You are on page 1of 6

บทนำำ

บทที่ ๑

๑.๑. ความเป็นมาและความสำาคัญของปัญหาการวิจัย
ปัจจุบันนี้ทุกคนรู้สึกคุ้นหูกับคำำว่ำโลกำภิวัตน์ (Globalization) เพรำะว่ำคำำนี้สำมำรถพบได้ในทุกสำขำ
วิชำกำร แม้แต่ในวงกำรปรัชญำยังมีคำำว่ำปรัชญำโลกำภิวัตน์ปรำกฏอยู่ด้วยเช่นเดียวกัน อรรถปริวรรตศำสตร์
(Hermeneutics) หรือเรียกอีกนัยหนึ่งว่ำ ทฤษฎีกำรตีควำม เป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งของปรัชญำโลกำภิวัตน์
หรือปรัชญำหลังสมัยใหม่ (Post-Modernism)1 อำจกล่ำวได้ว่ำวิชำอรรถปริวรรตศำสตร์ทั่ว ไปเป็นเรื่องใหม่
สำำหรับวงวิชำกำรในเมืองไทย และอรรถปริวรรตศำสตร์เชิงพุทธนั้นยังไม่มีนักวิชำกำรท่ำนใดได้ค้นคว้ำไว้
อย่ำงเป็นระบบ ดังนั้น ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะค้นคว้ำวิจัยให้เกิดองค์ควำมรู้ใหม่ขึ้นมำ โดยจะทำำกำรวิจัยเฉพำะ “
อรรถปริวรรตศำสตร์” ในพระพุทธศำสนำเถรวำทในเชิงวิเครำะห์เทียบเคียงกับแนวควำมคิดอรรถปริวรรต
ศำสตร์ตะวันตก โดยมีวัตถุประสงค์ให้เข้ำใจอรรถปริวรรตศำสตร์ในพระพุทธศำสนำมำกขึ้น ตำมแนวทัศนะ
ของพระธรรมปิฎก (ประยุทธ ปยุตโต) ที่ว่ำ งำนวิจัยทำงพระพุทธศำสนำในยุคปัจจุบันนี้ มีทำงเลือกอยู่อย่ำง
หนึ่งคือกำรค้นหำศำสตร์สมัยใหม่ที่มีปรำกฏในพระไตรปิฎกโดยอำศัยกรอบแนวควำมคิดแบบตะวันตกเป็น
แนวค้ น คว้ ำ เที ย บเคี ย ง เพื่ อ ปรั บ ประยุ ก ต์ ใ ช้ ท ฤษฎี แ นวพุ ท ธในสั ง คมปั จ จุ บั น ให้ สำำ เร็ จ เป็ น รู ป ธรรม (
มหาวิทยาลัยกับงานวิจัยทางพระพุทธศาสนา. ๒๕๒๔, หน้ำ ๘๑-๘๔)
ต่อปัญหำว่ำ “ในพระพุทธศำสนำมีอรรถปริวรรตศำสตร์หรือ กำรตีควำมที่เรีย กว่ำ เฮอร์เมนิ วติ กส์
(Hermeneutics) หรือไม่ ?” มีผู้ให้ทัศนะแตกต่ำงกั นไป กลุ่มที่หนึ่งตอบว่ำ "ไม่มี กำรตี ควำม" ในพระพุทธ
ศำสนำ เพรำะพระพุทธเจ้ำไม่ได้ตรัสสอนให้เชื่อและปฏิบัติตำมธรรมะด้วยกำรตีควำม ในพระพุทธศำสนำมีแต่
กำรอรรถำธิบำยธรรมเช่นที่พระอรรถกถำจำรย์และพระฏีกำจำรย์ทำำไว้ กลุ่มที่สองตอบว่ำ “มีกำรตีควำมใน
พระพุทธศำสนำ แต่ไม่เรียกว่ำเฮอร์เมนิวติกส์” เพรำะคำำนีเ้ พิ่งเกิดขึ้นและพัฒนำเต็มรูปแบบเมือ่ ศตวรรษที่ 19 นี้
เอง และที่สำำคัญคำำนี้เป็นภำษำอังกฤษ ส่วนกลุ่มที่สำมตอบว่ำ “มีกำรตีควำมที่เรียกว่ำเฮอร์เมนิวติกส์” เพรำะ
กำรตีควำมในพระพุทธศำสนำมีลักษณะเหมือนกับสิ่งที่เฮอร์เมนิวติกส์กำำลังปฏิบัติอยู่
ตำมทัศนะของผู้วิจัย ในเบื้องต้นนี้ขอตอบว่ำ “มีอรรถปริวรรตศำสตร์หรือกำรตีควำมหลักธรรมะใน
พระพุทธศำสนำไม่ว่ำกำรตีควำมนั้นจะมีชื่อเรียกเป็นคำำ ไทยหรือคำำ อังกฤษว่ำอย่ำงไร” เพรำะมีเหตุผลว่ำกำร
ตี ค วำมที่ ช ำวพุท ธเข้ ำ ใจกั น คื อ กำรแปลควำม และกำรอธิบ ำยควำม เป็ น ต้ น ปรำชญ์ บ ำงท่ ำ นอำจใช้ คำำ ว่ ำ
อรรถำธิบำย นัยวิเครำะห์ อรรถวิเครำะห์ เป็นต้น ซึ่งตรงกับภำษำอังกฤษว่ำ Interpretation และ Hermeneutics ผู้

ตำมประวั ติ ป รั ช ญำ กล่ ำ วได้ ว่ ำ อรรถปริ ว รรตศำสตร์ เ ป็ น ลั ก ษณะของปรั ช ญำยุ โ รป


1

(Continental Philosophy) ที่ เน้ น หนั ก ในเรื่ อ งคุ ณ ค่ ำ และกำรตี ค วำม ซึ่ ง ต่ ำ งจำกปรั ช ญำวิ เครำะห์
(Analytic Philosophy) ที่เน้นหนักในเรื่องของควำมรัดกุมและควำมชัดเจนเชิงประจักษ์ (วรยุทธ ศรี
วรกุล, หน้ำ 1) ปรัชญำหลังสมัยใหม่เกิดขึ้นจำกกำรที่นักปรัชญำหลังสมัยใหม่พยำยำมวิพำกย์วิจำรณ์
ปรัชญำสมัยใหม่ โดยเสนอว่ำเหตุผลไม่ใช่เป็นสิ่งที่เรำควรไปชื่นชมเท่ำไรนัก และในสิ่งต่ำงๆ ที่เรำทำำ
ไม่ควรยึดเหตุผลเป็นตัวตัดสิน (มำรค ตำมไทย, 2540, หน้ำ 51)
บทนำำ
2

วิจัยเห็นด้วยกั บ โดนัล โลเปซ (Donald Lopez) ผู้เป็นบรรณำธิกำรหนังสือชื่อ Buddhist Hermeneutics (1988


หน้ำ 1-2) ซึ่งกล่ำวว่ำ:
“เฮอร์เมนิวติกส์ไม่ใช่เป็นศำสตร์ใหม่ที่ไม่มีใครเคยรู้จักมำก่อน
จริงอยู่ พระศำสนำจำรย์ ในศำสนำยู ด ำยห์ แ ละคริส ต์ใช้ ตี ค วำม
พระคัมภีร์ทัลมุดและไบเบิลอยู่แต่เดิม แต่เดี๋ยวนี้มิได้เป็นเช่นนั้น
มี ผู้ส นใจนำำ เอำเฮอร์ เ มนิ วติ ก ส์ ไ ปใช้ เ ป็ นทฤษฏี ก ำรตี ค วำมใน
เรื่องอื่นๆ ... และแน่นอนกำรตีควำมคัมภีร์จึงไม่ได้เป็นประเพณี
ที่จำำ กัดอยู่แต่เฉพำะในศำสนำยูดำยห์และศำสนำคริสต์เท่ำนั้น
แม้ คั ม ภี ร์ ใ นพระพุ ท ธศำสนำก็ มี ประเด็ น ปั ญ หำให้ ต้ อ งตี ค วำม
เช่ น เดี ย วกั น แต่ ป ระเด็ น ปั ญ หำที่ นั ก ตี ค วำมทำงพุ ท ธศำสนำ
ประสบอยู่อำจแตกต่ำงไป เพรำะคัมภีร์ในพระพุทธศำสนำมีเป็น
จำำนวนมำก ทั้งที่เป็นพุทธพจน์และแต่งขึ้นภำยหลัง”.
อำจกล่ำวได้ว่ำ เจ. ซี. แดนออเออร์ (J.C. Dannhauer) นำำ เอำคำำ ว่ำเฮอร์เมนิวติกส์มำใช้เป็นคนแรกใน
กลำงศตวรรษที่ 17 เพื่อใช้ตีความคัมภีร์ทางศาสนา กฎหมายและวรรณคดีโดยมีเป้าหมายเพื่อหาความถูกต้อง
ทางภาษาและประวั ติ ศ าสตร์ ต่ อ มำ ชไลมำเคอร์ (Friedrich Schleiermacher 1768-1838) ได้ พั ฒ นำ
Hermeneutics ต่ อ ไปเพื่ อ ใช้ ตี ค วำมตำำ รำทั่ ว ไปโดยไม่ จำำ กั ด ว่ ำ ต้ อ งเป็ น คั ม ภี ร์ ท ำงศำสนำเท่ ำ นั้ น โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบเจตนารมณ์ของผู้แต่งตำา รานั้นโดยถือว่าผู้แต่งตำา รากับผู้ตีความวิ จารณ์ตำา รานั้นมี
จินตนาการต่างกัน ผู้ตีความตำารานั้นน่าจะเข้าถึงความรู้สึกของผู้อ่านตำารานั้นได้ดีกว่าผู้แต่งตำารานั้นเสียด้วยซำ้า
ดังนั้นตั้งแต่ Schleiermacher เป็นต้นมำ Hermeneutics ก็เริ่มถูกนำำ มำใช้ตีควำมตำำ รำทั่วไป โดยไม่จำำ กัดเพียง
เฉพำะตำำรำทำงศำสนำ กฎหมำยและวรรณคดีเท่ำนั้น ทฤษฎีกำรตีควำมจึงเป็นทำำหน้ำที่เป็นญำณวิทยำ หรือเป็น
ตรรกวิทยำสมัยใหม่ ทฤษฎีกำรตีควำมได้รับกำรพัฒนำเรื่อยมำจนถึงศตวรรษที่ 20 จนกลำยมำเป็นศำสตร์สำกล
ที่นักปรัชญำหลังยุคใหม่ให้ควำมสนใจเป็นพิเศษและถือเป็นส่วนหนึ่งของปรัชญำโลกำภิวัตน์
ถ้ำหำกพิจำรณำทฤษฎีกำรตีควำมของ ริเคอร์ (Paul Ricoueur 1913-) จะทำำให้ทรำบสำยกำรพัฒนำของ
วิชำนี้ ริเคอร์แบ่งกำรตีควำมออกเป็น 2 นัยคือ สำยแรกคือกำรตีควำมประเพณีนิยม (Tradition) กลุ่มนี้มี กัดดำเม
อร์ (Hans Georg Gadamer 1990-) ซำร์ตร์ (Jean Paul Sartre 1905-1980)และ มำจนถึงเดอร์ริดำ (Jacques Derrid
a 1931-) ซึ่งนับว่ำเป็นตัวแทนที่สำำคัญของสำย ถ้ำจะศึกษำกำรตีควำมสำยนี้ต้องศึกษำอิทธิพลทำงควำมคิดเริ่ม
ตั้งแต่ ฮุสเซิร์ล (Edmund Husserl 1859-1938) วิกเกนสไตน์ (Ludwig Wittgenstein 1889-1951) มำร์ติน บูเบอร์
Martin Buber 1878-1965) บุลท์มำนน์ (Rudolf Bultmann 1884-1976) และ ไฮเดกเกอร์ (Martin Heidegger 188
9-1976) เป็นต้น กำรตีควำมตำมทรรศนะของนักคิดสำยที่สอง เป็นกำรตีควำมแบบตั้งข้อสงสัย (Suspicion)
โดยตั้ ง ข้ อสังเกตทำำ นองไม่ ย อมรั บอะไรง่ำ ยๆ โดยกำำ หนดว่ ำ ตำำ รำหรื อ พฤติ ก รรมของมนุ ษ ย์ ใ นสั ง คมมี
วัตถุประสงค์ด้ำนต่ำงๆ เช่น ด้ำนสังคม กำรเมืองและกำรเศรษฐกิจอยู่ภำยใน ดูข้ำงนอกอำจไม่มีพิษมีภัยแต่ข้ำง
ในอำจมีแนวนโยบำยอะไรสักอย่ำงหนึ่ง สำยนี้มีตัวแทนคือ นิตเช (Friedric Nietzsche 1844-1900) ฟรอยด์ (Sig
mund Freud 1856-1940) และต้องย้อนอ่ำนแนวควำมคิดของ ฮิวม์ (David Hume 1711-76) โชเปนฮำวเออร์ (Sh
บทนำำ
3

openhauer 1788-1860) ออกุส ค็ อ ง (Auguste comte 1798-1857) ฟอยเออร์ บั ค (Feuerbach 1804-72) ยั งมี กำร
ตีควำมอีกสำยหนึ่งที่เรียกว่ำ กำรตีควำมเชิงวิจำรณญำน (Critical Hermeneutics) ซึ่งมีควำมสัมพันธ์กับสำยที่
สองที่กล่ำวมำแล้ว ตัวแทนที่สำำคัญคือ ฮำเบอร์มัส (Juergen Habermas 1929-)และจะต้องศึกษำย้อนไปถึง มำร์
กซ์ (Carl Marx 1818-83) กำรจัดกลุ่มยังไม่ได้แยกสำยให้ครอบคลุมถึงว่ำนักคิดท่ำนใดสังกัดกลุ่มเทวนิยมหรือ
กลุ่มนักปรัชญำแต่ละสมัย ดูเพิ่มเติมได้ใน Mautner (Ed.), 1996, pp.1187-188 และ Audi (Ed.), 1995, pp.323-32
4. กีรติ บุญเจือ, 2541, เล่ม 1 หน้ำ 63-72 และ เล่ม 3 หน้ำ 23-37.
ศำสตร์แห่งกำรตีควำมนอกจำกเป็นประโยชน์ในแง่ญำณวิทยำแล้ว นักปรัชญำหลังสมัยใหม่ถือว่ำเฮอร์
เมนิ ว ติ ก ส์ยั งสำมำรถนำำ มำประยุ ก ต์ ใ ช้ กั บ ไดอะล็ อ กเพื่อ ควำมเข้ ำ ใจที่ ดี ร ะหว่ ำ งศำสนำอี ก ด้ ว ย (Interfaith
Dialogue) เพรำะเขำถือว่ำกำรเสวนำที่มีกำรตีควำมเป็นแกนนำำจะทำำให้ปรำศจำกอคติใดๆ ทั้งสิ้น เหตุที่เฮอร์เม
นิวติกส์เป็นแนวควำมคิดและทฤษฏีที่พัฒนำเป็นรูปแบบเฉพำะขึ้นมำใหม่ จึงมีนักคิดไทยให้ชื่อเป็นไทยว่ำ นัย
วิเครำะห์ ศำสตรำจำรย์กีรติ บุญเจือเป็นผู้บัญญัติขึ้นมำใช้เป็นท่ำนแรก (กีรติ บุญเจือ,2540,หน้ำ 4). โดยท่ำน
อธิบำยว่ำ:
“เฮอเมนิวติ กส์ (Hermeneutics) วิธีนัยวิเครำะห์ คือวิธีรวมทั้งกฎเกณฑ์ ต่ำงๆที่ใช้ ใ นกำร
ตี ค วำมหมำยหรื อ วิ เ ครำะห์ ค วำมหมำยของภำษำ คำำ ภำษำอั ง กฤษมำจำกคำำ ภำษำกรี ก ว่ ำ
Hermes ซึ่งเป็นชื่อของเทพแห่ง กำรสื่อสำร ชำวโรมันเรียกว่ำ Mercurius ซึ่งกลำยเป็นภำษำ
อังกฤษว่ำ Mercury ที่รู้จักกันดีในนำมของปรอทเพรำะมีควำมไวเป็นพิเศษ เพรำะเทพองค์นี้มี
เท้ำติดปีก ที่เอำมำตั้งเป็นชื่อวิธีตีควำมก็เพรำะว่ำเวลำเทพเฮอร์เมสนำำสำสน์ไปสือ่ ให้ใครก็ตำม
ท่ำนต้องจดจำำแล้วไปสื่อโดยกำรตีควำม เพรำะในตำำนำนของเทพองค์นี้ไม่ปรำกฏว่ำเจ้ำของ
สำสน์เขียนสำสน์ให้นำำไป และไม่ปรำกฏว่ำเทพองค์นี้ทำำกำรจดบันทึกแต่ประกำรใด ทั้งไม่มี
ประวัติว่ำเป็นผู้มีควำมจำำเป็นพิเศษ จึงหมำยควำมว่ำเมื่อรับสำสน์จนเข้ำใจแล้วก็นำำไปถ่ำยทอด
ตำมควำมเข้ำใจของตน ไม่ใช่ตำมที่จำำได้เป็นประโยคๆ จึงจำำเป็นต้องตีควำมจำกควำมเข้ำใจ
นั้นสื่อต่อด้วยคำำ พูดที่ตนเองแต่งขึ้นเฉพำะหน้ำ วิธีหรือเทคนิคกำรตีควำมด้วยประกำรฉะนี้
ชื่อของเทพนี้จึงถูกแผลงมำเป็นชื่อ”
“นัยวิเครำะห์” ดูจะยังเป็นเรื่องใหม่ในวงกำรหนังสือภำษำไทย ในทำงตะวันตก เดิม
ก็เป็น เรื่องของพวกแก่วัดแก่วำ พวก นักกำรศำสนำ นักเทววิทยำ นักเทศน์ในคริสตศำสนำที่
สนใจตีควำมหมำยคัมภีร์ไบเบิล จึงสนใจพูดถึงนัยวิเครำะห์ ทั้งนี้ก็ เพรำะคัมภีร์ไบเบิลโดย
เฉพำะอย่ำงยิ่ง ภำคพันธสัญญำเดิม ถือเป็นคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์กันหลำยฝ่ำย แต่ละฝ่ำยก็ตีควำมเข้ำ
ข้ำงตน เรียกว่ำต่ำงฝ่ำยต่ำงก็ลำกเข้ำวัดของตน และตำมนิสัยของชำวตะวันตก ไม่เห็นด้วย
อย่ำงไรก็ต้องพูดออกมำ มิฉะนั้น นอนไม่หลับ เมื่อถกเถียงกั นก็ ต้องหำหลัก กำร จึงได้ “นัย
วิเครำะห์” ซึง่ เป็นทั้งหลักกำรและวิธีกำรตีควำมหมำยคัมภีร์ไบเบิล.
หลังสงครำมโลกครั้งที่ 2 เกิดมีผู้เห็นด้วยกับปรัชญำของอีสปเอำมำกๆว่ำ ภำษำเป็น
ดำบ 2 คมที่คมกริบรำวระเบิดปรมำณู ภำษำ จะเป็นเครื่องมือให้เกิดสงครำมหรือสันติภำพก็ได้
บทนำำ
4

จึงต้องสนใจศึกษำกันให้ถ่องแท้ เพื่อยังคุณและเลี่ยงโทษให้กับมนุษยชำติต่อไป นัยวิเครำะห์


ถูก ปัดฝุ่ นต้องเอำมำ พัฒนำใช้เป็นเครื่องมือ ตีค วำม ไม่ ใช่เฉพำะคั มภีร์ไบเบิล แต่เอำมำใช้
ตีควำมภำษำทุกรูปแบบยิ่งกว่ำนั้น ไม่ใช่ภำษำเท่ำนั้นที่ต้องกำรกำรตีควำม อะไรๆทุก
อย่ำงของมนุษย์ก็ต้องตีควำมกันทั้งนั้น เพื่อให้ยังผลดีและขจัดผลร้ำยให้กับมนุษยชำติอย่ำงน่ำ
ไว้ใจ ในช่วง 10 ปีให้หลังมำนี้นัยวิเครำะห์พัฒนำรวดเร็ว มำกทั้งในยุโรปและสหรัฐอเมริกำ มี
หนังสือออกมำกมำย. (กีรติ บุญเจือ,2540,หน้ำ 4).
เมื่อศึก ษำควำมเป็นมำของเฮอร์เมนิ ว ติ ก ส์โ ดยย่อ แล้ว จึ งมี นั ก คิ ด บำงท่ ำนให้ ทั ศนะว่ำถ้ำ พระพุทธ
ศำสนำจะใช้คำำ ว่ำเฮอร์เมนิวติ กส์ต้องนำำ เอำควำมคิดของนักเฮอร์เมนิวติกส์เหล่ำนี้ไปจับประเด็นปัญหำทำง
พระพุทธศำสนำ เป็นกำรนำำ เอำแว่นตำของนักคิดหลังสมัยใหม่ไปมองภำพต่ำงๆ ที่เป็นของพุทธศำสนำ บำง
ท่ำนไม่เห็นด้วยเพรำะว่ำในพระพุทธศำสนำก็มีนักคิดที่จัดว่ำเป็นนักเฮอร์เมนิวติกส์เหมือนกัน เพรำะพระพุทธ
ศำสนำมีบริบทเป็นของตนเองโดยเฉพำะ โดยเฉพำะพุทธศำสนำมหำยำนพัฒนำวิชำกำรด้ำนกำรตีควำมหรือเฮ
อร์เมนิวติกส์ไปได้ไกลมำกจนมีบำงท่ำนให้ทัศนะว่ำแนวควำมคิดของมหำยำนมีอิทธิพลต่อนักคิดเฮอร์เมนิวติก
ส์หลังสมัยใหม่ดังว่ำมำแล้ว ผู้เขียนมีควำมเห็นว่ำพระพุทธศำสนำเป็นศำสนำเก่ำแก่ ย่อมจะมีศำสตร์แห่งกำร
ตีควำมที่เป็นบริบทของตนเองอย่ำงที่กล่ำวไว้ในหนังสือที่เป็นอรรถกถำและฏีกำ ซึ่งยังเป็นที่ยอมรับกันอยู่และ
มีนักคิดที่เป็นนักตีควำมในยุคโลกำภิวัตน์ที่ตีควำมหลักคำำสอนของพุทธศำสนำแล้วเป็นที่ยอมรับได้และใช้กัน
อยู่ จึงเป็นเรื่องจำำเป็นที่ชำวพุทธต้องย้อนอ่ำนหลักกำรตีควำมของตนเองก่อน ในขณะเดียวกันชำวพุทธก็ควร
เปิดใจกว้ำงนำำ เอำทรรศนะกำรตีควำมของนักปรัชญำและนักเทววิทยำยุโรปและตะวันตกมำประยุกต์ใช้ด้วย
เพรำะยุ ค นี้ เ ป็ น ยุ ค พหุ นิ ย มทำงศำสนำ ทุ ก ศำสนำต้ อ งยอมรั บ และเคำรพซึ่ ง กั น และกั น และแลกเปลี่ ย น
ประสบกำรณ์ทำงศำสนำต่อ กั น ไม่ค วรจะปิ ด กั้ น พรมแดนของควำมรู้และทำำ ตนเองให้เป็นศำสนิ กที่ ดี ของ
ศำสนำที่ตนเองนับถืออยู่ โดยกำรศึกษำค้นคว้ำและประเมินค่ำทุกอย่ำงที่ตนเองประสบพบมำ ดังนั้น ในบทนำำ
ของกำรวิจัยนี้ ผู้วิจัยจึงเริ่มต้นด้วยกำรพูดถึงหลักเกณฑ์กำรวินิจฉัยทฤษฏีกำรตีควำมในพระพุทธศำสนำก่อน ที่
โลเปซ กล่ำวสรุปไว้นับว่ำมีเหตุผลน่ำฟัง โดยเขำบอกว่ำ “กำรตีควำมในพระพุทธศำสนำ (Buddhist Hermeneiti
cs) เริ่มต้นเป็นทำงกำรอย่ำงเต็มรูปแบบ ตั้งแต่พระพุทธศำสนำยังอยู่ในประเทศอินเดียแล้ว อย่ำงเช่นในคัมภีร์
บำงแห่งพระองค์ตรัสว่ำ สังขำรทั้งหลำยเป็นอนัตตำ แต่ในอีกที่หนึ่งพระองค์ตรัสให้พึ่งอัตตำ ซึ่งดูเป็นเรื่องขัด
แย้งกัน แต่ว่ำที่น่ำสังเกตก็คือพระพุทธเจ้ำได้ทรงวำงหลักกำรตีควำมไว้ให้แล้วในบำงเรื่อง” (1988, p.3). ใน
บทควำมนี้ผู้เขียนเห็นด้วยกั บ ลำโมทท์ (Etienne Lamotte, 1988, pp. 11-27) ที่เห็นว่ำพระพุทธศำสนำมีหลัก
ธรรมที่พระพุทธเจ้ำตรัสไว้เป็นเกณฑ์ในกำรตัดสินกำรตีควำมทั้งธรรมะและวินัยว่ำถูกต้องหรือไม่อย่ำงไร และ
เห็นด้วยกับ บอนด์ (George D. Bond, 1988, pp. 29-45) ที่ให้ทัศนะว่ำพระพุทธศำสนำมีเฮอร์เมนิวติกส์อยู่แล้ว
โดยเฉพำะในคัมภีร์เนตติปกรณ์และเปฏโกปเทศ ซึง่ เป็นเฮอร์เมนิวติกส์แบบวิสุทธิมรรคและวิมุตติมรรค
พระพุทธโฆษำจำรย์เคยกล่ำวไว้ว่ำ “พุทธพจน์ทั้งหมดเปรียบเสมือนมหำสมุทรแห่งอรรถปริวรรต
ศำสตร์หรือนัยวิเครำะห์”2 เหตุผลที่ท่ำนกล่ำวอย่ำงนี้คงเป็นเพรำะว่ำพระพุทธศำสนำนิกำยเถรวำทเป็นนิกำยที่

2
กตโม นยสำคโร เตปิฏกำ พุทฺธวจนำ. (อฏฺฐสำลินี).
บทนำำ
5

รวบรวมหลักคำำสอนของพระพุทธเจ้ำไว้ในรูปคัมภีร์มำกมำย และกำรตีควำมต่ำงๆ ก็ปรำกฏอยู่ในคัมภีร์เหล่ำ


นั้น หลักฐำนยืนยันเรื่องนี้คือหนังสือคัมภีร์เปฏโกปเทสะ และเนตติปกรณ์ ซึ่งมีเนื้อหำและลีลำกำรแต่งคล้ำย
กันและนักวิชำกำรเชื่อว่ำเป็นคัมภีร์ที่แต่งตั้งแต่สมัยพุทธกำล คือ 2500 ปีมำแล้ว ดังข้อควำมว่ำ “เมื่อพระมหำกัจ
จำยนะ ภำษิตเปฏโกปเทสปกรณ์แล้ว พระผู้มีพระภำคเมื่อทรงพระชนม์อยู่ก็แสดงควำมชื่นชมยินดี”3คัมภีร์ทั้ง
สองนี้ถือว่ำเป็นหนังสือที่เสนอหลักเกณฑ์กำรวินิจฉัยควำมหมำยและคุณค่ำพุทธธรรม นับเป็นวรรณคดีบำลีนัย
วิเครำะห์เล่มแรกๆ และยังถือได้ว่ำเป็นคู่มือแนะนำำ กำรเขียนวรรณคดีทำงพุทธศำสนำไว้ด้วย แม้แต่พระพุทธ
โฆษำจำรย์ผู้แต่งคัมภีร์วิสุทธิมรรคยังอ้ำงถึง
ต่อมำท่ำนธรรมปำละชำวศรีลังกำได้แต่งคัมภีร์เนตติอรรถกถำขึ้น และท่ำนจุลธรรมปำละได้แต่งคัมภีร์
เนตติฎีกำขึ้น และท่ำนสัทธรรมปำลมหำธรรมรำชคุรุชำวพม่ำได้แต่งคัมภีร์เนตติวิภำวินีขึ้น และพระวิสุทธำจำร
ย์นำำ เนตติปกรณ์มำอธิบำยใหม่เรียกว่ำคัมภีร์เนตติหำรัตถทีปนี ที่กล่ำวมำทั้งหมดนี้ต้องกำรชี้ให้เห็นว่ำอรรถ
ปริวรรตศำสตร์ในบำลีพระไตรปิฎกเป็นที่ยอมรับและนิยมใช้กันเป็นลำำ ดับ มำอย่ำงจริงจัง ดังจะเห็นว่ำคัมภีร์
เนตติปกรณ์ ได้แสดงกำรตีควำมไว้อย่ำงน้อย 15 นัยสำำ หรับตีควำมหลักพระพุทธศำสนำ คัม ภีร์อภิธรรมได้
กล่ำวไว้ 2 นัย และคัมภีร์สัททสำรัตถชำลีนีได้รวบรวมไว้ถึง 114 นัย เป็นต้น แสดงให้เห็นว่ำวิธีตีควำมมี
มำกมำยในคัมภีร์พระพุทธศำสนำและมีมำนำนแล้วตั้งแต่สมัยพุทธกำลทีเดียว
จำกบทนำำ ที่กล่ำวมำโดยย่อข้ำงต้น ทำำให้ผู้วิจัยต้องกำรทรำบถึงอรรถปริวรรตศำสตร์หรือทฤษฎีกำร
ตีควำมให้ลึกลงไป ทั้งกำรตีควำมทั่วไปและกำรตีควำมแนวพุทธ เพื่อทำำกำรเปรียบเทียบกันให้เกิดควำมเข้ำใจ
มำกขึ้น เพื่อขยำยองค์ควำมรู้ในเรื่องนี้ให้กว้ำงขึ้น อันจะเป็นประโยชน์แก่พระพุทธศำสนำ สังคมและประเทศ
ชำติต่อไป
๑.๒. วัตถุประสงค์ในการวิจัย
๑. เพื่อศึกษำวิเครำะห์อรรถปริวรรตศำสตร์ หรือทฤษฎีกำรตีควำมทั่วไป ตั้งแต่ยุคโบรำณจนถึงยุค
ปัจจุบัน
๒. เพื่อศึกษำวิเครำะห์ทฤษฎีอรรถปริวรรตศำสตร์ หรือกำรตีควำมในพระพุทธศำสนำเถรวำทตั้งแต่
ยุคก่อนอรรถกถำจนถึงยุคปัจจุบัน และเปรียบเทียบกับทฤษฎีอรรถปริวรรตศำสตร์ทั่วไป
๓. เพื่อประยุกต์ใช้ทฤษฎีอรรถปริวรรตศำสตร์ทั่วไป และทฤษฎีอรรถปริวรรตศำสตร์เชิงพุทธในกำรตีควำมคำำสอน
ในพระพุทธศำสนำบำงประเด็นที่ถกเถียงกันโดยยังไม่มขี ้อยุติ
๑.๓. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ทำำ ให้ทรำบอรรถปริวรรตศำสตร์ ซึ่งเป็นศำสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เพื่อ
เป็นกรอบควำมคิดในกำรพิจำรณำวิเครำะห์อรรถปริวรรตศำสตร์เชิงพุทธต่อไป

3
เปฏโกปเทเส มหำกจฺจำยเนน ภำสิเต ... ตำ ชีวิตำ ภควตำ มำทิเสน สมุทฺเทนนตถำตเตน (เปฏโกปเทสปกรณ์,2533,28) จำำเนียน แก้ว
ภู่ (2539,หน้ำ 19) วิจำรณ์ว่ำ พระมหำกัจจำยนะที่ระบุในคำถำนั้นน่ำจะไม่ใช่รูปเดียวกับพระมหำกัจจำยนะในสมัยพระพุทธเจ้ำ เพรำะในคัมภีร์
ปรมัตถมัญชุสำ ซึ่งแต่งโดยพระมหำธรรมปำละ อินเดียใต้กล่ำวว่ำเป็นคนละรูปกัน นอกจำกนั้นเขำยังให้ทรรศนะต่อไปว่ำ ชื่อกัจจำยนะน่ำจะมิได้
หมำยถึงพระมหำกัจจำยนะที่เป็นบุคคล แต่หมำยถึงสำำนักของพระมหำกัจจำยนะซึ่งตั้งขึ้นเป็นครั้งแรกในสมัยพุทธกำลที่เมืองอุชเชนี แคว้นอวันตี
เหมือนอย่ำงที่คัมภีร์นิทเทส ปฏิสัมภิทำมรรคและพระอภิธรรมเป็นผลงำนของพระสำรีบุตร
บทนำำ
6

๒. ทำำให้ทรำบอรรถปริวรรตศำสตร์เชิงพุทธที่ปรำกฏอยู่ในคัมภีร์ต่ำงๆ ทั้งที่เป็นปฐมภูมิและทุติยภูมิ
๓. ทำำให้ได้องค์ควำมรู้ของอรรถปริวรรตศำสตร์เชิงพุทธและสำมำรถนำำไปประยุกต์ใช้ในกำรตีควำม
คำำสอนของพระพุทธศำสนำสืบต่อไป
๑.๔. กรอบแนวความคิด (Conceptual Framework) ของโครงการวิจัย
ผู้วิจัยจะได้ยึดกรอบควำมคิดตำมแนวทรรศนะของพระธรรมปิฎก (ประยุทธ ปยุตโต) ซึ่งท่ำนได้กล่ำว
ไว้ว่ำ กำรวิจัยทำงพระพุทธศำสนำในปัจจุบัน สำมำรถดำำเนินตำมแนวดังนี้
ขั้นที่หนึ่ง ยึดกรอบแนวควำมคิดตะวันตกไว้เพื่อแสวงหำทรรศนะของพระพุทธศำสนำในเนือ้ หำวิชำเฉ
พำะนั้นๆ
ขั้นที่สอง ทำำกำรเปรียบทั้งควำมเหมือนและควำมต่ำงระหว่ำงศำสตร์ทั่วไปนั้นกับพระพุทธศำสนำอย่ำง
ละเอียด
และขั้นที่สำม นำำ เอำทรรศนะทำงพระพุทธศำสนำไปประยุกต์ ใช้ให้เกิ ดประโยชน์ (พระธรรมปิฎ ก
(ประยุทธ ปยุตโต), มหาวิทยาลัยกับงานวิจัยทางพระพุทธศาสนา. กรุ งเทพฯ มหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย,
๒๕๒๔, หน้ำ ๘๑-๘๔)
๑.๕. ระเบียบวิธีวิจัย
กำรวิจัยครั้งนี้เป็นกำรวิจัยเชิงคุณภำพ เน้นกำรวิจัยที่อิงอำศัยเอกสำร หนังสือ ตำำ รำทั้งที่เป็นปฐมภูมิ
และทุติยภูมิเป็นสำำคัญ ผู้วิจัยจะได้ทำำกำรวิเครำะห์วิจำรณ์ข้อมูลที่ได้ตำมระเบียบวิธีวิจัย โดยเน้นกำรวิเครำะห์
วิจำรณ์ และทำำกำรเปรียบเทียบ เพื่อให้ได้ผลกำรวิจัยที่ชัดเจนและเชื่อถือได้อย่ำงแท้จริง โดยมีกรอบควำมคิด
ตำมแนวทรรศนะของพระธรรมปิฎก (ประยุทธ ปยุตโต) ดังกล่ำวแล้ว
๑.๖. ขอบเขตในการวิจัย
กำรวิจัยครั้งนี้ต้องกำรทรำบถึงทฤษฎีกำรตีควำมในพระพุทธศำสนำทั้งเถรวำทและมหำยำน โดยจะ
เจำะลึกพระพุทธศำสนำเถรวำทเป็นสำำคัญ โดยศึกษำเจำะลึกลงไปในคัมภีร์ต่ำงๆ โดยเฉพำะคัมภีร์เนตติปกรณ์
และเปฏโกปเทสะ ที่นักนักวิชำกำรยอมรับว่ำเป็นหลักกำรตีควำมของพระพุทธศำสนำเถรวำท เพื่อเปรียบเทียบ
กั บทฤษฎีกำรตีควำมตะวั นตกหรือ กำรตี ควำมทั่ วไป โดยเน้นนั ก กำรตี ค วำมที่เด่นๆ เช่น ชไลเออร์มำเคอร์
(Schleiermacher) จนถึงเดอริดำ (Derrida) ดังกล่ำวแล้ว

You might also like