ การได้เปรียบ เสียเปรียบ
• ความรุนแรงเชิงวัฒนธรรม (Cultural Violence)
เป็นความรุนแรงที่อยู่ในวัฒนธรรม ความเชื่อ ของคนในสังคม ทาให้ความรุนแรงทางตรงและ
ความรุนแรงเชิงโครงสร้างเกิดการยอมรับ
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

งานวิจัยเรื่อง ลิลิตพระลอ: การศึกษาวาทกรรมและความรุนแรง


ผู้วิจัยได้ใช้ทฤษฎีเป็นกรอบในการวิเคราะห์ข้อมูล 2 ทฤษฎี ดังนี้
1. ทฤษฎีวาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ (Critical Discourse Analysis: CDA)
2. ทฤษฎีความรุนแรง (Violence Theory)

Norman Fairclough Johan Galtung


“กรอบมิติทั้งสามของวาทกรรม” ได้แก่ ความรุนแรงจาแนกได้ 3 ด้าน คือ
1. ตัวบท (Text) 1. ความรุนแรงทางตรง (Direct Violence)
2. ภาคปฏิบัตกิ ารทางวาทกรรม (Discourse Practice) 2. ความรุนแรงเชิงโครงสร้าง (Structure Violence)
3. ภาคปฏิบัตกิ ารทางสังคมวัฒนธรรม (Sociocultural Practice) 3. ความรุนแรงเชิงวัฒนธรรม (Cultural Violence)
บทที่ 3 วิธีการดาเนินการวิจัย
❖ รูปแบบการวิจัย: วิจัยเอกสาร

❖ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
1. แบบบันทึกวาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์
2. แบบบันทึกความรุนแรง
บทที่ 3 วิธีการดาเนินการวิจัย

การเก็บรวบรวมข้อมูล
ขั้นตอนที่ 1 สารวจ
ขั้นตอนที่ 2 กาหนดขอบเขตของข้อมูล
ขั้นตอนที่ 3 ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 3 วิธีการดาเนินการวิจัย

การวิเคราะห์ข้อมูล
วิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล โดยใช้ ท ฤษฎี ว าทกรรมวิ เ คราะห์ เ ชิ ง วิ พ ากษ์ (CDA)เป็ น กรอบ
แนวคิดในการศึกษาวาทกรรม ด้วยการวิเคราะห์ที่ตัวบท (Text) เกี่ยวกับกระบวนการสร้าง
ความรุนแรงในลักษณะต่าง ๆ และใช้ทฤษฎีความรุนแรงของ Johan Galtung เพื่อแสดงให้
เห็นชุดความคิดที่ประกอบสร้างแฝงอยู่ในตัวบท ที่ถูกถ่ายทอดผ่านภาษาตั้งแต่ระดับคาไป
จนถึงระดับข้อความ ว่าเป็นความรุนแรงในรูปแบบใด
ผลที่ได้จากการวิเคราะห์มาเขียนนาเสนอแบบบรรยายประกอบตัวอย่าง
บทที่ 3 วิธีการดาเนินการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัย

You might also like