You are on page 1of 44

งานปริวรรต

เรื่อง
ตำนำนพระธำตุดอยตุง

โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์อารยธรรมลุ่มน้้าโขง มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

ตำนำนพระธำตุดอยตุง
*******
๑.แนวทำงในกำรศึกษำและปริวรรต
การศึกษาเรื่องต้านาน อุ ษณีย์ ธงไชย ได้กล่าวไว้ใน จารึกและต้านาน หลักฐานที่สร้างขึ้นภายใต้
อิทธิพลของพุทธศาสนาลังกาวงศ์ พ.ศ.๒๕๔๐ ตอนหนึ่งว่า
"...ต้านานส่วนใหญ่เริ่มเขียนขึ้นเมื่อประมาณปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๐ ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ ๒๑ ซึ่ง
เป็นระยะที่พุทธศาสนาลังกาวงศ์มีความเจริญมากในเขตภูมิภาคแถบนี้ และส่วนใหญ่ เขียนโดยพระสงฆ์ ท้าให้
ต้านานได้รับอิทธิพลจากพุทธศาสนาลังกาวงศ์สูงมาก จนกลายเป็น ลักษณะเด่นของหลักฐานประเภทนี้..." และ
"...ในสมัยรัตนโกสินทร์ โดยเฉพาะสมัยรัชกาลที่ ๔ ได้มีความตื่นตัวมากในการค้นหา "เรื่อง" หรือ"ความรู้" ของ
เมืองต่างๆ โดยเฉพาะเมืองประเทศราช เพื่อสะดวกในการปกครองเมืองเหล่านี้ ฉะนั้น งานเขียนเกี่ยวกับเมือง
ต่างๆ ได้ถูกค้นหาและเรียบเรียงขึ้นใหม่จ้านวนมาก ซึ่งรวมทั้งงานเขียนต่างๆ ที่เกี่ยวกับล้านนาด้วย เชื่อว่าในสมัย
ดังกล่าวได้มีการค้นหา การแปลและเรียบเรียงงานเขียนที่เกี่ยวเนื่องกับล้านนาขึ้นมากมาย โดยเฉพาะงานเขียนที่มี
ลักษณะแบบต้านาน..."
จากการศึ ก ษาเรื่ อ งต้ า นานในล้ า นนา ศ.ดร.อุ ด ม รุ่ ง เรื องศรี ได้ ใ ห้ ค วามเห็ น ว่ า ในล้ า นนานั้ น มี
วรรณกรรมประเภทต้านานอยู่เป็นจ้านวนมาก ซึ่งต้านานส่วนใหญ่ จะเป็นเรื่องเกี่ยวกับพุทธศาสนา หรือพุทธกิจ
ของพระพุทธเจ้า และศาสนสถานทางพุทธศาสนา โดยจะผูกเรื่องราวของพระพุทธเจ้า การเสด็จพุทธด้าเนินมายัง
ดิน แดนล้ านนาเพื่อ "ไว้พระธาตุ" คือประทานเกสาธาตุห รือประทับรอยพระพุทธบาทและตรัส ท้านายถึง
ความส้าคัญของสถานที่นั้นๆ ในอนาคต ว่าจะเป็นที่ตั้งแห่งพุทธศาสนาที่มีความเจริญรุ่งเรืองสืบไปเป็นแกนหลัก
นอกจากนั้น ยังมีต้านานอีกกลุ่มหนึ่งที่ให้ร่องรอยถึงความเป็นมาของการตั้งถิ่นฐานในล้านนา เช่น
ต้านานเชียงแสน ต้านานดอยตุง และ ต้านานสุวัณณะโคมฅ้า เป็นต้น
ข้อสังเกตประการหนึ่งคือว่า แม้ว่า ต้านานจะให้รายละเอียดของข้อมูลได้ดี แต่ต้านานก็มีจุดด้อย
เนื่องจากต้านานส่วนใหญ่จะเป็นการคัดลอกสืบเนื่องกันมาโดยมิได้ระบุว่าผู้ใดเป็นผู้แต่งและแต่งขึ้นแต่เมื่อใด การ
ให้ข้อมูลไว้นั้นก็มักบอกปีที่จารหรือคัดลอกเท่านั้น
แต่อย่างไรก็ตามจากการศึกษาเรื่องต้านานนักวิชาการได้พบว่า หากใช้หลักฐานอื่นประกอบเพื่อยืนยัน
อายุของต้านานแล้ว คงจะมีแต่ ต้านานดอยตุง เท่านั้นที่มีหลักฐานรองรับ โดยพบว่ามีรูปฤาษีหล่อด้วยทองส้าฤทธิ์
สูงประมาณ ๖๐ เซนติเมตร ปัจจุบันอยู่ที่ห้องสุโขทัย พิพิธภัณฑ์ฯพระนคร เลขทะเบียน T.62,ช.ส.๕๘ สร้างเมื่อ
พ.ศ.๒๑๔๗ ค้าจารึกอักษรธรรมล้านนาซึ่งอยู่ที่ฐานของรูปหล่อฤาษีนั้นมีทั้งค้าไหว้พระธาตุ ดอยตุงและต้านานพระ

ธาตุดอยตุงปรากฏอยู่ โดยเฉพาะต้านานดอยตุงที่จารึกไว้นั้นสอดคล้องกับต้านานดอยตุงซึ่งปรากฏอยู่ในใบลาน
ส่วนต้านานเรื่องอื่น แม้จะเป็นเรื่องที่ยอมรับกันว่าเก่าแก่ แต่ก็ไม่มีหลักฐานอื่นรองรับโดยชัดเจนเท่าที่ควร
ตำนำนพระธำตุดอยตุง
หากนับต้านานพระธาตุดอยตุงในฐานะที่เป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม นับว่า เป็นสิ่งที่มีคุณค่าที่
แสดงให้เห็นถึงภูมิปัญญาทางด้านวรรณกรรมและภาษาที่คงเหลืออยู่ในรูปแบบของลายลักษณ์อักษรที่ชัดเจนที่สุด
ซึ่งสามารถน้าไปประกอบในการสืบค้นทางประวัติศาสตร์และโบราณดคีขององค์พระธาตุด อยตุงได้ในระดับหนึ่ง
อย่างไรก็ตาม การจะถือเอาต้านานที่มีการจารึกเป็นหลักนั้นคงมิได้เพราะมีการผูกเรื่องราวต่างๆ คล้าย
เรื่องแต่ง แต่ก็พอคงเหลือเค้าความจริงอยู่บ้างบางส่วน ดังนั้น เราจึงไม่อาจถือเอาต้านานทั้งหมดมาเป็นหลักฐาน
ยืนยันในความเป็นจริงได้ทั้ง หมด กระนั้น เมื่อมองในแง่ของมรดกทางภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ด้านวรรณกรรม
และภาษาแล้ว จะพบว่าต้านานพระธาตุดอยตุงนั้นล้วนจารึกหรือจารหรือเขียนด้วยอักษรธรรมล้านนา ต้นฉบับที่
เก่าที่สุด คือฉบับที่พบที่วัดหมื่นล้าน จังหวัดเชียงใหม่ ปี พ.ศ.๒๓๕๕ และฉบับที่มีอายุน้อยที่สุดคือต้นฉบับจากวัด
แม่ค้าน้้าลัด อ้าเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ.๒๕๐๒1
พระธาตุดอยตุงมีต้านานที่เกี่ยวข้องหรือที่กล่าวถึงโดยตรงมีสองต้านาน คือต้านานพระธาตุดอยตุง กับ
ต้านานถ้้าปุ่ม ถ้้าปลา ถ้้าเปลวปล่องฟ้า แม้ต้นฉบับเดิมของ ๒ ต้านานนี้ไม่มีแล้วคงเหลือแต่ฉบับคัดลอก ซึ่งส่วน
ใหญ่จะคัดลอกลงบนใบลาน แต่อย่างไรก็ตามในคัมภีร์ใบลานที่จารึกนั้นบางคัมภีร์ก็มิได้เล่าหรือเขียนเรื่องต้านาน
พระธาตุดอยตุงเป็นผูกเดียวหรือฉบับเดียวมักมีเรื่องอื่นเขียนปนไว้บ้าง จึงมีความจ้าเป็นที่ต้องมีการอ่านและโดย
เทียบกันหลายๆ ผูกหรือหลายฉบับเพื่อให้ได้เนื้อหาและข้อความที่ชัดเจนมากที่สุด
อย่างไรก็ตามการศึกษาต้านานพระธาตุเจ้าดอยตุงที่จะศึกษาในครั้งนี้มุ่งหมายที่เรื่องความงามและคุณค่า
ทางภาษาและวรรณกรรมล้านนาเป็นหลัก โดยไม่ต้องมีการวิเคราะห์ในส่วนของเนื้อเรื่องหรือเนื้อหาในเชิงลึก แต่
จะมุ่งให้เห็นการเขียนและการร้อยเรียงเรื่องราวและภาษาที่ใช้และตัวอักษรที่ใช้เป็นหลัก หรือเลือกน้าเสนอใน
รูปแบบของความงามด้านวรรณศิลป์เป็นหลัก เพื่อให้เห็นถึงความส้าคัญของความเป็นมรดกทางภูมิปัญญาทางด้าน
ภาษาและวรรณกรรมล้านนา ให้เป็นมรดกของแผ่นดินสืบไป
แม้ว่าต้านานที่กล่าวถึงพระธาตุด อยตุงจะมีอยู่หลายต้านาน แต่ต้านานที่มีการกล่าวถึงพระธาตุดอยตุง
โดยตรงและมีการคัดลอกสืบๆกันรวมทั้งการเล่าสืบกันมาแบบมุขปาฐะที่มีการกล่าวถึงพระธาตุดอยตุงโดยตรงมี
เพียงสองต้านาน คือต้านานพระธาตุดอยตุง และต้านานถ้้าปุ่ม ถ้้าปลา ถ้้าเปลวปล่องฟ้า

1
คณะกรรมการค้ นคว้ าวิจยั ประวัติพระธาตุดอยตุง,ประวัติพระธาตุดอยตุง,มูลนิธิแม่ฟา้ หลวงในพระราชูถมั ภ์สมเด็จพระศรีนคริทนาบรมราช
ชนนี วังสระปทุม กรุงเทพฯ และสถาบันวิจยั สังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,ฮันส์ เพนธ์ บรรณาธิการ (พิมพ์จาน่าย : มูลนิธิแม่ฟา้ หลวง และ
ธนาคารไทยพาณิชย์,๒๕๓๖ [พิมพ์ครัง้ ที่ ๑]),หน้ า ๑๔

ดังนั้น ในที่นี้จึงจะขอหยิบยกเนื้อหาและข้อความในต้านานพระธาตุดอยตุง และต้านานถ้้าปุ่ม ถ้้าปลา ถ้้า


เปลวปล่องฟ้า ฉบับวัดห้วยไค้ อ้าเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย เป็นหลักเบื้องต้น ในการวิเคราะห์และน้าเสนอ
๒. ประวัติควำมเป็นมำ
วัดพระธาตุดอยตุง ตั้งอยู่บริเวณส่วนที่เรียกว่าหน้าอกของดอยนางนอน ต้าบลห้วยไคร้ อ้าเภอแม่สาย
จังหวัดเชียงราย ถือเป็นปฐมเจดีย์แห่งล้านนา เป็นพระธาตุคู่บ้านคู่เมืองตั้งแต่ยุคเชียงแสน ถือเป็นพระธาตุที่พุทธ
ศาสนนิ กชนทั้งชาวเชียงราย ชาวไทยและชาวต่างประเทศให้ ความเคารพและแวะมาสักการะบูชาโดยเฉพาะ
เทศกาลส้าคัญ คือประเพณีขึ้นชุธาติ หรือประเพณีสรงน้้าไหว้สาพระธาตุดอยตุง ซึ่งจะจัดขึ้นเป็นประจ้าทุกปี
ในช่วงวันเพ็ญ ๑๕ ค่้า เดือน ๔ (เพ็ญเดือน ๖ เหนือ) ประมาณช่วงเดือนมีนาคม และที่ส้าคัญตามความเชื่อเรื่อง
พระธาตุประจ้าปีเกิด เชื่อว่าพระธาตุดอยตุงเป็นพระธาตุประจ้าปีเกิดของคนเกิดปีใค้หรือปีกุน ดังนั้น คนที่เกิดปี
กุนจะต้องมาสักการะอย่างน้อยสักครั้งในชีวิต
พระธาตุดอยตุงที่ปรากฏตามต้านานเล่าสืบทอดกันมาว่าสร้างมาแต่โบราณกาล เพื่อเป็นที่บรรจุพระธาตุ
รากขวัญเบื้องซ้าย (กระดูกไหปลาร้าข้างซ้าย) ของพระพุทธเจ้า ซึ่งเชื่อว่าเป็นหลักฐานแรกที่พระพุทธศาสนาเข้า
มาสู่ดินแดนล้านนา และเมื่อแรกก่อสร้างพระสถุปบรรจุพระบรมสารีริกธาตุนั้นได้ท้าธงตะขาบ (ล้านนาเรียกตุง ซึ่ง
เป็นเครื่องหมายแห่งความเป็นมงคลหรือเพื่อเป็นพุทธบูชา) ใหญ่และยาวหลายพันวาปักไว้บนยอดดอยคู่กับพระ
ธาตุ ธงหรือตุงขนาดใหญ่ได้ทอดร่มเงาปกคลุมบ้านเมืองที่ตั้งอยู่บนที่ราบเบื้องล่างให้มีความร่มเย็นและจะเป็น
ดินแดนที่พระพุทธศาสนารุ่งเรือง จากเหตุที่มีตุงขนาดใหญ่ปักคู่กับพระธาตุเหนือดอยจึงเป็นที่มาของชื่อดอยตุงสืบ
มา

ในต้านานพระธาตุดอยตุงเนื้อหาส่วนใหญ่จะเล่าเรื่องเกี่ยวกับพระบรมสารีริกธาตุบนดอยตุง โดยจะเล่า
ตั้ ง แต่ พ ระพุ ท ธเจ้ า เสด็ จ มาและมี พุ ท ธท้ า นาย การบรรจุ พ ระบรมสารี ริ ก ธาตุ ที่ น้ า มาจากอิ น เดี ย ซึ่ ง จะเล่ า
ประกอบการมีอภินิหารด้วย ว่าได้น้ามาบรรจุไว้เหนือดอยที่มีหินก้อนเดียวกันกับพระธาตุชุดแรก และเล่าเรื่องราว
การท้านุบ้ารุงพระบรมสารีริกธาตุตามห้วงยุคสมัยต่างๆ
๓.เนื้อเรื่องย่อจำกต้นฉบับ
เพื่อให้ผู้อ่านได้ทราบเนื้อหาเบื้องต้นก่อนจะน้าเข้าไปสู่การอ่านต้นฉบับที่ปริวรรตแล้วนั้น เห็นควรท้า
ความเข้าใจในเนื้ อเรื่ องเบื้องต้น ก่อน ในคัมภีร์ใบลานที่ จารึกนั้นเนื้ อเรื่องจะเริ่มต้นด้ว ยภาษาบาลี ที่กล่ าวถึง
พระพุ ท ธเจ้ า ทั้ ง ๔ พระองค์ ที่ ล่ ว งมาแล้ ว ภั ท รกั ป นี้ ห ลั ง จากบิ ณ ฑบาตที่ เ มื อ งราชคฤห์ และเมื อ งมิ ถิ ล าแล้ ว
ทุกพระองค์ก็จะเสด็จมายังภูเขานี้ แลประทับนั่งบนยอดเขา และในอนาคตพระศรีอริยเมตไตรก็จะทรงมีพระจริยา
วัตรอย่างนี้ เช่นกัน

ต่อมาเนื้อความจะกล่าวขึ้นต้นด้วยประโยคว่า มุนิราช และค้าว่า สาตรา ซึ่งหมายถึงกถา หนังสือ หรือ


วิชา ที่เป็นการแต่งคล้ายว่าจะเป็นการกล่าวรายงานเรื่องพระธาตุดอยตุง จากนั้นในเนื้อหาจะแบ่งออกเป็น ๓ ตอน
โดยตอนที่ ๑ และ ๒ เป็ น การเล่ า ถึงเหตุก ารณ์ห รื อสภาพแวดล้ อมที่ เกิ ดขึ้น บริ เวณดอยตุง รวมถึง เขตพื้น ที่
เชียงแสน และตอนที่สามจะกล่าวถึงเหตุการณ์ที่มีเค้าทางประวัติศาสตร์อยู่พอควร

ตอนที่ ๑ เป็นการอธิบายสถานการณ์บนดอยตุงและภูเขาพื้นที่ใกล้เคียงในสมัยพระพุทธเจ้าโคตมะ ว่ายัง


มีภูเขา ๓ คือ ภูเขาท่า อยู่ทิศเหนือ ภูเขาย่าเจ้า อยู่ตรงกลาง และภูเขาปู่เจ้า อยู่ทิศใต้ โดยลักษณะภูเขาจะตั้งอยู่
ใกล้กันเรียงเป็นรูปสามเหลี่ยมหรือมีลักษณะเหมือนก้อนเส้า

ในดินแดนดังกล่าวมีคนกลุ่มหนึ่งคือกลุ่มมิลักขุ หรือลัวะ โดยมีหัวหน้าเผ่าชื่อ ปู่เจ้าลาวจก (หรือลาววะจัก


กะ) อาศัยอยู่บนดอบปู่เจ้า เมียชื่อ ย่าลาวจก อาศัยอยู่บนดอยย่าเจ้า แลว่าดอยย่าเจ้านี้อยู่ใกล้ดอยมหาธาตุและ
ดอยดินแดง

หัวหน้าของปู่จ้าวลาวจกคือพญาอชุตตราชแห่งเมืองเชียงแสน ลาวจกและพรรคพวกท้าไร่ท้านาบนภูเขา
โดยใช้จอบเป็นเครื่องมือ ท้ามาค้าขายกับชนที่อยู่พื้นราบที่เชิงดอยที่ดอยท่า เมืองไล่ และเมืองบวบ

ครั้นเมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จจากภูเขาคิชกูฏ (ใกล้เมืองราชคฤห์) พร้อมด้วยเหล่าอรหันต์จ้านวน ห้าร้อยรูป


โดยน้าอาหารมาด้วย โดยพุทธองค์เสด็จมาทางเหนือมาตามแม่น้าโขง ทอดพระเนตรไปทางทิศตะวันตก เห็นภูเขา
สามลูก แล้วทรงเหาะขึ้นไปบนดอยตุง ในเวลานั้นเรียกว่าดอยดินแดง เพราะว่าบนดอยไม่มีต้นไม้เนื่องจากถูกแดด
เผาจึงมีเพียงต้นหญ้าขึ้นปกคลุมไปทั่ว และมีหินอยู่ก้อนหนึ่งมีลักษณะคล้ายมะนาวผ่าครึ่ง พระพุทธเจ้าได้ประทับ
บนหินก้อนนี้ เมื่อพระพุทธองค์ทรงเหยียบลงบนหิน หินนั้นก็จมลงไป ๕ ศอก และโผล่พ้นดินขึ้นมา ๗ ศอก ท้าให้
ปากถ้้าช้างเผือกถูกปิดลง

พระพุทธองค์ทรงผินพระพักตร์ไปทางทิศตะวันออก แล้วทรงท้านายว่าที่แห่งนี้ต่อไปจะเป็นเมืองส้าคัญ
เป็นที่ตั้งพระพุทธศาสนาตราบต่อเท่าห้าพันพระวัสสา และหลังจากที่พระพุทธเจ้าทรงเสด็จปรนิพพานไปแล้ว
ดูกด้ามมีดเบื้องซ้ายจะถูกน้ามาประดิษฐานไว้บนดอยตุง พระพุทธเจ้าตรัสกับพระอานนท์ว่า ให้พระมหากัสสปะ
เถระน้าพระอัฐิมาประดิษฐานในหินนี้ที่มีรูปลักษณะเหมือนมะนาวผ่าครึ่ง

จากนั้ น พระอานนท์ไ ด้น้ า น้้ า จากบ่ อน้้ า ทางทิ ศตะวัน ตกเฉี ยงใต้ข องเชิ งดอย มาให้ พระพุท ธเจ้า ฉั น
พระพุทธเจ้ าตรั สกับสาวกว่า พระพุทธเจ้ าสามองค์ก่อน คือ พระกกุสั นธะ พระโกนาคมนะ และพระกัสสปะ
หลังจากบิณฑบาตรในเมืองมิถิลาแล้วก็ได้เสด็จมาที่นี่ และประทับนั่งบนหินก้อนนี้เช่นกัน และหลังจากนั้นก็จะ
เสด็จไปฉันอาหารที่ในถ้้าปุ่ม ซึ่งจริยาวัตรนี้แม้พระอริยเมตไตรก็จะทรงกระท้าเช่นนี้เช่นกัน

เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จมาถ้้าปุ่มเสวยภัตตาหารแล้วก็จะทรงจริยาวัตรดังพระพุทธเจ้าองค์ และจะทรง
ท้านายว่าในอนาคตจะมีลิงมาดูแลรักษาถ้้านี้

ต่อมาเมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จไปยังสระน้้าซึ่งอยู่ทางทิศใต้ของถ้้าซึ่งอยู่เชิงเขาลูกหนึ่ง สระนี้ได้รับน้้าจาก
ล้าธารที่ไหลออกมาจากภูเขา ณ ที่แห่งนี้พระพุทธเจ้าทรงอธิฐานให้ปลาที่ได้รับบิณฑบาตมานั้นกลับฟื้นขึ้น มาใหม่
แล้วทรงปล่อยในสระ ด้วยเหตุนี้ปลาที่อยู่ในสระจึงมีลายเป็นเส้นขวางล้าตัว (ตามรอยไม้ตาหีบใช้หนีบปลาเวลาปิ้ง)

พระพุทธเจ้าตรัสกับพระอานนท์ว่า “บุคคลใดบูชาปลาด้วยการให้ข้าวตอกดอกไม้ จะมีชีวิตยืนยาว บุคคล


ใดบูชาพระเจดีย์ในถ้้าปุ่ม และในถ้้าเปลวปล่องฟ้า จะมีชีวิตยืนยาว” จากนั้นพระพุทธเจ้าและพระอรหันตสาวกก็
เสด็จกลับเมืองกุสินาราย และภายหลังถวายพระเพลิงพระบรมศพพระพุทธเจ้าแล้ว พระมหากัสสปะเถระก็น้าพระ
ธาตุ ๕๐๐ องค์ กับดูกด้ามมีดเบื้องซ้าย เกศธาตุ ทันตธาตุ และโลมาธาตุ มา ในครานั้นพระมหากัสสปะเถระพร้อม
ทั้งพญาอชุตตราชก็อัญเชิญพระธาตุขึ้นบรรจุบนดอยตุง ด้วยอภินิหารพระธาตุนั้นก็จมลงไปในหินที่พระพุทธเจ้า
เคยประทับนั่งนั้น ๘ ศอก พญาอชุตตราชได้พระราชทานทองค้าหนัก ๑,๐๐๐ แก่ลาวจกทั้งสองเป็นค่าที่ดินกว้าง
๓,๐๐๐*๓,๐๐๐ วา ซึ่งพระองค์ได้ถวายเป็นคามเขตแด่องค์พระธาตุ นอกจากนั้นพญาอชุตตราชยังได้มีค้าสั่งให้
มิลักขุ ๕๐๐ ครอบครัว ดูแลรักษาพระบรมธาตุ และยังสาปแช่งผู้ที่ลบล้างการกระท้าของพระองค์ ส่ วนมหา
กัสสปะได้อธิษฐานตุงยาว ๗,๐๐๐ วา ประดิษฐานไว้ ณ ที่แห่งนี้จึงได้ชื่อว่าดอยตุง

๔.เนื้อหำจำกคัมภีร์ใบลำน ควำมงำมทำงด้ำนภำษำและวรรณกรรมที่เป็นมรดกภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม

เพื่อให้เห็นความส้าคัญและความงามทางด้านภาษาและวรรณกรรมที่ถือว่าเป็นมรดกทางภูมิปัญญาทาง
วัฒนธรรมที่เล่าเรื่องต้านานพระธาตุดอยตุง และต้านานที่เกี่ยวข้องกับพระธาตุดอยตุงอีกต้านานหนึ่ง คือต้านาน
ถ้้าปุ่ม ถ้้าปลา ถ้้าเปลวปล่องฟ้า โดยใช้หลักการปริวรรตที่คงรูปศัพท์เดิมให้มากที่สุดเพื่อให้ผู้าอ่านได้เห็นความงาม
ในภาษาและวรรณกรรมล้านนาเรื่องนี้โดยตรง ทั้งนี้ท้ายบทได้น้าภาพถ่ายใบลานต้านานทั้งสองต้านานมาไว้ให้ผู้สน
ลองอ่านเพื่อเสริมอรรถรสดังกล่าวด้วย แต่อาจมีข้อจ้ากัดในเรื่องของภาพถ่ายที่อาจไม่ชัดเท่าที่ควร จึงเป็นอีกหนึ่ง
วาระที่ต้องมีการติดตามและบันทึกภาพถ่ายใบลานให้มีความคมชัดมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะได้จัดท้าในโอกาสต่อไปในภาย
หน้าเพื่อรักษามรดกทางภูมิปัญญาของแผ่นดินสืบไป

ตำนำนพระธำตุดอยตุง

นโมตสฺสตฺถุ
อิมสฺมึ ภทฺทกปฺเป จตุพุทฺธา พุชฺฌิตวา กกุสนฺโธ โกนาคมโน กสฺสโป โคตโม ราชคเห จรนฺติ ปิณฺฑาย จ มิถิลาย
นคเร จรนฺติ ปิณฺฑาย อตีตา จ พุทธา โน อิมสฺมึ ปพฺพเต คิริมตเก นิสิทิตฺวา เมตฺเตยฺโย อนาค เต จรติ ปิณฺฑาย
ราชคเห อิมสฺมึ ฐาเน สิริสุภวรมงฺคลอุตฺตโมฬารกถา
มุนิราช
สาตราอันนี้ไซร้ เป็นที่ตั้งไว้นบน้อมไหว้ครบย้าแยง บูชาคารวะ แก่นร เทวอินทา พรหม จตุโลกปาลา
อสุรา สุรครุฑ ภุชค ขัตติยราชเทวี เสนาธิปติ เศรษฐี คหบดี ทังหลาย ก้าหญิงชาย เพื่อหื้อพ้นจากอบาย จุ๊ตน จุ๊คน
ดีหลี
ตอนที่ ๑
ทีนี้ จักกล่าวต้า นานมหาธาตุพระพุทธเจ้ามีในภูเขาตั้งอยู่ท่ามกลาง เป็นเฉลิมเกศเกล้าเกศีนคร ราชธานี
ศรีเมืองยวนเชียงแสนแล

ยังมีภูเขา ๓ อัน ตั้งอยู่ปัจฉิมทิศแห่งชยบุรี แล ล้้าภูเขา ๓ อันนั้น อัน ๑ ชื่อภูเขาท่า ตั้งอยู่ทิศ อุตตร กล้้า
เหนือ อัน ๑ ชื่อภูเขาย่าเจ้า อยู่ท่ามกลาง อัน ๑ ชื่อ ภูเขาปู่เจ้า ตั้งอยู่ทางทักขิณะ แล้วล้าดับเป็นดั่งก้อนเส้าประ
สุมกันนั้น
นิทานเขา ๓ ก้อนนี้ ปณฺฑิตา นักปราชญ์เจ้าเปิงรู้ดั่งนี้เต๊อะ ในเมื่อพระพุทธเจ้าแห่งเรายังธอรมาน วันนั้น
ยังมีมิลักขุผัวเมีย ผู้ผัวชื่อ ปู่เจ้าลาวจก ผู้เมียชื่อ ย่าเจ้าลาวจก และบุ คคลทั้ง ๒ ผัวเมียมีจกเจา แลคน แล ๕๐๐
ลูก ลวดได้ชื่อว่า ลาวจก แล บุคคลทัง ๒ ก็อยู่เลี้ยงชีวิตอินทรีย์ด้วยของไร่ของสวน มีต้นว่า ถั่ว งา ฟัก แฟง แตง
เต้า พริก ขิง หื้อลาวจกทังหลายเอาไปขายแก่ชาวเมืองทังหลาย เลี้ยงชีวิต แล

ส่วนว่าลาวจกทัง ๒ ผัวเมีย ก็เป็นใหญ่แก่มิลักขุทังหลายอันอยู่ในดอยดินแดงอันเรียงดอยมหาธาตุเจ้านั้น


แล เหตุดั่งอั้นดอยอันนั้นจิ่งได้ชื่อว่า ดอยปู่เจ้า เพื่ออั้น แล ส่วนย่าเจ้าลาวจกผู้เมีย ก็อยู่ดอยทางเหนืออันถัดดอย
มหาธาตุเจ้านั้นจิ่งได้ชื่อว่า ดอยย่าเจ้า เพื่ออั้น แล
บุ ค คลทั ง ๒ ก็ มี ลู ก ชาย ๓ คน ผู้ ๑ ชื่ อ ว่ า ลวกุ มฺ โ ภ ไทยภาษาเรี ย กว่ า ลาวหม้ อ แล ผู้ ก ลางชื่ อ ว่ า
ลวทสลกฺข ไทยภาษาว่า ลาวล้าน ผู้น้องซ้อยชื่อว่า ลวคนฺโธ ไทยภาษาว่า ลาวกลิ่นรส เขาและลูกทัง ๓ นั้นอยู่ดอย
ลูกทางเหนือนั้น ไทยทังหลายก็เอาของค้าทังหลาย คือว่าหมากและเกลือ เสื้อผ้า จิ๊นปลาอาหาร ไปซื้อขายในตีน
ดอยที่นั้นเป็นท่าซื้อท่าขายแก่คนทังหลาย ดอยลูกนั้นได้ชื่อว่า ดอยท่า ตราบเถิงบัดนี้ แล
ส่วนว่าปู่เจ้าลาวจก ก็หื้อมิลักขุทังหลายเอาเครื่องไร่ เครื่องสวน และหน่อไม้ไล่ เอาลงไปขายยังตีนดอยที่
นั้น เหตุดั่งอั้นกาดอันนั้นจิ่งได้ชื่อว่า กาดไล่ ตราบเถิงบัดนี้ แล เมืองอันนั้นจิ่งได้ชื่อว่า เมืองไล่ แล
ตั้งแต่นั้นไปหน้า ปู่เจ้าลาวจกหื้อเอาหมากฟัก หมากบวบ ถั่ว งา แตง เต้า ลงมาขายแก่ไทยทังหลายอันอยู่
บ้านตีนดอยที่นั้น เหตุดั่งอั้นเมืองอันนั้นได้ชื่อว่า เมืองบวบ ตราบเถิงบัดนี้ แล
ลาวจกทัง ๒ ผัวเมียจากัน แล้ วปันข้าวของราชสัมปัตติแก่ลูกทัง ๓ คน นั้น ผู้พี่หื้อกินเมืองสี่ตวง ผู้กลาง
หื้อกินเมืองคว้าน ผู้น้องซ้อยหื้อกินเมืองละเอก แล
ในกาลเมื่อนั้น สัพพัญญูพระพุทธเจ้ายังธอรมานอยู่ แล้วเทียวจงกรมแก้วในตีนเขาคิชฌกูฏที่นั้น เทวทัต
เถระมันมักใคร่จักกระท้าร้าย ก้าจัดแก่พระพุทธเจ้าแล้วจักเป็นพระเจ้าแทน ว่าอั้น บุญสมภารพระพุทธเจ้ามีมากบ่
อาจจักกระท้าร้ายได้ มันจิ่งขึ้นสู่จอมดอยคิชฌกูฏ กลิ้งหินก้อน ๑ ใหญ่นักลง เพื่อจักหื้อถูกตนพระพุทธเจ้า ว่าอั้น
ยังมีหินก้อน ๑ มารับเอาหินก้อนนั้นบ่หื้อถูกพระพุทธเจ้าหั้น แล ส่วนพระพุทธเจ้าเท่ า อาวชฺชนาการ ร่้าเปิงเถิง
บารมี ๓ ถ้านเมตตาเถิงมัน เพื่อบ่หื้ออกเทวทัตแตก พระพุทธเจ้าก็เหยียดบาทกล้้าซ้ายไปหน้อยนึ่ง ที่นั้นยังมีหิน
กีบ ๑ สะเด็นถก ปาท บาทพระพุทธเจ้า พอหื้อบังเกิดโลหิตตุปปาทบาทจุ๊จ๊้าเป็นเลือด แล ที่นั้นหมอโกมารภัจจ
มาผ่าเอาเลือดออกเสีย แล้วก็ทายาหื้อร้างับ
แล้วพระพุทธเจ้าก็เสด็จออกจากดอยคิชฌกูฏ ก็ไต่เทียวกระแสแม่น้าขรนที2 ลงมาด้วยแม่ของ
แล้ว พระพุทธเจ้าก็เล็ งไปทิศกล้้าวันตก ก็หั นเขา ๓ อัน ตั้งเรียงกันอยู่ ก็เป็นเฉลิมแก่โยนกนครดั่งอั้น
พระพุทธเจ้าก็เสด็จมาด้ว ยทิศลวงอากาศ มีอรหันต ๕๐๐ พระองค์เป็ นบริวาร แล้ วก็ขึ้นสู่เหนือหินก้อน ๑ มี
สงสฐานดั่งหมากนาวตัดเกิ่ง ก็ตั้งอยู่เหนือเขาปู่เจ้าอันมีทิศหนใต้นั้น แล ภูเขาอันนั้นบ่มีไม้ เท่ามีหญ้าแพรด หญ้า
มุ้งกระต่ายและแฝกหอม แขมเหลือง กุสิ สะน่อย หากเป็นเขาตาพยเทส จึงเรียกว่าดอยดินแดงเพื่ออั้น แล หิน
ก้อนพระพุทธเจ้าย่้านั้น ก็มุดจมลมไปภายใต้ ๕ ศอก พ้นแผ่นดิน ๗ ศอก อึดปากถ้้าช้างเผือกอยู่ แล

2
แม่น ้าโขง

พระพุทธเจ้านั่งที่นั้นแล้ว ก็อว่ายหน้าสู่ทิศหนวันออก เล็งดูบ้านเมืองทังมวล ก็ท้านายทายว่า “เมืองอันนี้


จักเป็นเมืองอันใหญ่ เป็นที่ตั้งศาสนาแห่งพระตถาคต ตราบต่อเท่า ๕๐๐๐ วรรษา จ๊ะแล เมื่อพระตถาคตนิพพาน
ไปแล้วจักไว้สรีรธาตุดูกด้ามมีดเบื้องซ้ายในดอยตุงที่นี้ เป็นที่ไหว้และบูชาแก่คน และเทวดาทังหลายตราบต่อเท่า
๕๐๐๐ วรรษา จ๊ะแล” พระพุทธเจ้า ทมุตึ ท้านายว่าดั่งนี้ ก็จิ่งเจียรจากับด้วยอรหันตทังหลาย มีอานันทเถระเป็น
ประธานว่าดั่งนี้ “อานนฺท ดูกราอานนท์ เมื่อกาลตถาคตนิพพานไปแล้ว จุ่งหื้อมหากัสสปเถระ เอามหาธาตุพระ
ตถาคตมาประจุไว้ในผาก้อนนี้ สงสฐานดั่งหมากนาวตัดเกิ่งนี้ เต๊อะ”
เมื่อพระพุทธเจ้าเจียรจาเซิ่งอรหันตเจ้าทังหลายมีอานันทเถระเป็นประธาน ก็อยู่ส้าราญที่นั้นแล้ว พระก็
มักใคร่ฉันน้้า มหาอานันทเถระเอาบาตรตักเอาน้้าทางทิศหรดีแต่ตีนเขามาหื้อฉัน กันว่าพระพุทธเจ้าฉันน้้าแล้ว ก็
เจียรจากับด้วยอานันทะว่า “ดูกราเจ้าอานนท์ เมื่อกกุสันธะเกิดมาเป็นพระวันนั้น สยองแต่ป่าอิสิปตนมิคคทายะ
โพ้น มาเอาข้าวบิณฑบาตเมืองมิถิลา แล้วพระก็สยองมาด้วยลวงอากาศมานั่งเหนือผาก้อ นนี้ ก็ลงไปฉันข้าวยังตีน
เขาทิศกล้้าวันออกจ๊วยเหนือชื่อว่า ถ้้าปุ่ม ที่นั้น เมื่อโกนาคมนเจ้า เกิดมาเป็นพระแล้วไปบิณฑบาตข้าว ได้ข้าวแล้ว
ก็สยองมานั่งเหนือผาก้อนนี้ ก็ลงไปฉันข้าวยังถ้้าปุ่มที่นั้น เมื่อกัสสปเจ้าเป็นพระแล้ว ก็ไปบิณฑบาตข้าว ก็มานั่ง
เหนือผาก้อนนี้ แล้วจิ่งลงไปฉันข้าวยังถ้้าปุ่มที่นั้น แล แม้นพระอริยเมตไตรยโพธิสัตว์เจ้า กันเป็นพระแล้วไปเอา
ข้าวในเมืองราชคหะ ได้ข้าวแล้วก็มานั่งเหนือผาก้อนนี้ ก็จิ่งลงไปฉันข้าวยังถ้้าปุ่มที่นั้น จ๊ะแล”
พระพุทธเจ้าก็เจียรจากับด้วยเจ้าอานันทะ แล้วก็ลงไปฉันข้าวยังถ้้าปุ่มที่นั้ นโดย (ดั่ง) พระพุทธเจ้าทัง
หลายแต่ก่อนนั้น จ๊ะแล พระพุทธเจ้าก็กล่าวว่า “ฐานะที่นี้จักมีมักฏะ ๒ ตัวมาอยู่เฝ้าถ้้าที่นี้ ก็จักแพร่ออกหลวง
หลาย จักอยู่รักษาถ้้าที่นี้ ผู้ใดได้บูชามักฏะหมู่นี้แล้วขอเอาพรส่วนเสี้ยวแล้วบูชาด้วยข้าวน้้า หมากไม้ ลูกไม้ ก็จัก
อุดมสมฤทธิ์ จ๊ะแล”
พระพุทธเจ้าท้านายมักฏะแล้ว ก็เสด็จไปสู่ทิศกล้้าใต้ถ้าปุ่ม เลียบตีนเขากล้้าวันออกจ๊วยใต้อันมีสระน้้าอัน
๑ ไหลออกท้องเขาออกมา ควรอัจฉริยะนักหนา แล พระพุทธเจ้าและอรหันตมีอานันทเถระตนปฏิบัติเป็นประธาน
พระพุทธเจ้าก็อธิษฐานปลาปล่อยไว้ในสระที่นั้น มีรูปตาหีบคีบทางยาวจุ๊ตัวอันบุคคลน้ามาใส่บาตรพระพุทธเจ้านั้น
แล
“บุคคลผู้ใดได้บูชาปลาด้วยข้าวตอก ดอกไม้ ทาน (หื้อ) เขา แล้วขอเอาอายุ ก็สวัสดี แล ผู้ใดได้ไหว้และ
บูชามหาธาตุเจ้าถ้้าปุ่ม และถ้้าปลา มหาธาตุเจ้าเปลงปล่องฟ้า แล้งอธิษฐาน แล้วบูชาน้้าบ่อทิพย์อันมีในถ้้าเปลว
ปล่องฟ้า บุคคลผู้ใดอธิษฐานกินมีอายุยืน แล”
พระพุทธเจ้าจากับด้วยเจ้าอานันทเถระเท่านี้แล้ว มีหมู่อรหันตทังหลายเป็นบริวาร พระก็เสด็จไปสู่บ้าน
น้อยเมืองใหญ่ ล้าดับไปตราบเถิงเมืองกุลินาราย พระก็นอนอยู่ใต้หว่างละแวกเค้าไม้รัง ๒ ต้น อันมีใบดกหนา พระ
ก็นิพพานไปที่นั้น แล
๑๐

เมื่อดั่งอั้น ท้าวพญาเมืองมัลละทังหลาย ก็ สรีรกายกตตา บัวรมวลแล้วด้วยตนพระเจ้า อรหันตเจ้าทัง


หลายมีอนุรุทธเถระเป็นประธาน และโทณพราหมณ์ พร้อมกันแจกธาตุพระพุทธเจ้าไว้ในบ้านน้อยเมืองใหญ่จุ๊แห่งจุ๊
ที่ แล มหากัสสปเถรเจ้าก็เอาธาตุพระพุทธเจ้า ๕๐๐ พระองค์ กับดูกด้ามมีด และเกศาธาตุ ทันตธาตุ โลมาธาตุ
สรีรธาตุทังหลาย (ทัง) มวล ใส่โกศแก้วปทมราคลูก ๑ ใหญ่เท่าแม่พาทย์ เอาผ้าจันท์ร้านึง ยาว ๘ วา ละเอียดนัก
ห่อธาตุพระพุทธเจ้า ก็สยองขึ้นมาแต่ลวงอากาศ มีอรหันต ๕๐๐ ตนเป็นบริวาร มาเถิงนครเมืองยวนเชียงแสน
ก็กล่าวแก่พญาอชุตตราช ตนเสวยเมือง โดยดั่งพระเจ้าสั่งไว้จุ๊อัน
ที่นั้น พญาอชุตตราชก็ยินดีนัก พญาก็หื้อเปิ้นแปลงโกศลูก ๑ แล้วด้วย (ทอง) ค้าซ้อน โกศแก้วอันนั้น กับ
เครื่องบูชาทังมวล พญาก็เอาหมู่ริพลทังหลายมีเสนาโยธาแวดล้อมเป็นบริวาร ก็ราธนายังธาตุพระพุทธเจ้าขึ้นสู่จอม
ดอยด้วยอรหันตเจ้าทังหลาย และมหากัสสปเจ้า ก็เอาโกศธาตุพระพุทธเจ้าขึ้นตั้งเหนือหินก้อน ๑ เหมือนหมาก
นาวตัดเกิ่งนั้น มหากัสสปเถรเจ้า ก็อธิษฐานธาตุพระพุทธเจ้าหื้อมุดจมลงอยู่ในหินก้อนนั้น เลิก ๘ ศอก และธาตุ
พระพุทธเจ้าก็กระท้า อธิษฐานญาณาประยาปฏิหาริยธรรม เปล่งรัศมีออกมีวรรณะ ๖ ประการทั่วเมืองเชียงแสน
ทังมวล เป็นดั่งพระจันทร์เป็งนั้น แล
พญาอชุตตราช ก็อยู่อปัฏฐากธาตุพระพุทธเจ้ากับด้วยอรหันต์เจ้าทังหลาย ก็เรียกหาปู่เจ้าลาวจกทัง ๒ ผัว
เมียมา แล้วก็หื้อ (ทอง) ค้า ๑,๐๐๐ แท่ขาทัง ๒ ขอเอาคามเขตแลด้าน ๓,๐๐๐ วา แล้วก็โอกาสเวนทานกับธาตุ
เจ้า แล้วพญาอชุตตราชก็หื้อชาวมิลักขุทังหลาย ๕๐๐ ครัว อยู่อุปัฏฐาก แล้วก็หยาดน้้าไหว้หื้อ อุปัฏฐากพระธาตุ
เจ้า แล แล้วพญาอชุตตราชมหากษัตรา ก็แช่งไว้บ่อหื้อไผม้างสักคน แล ก็เสด็จเมือสู่ที่อยู่แห่งตน กระท้าบุญหื้อ
ทานบ่ขาดสาย แล
เมื่อนั้น มหากัสสปเจ้า ก็อธิษฐานคันตุงยาวโยชนะกันตุงยาว ๗,๐๐๐ วา ลวงขวาง ๕๐๐ วา กางบูชา
มหาธาตุเจ้า ตุงผืนนั้น มีวรรณะ ๖ ประการ ขาว เขียว แดง ด้า หม่น เหลื้อม ก็บูชาพระธาตุเจ้าทิศหนวันออก
ทางขวา (มือ) เมื่อขึ้น แล
จ้าเนียรแต่นั้นไปภายหน้า คนทังหลายหันตุงทิพย์ผืนนั้นจิ่งใส่ชื่อว่า ดอยตุง ตราบบัดนี้ แล ร่มตุงทิพย์ผืน
นั้นออกง้าเมืองเชียงแสน จักสมฤทธีมากนัก จ๊ะแล
มหากัสสปเถรเจ้า ก็เนรมิตน้้าบ่อสระไว้ อันมหาอานันทะตักเอาน้้าฉันพระพุทธเจ้า เพื่อไว้หื้อแก่คนทัง
หลาย ผู้ใดจักขึ้นไหว้มหาธาตุเจ้า หื้อช้าระตนแล้วในสระที่นั้น ก็ขึ้นไหว้มหาธาตุเจ้า เต๊อะ ผู้ ใดจักใคร่หื้อหาย
อนทราย และใคร่หื้อได้ข้าวของ และปรารถนาอันใดก็ดี หื้อสูตร ชยนโต ไปรอด ปโมทติ แล้วอาบน้้าสะตน จิ่งขึ้น
ไหว้มหาธาตุเจ้า แล้วปรารถนาเอา หากจักสมฤทธีจุ๊อัน แล
ด้วยแท้ สระน้้าบ่อทิพย์ก็มีหลาย ตามต้านาน (ที่) มหาวชิรโพธิเจ้า ได้แต่เมืองกุสินารายโพ้ น มาไว้หื้อ
ปรากฏมีดังนี้ ตั้งแต่บ่อสระขึ้นเถิงกิ่วมหาธาตุเจ้า ก็มี ๑๒ บ่อ บ่อถัดนั้นชื่อ จอมโลกโมลี มีภายเหนือวัด คือซ้ายมือ
เมื่อขึ้นมี ๕ บ่อ
๑๑

(๑) บ่อ ๑ ชื่อ แก้วจินตามณี


(๒) บ่อ ๑ ชื่อ ค้าทิพย์
(๓) บ่อ ๑ ชื่อ เงินปอน
(๔) บ่อ ๑ ชื่อ ทิพยาธร
(๕) บ่อ ๑ ชื่อ อินทาถะแหลง (รวมเป็น) ๕ บ่อ แล
บ่อหัวทีพญานาคเนรมิตไว้ มีแก้ว ๗ ประการ ได้เงินค้าไหลออกมาบูชามหาธาตุเจ้า
บ่อถ้วน ๔ ทิพยาธรเนรมิตไว้ หื้อเป็นยาแก่คนทังหลายหายพยาธิทังมวล
บ่อถ้วน ๕ พญาอินทาเนรมิตไว้ เพื่อหื้อสรงมหาธาตุเจ้าเมื่อยามแล้ง เพื่อหื้อฝนตก ชุ่มเย็นบ้านเมืองอันนึ่ง
เพื่อไว้หื้อเป็นน้้ามุทธาภิเสกพระสังฆเจ้าเบิกบายนามวิเศษ หื้อมีอานุภาวะอาจรตรัสรู้พระธรรมวินัยปิฎก แล
ในที่นี้ จักกล่าวยังน้้าบ่อทิพย์มีทิศกล้้าใต้วัด ทางขวา(มือ)เมื่อขึ้นมี ๗ บ่อ แล
(๑)บ่อตั๊ดที่กิ่วมหาธาตุชื่อ ก้าแพงเพชร เหตุเลิกนัก กระดานผาล้อมไว้ แล บ่อนี้ปรไมสวรเนรมิตเพื่อหื้อ
หายความกลัวแห่งสัตว์ทังหลาย เพื่อหื้อหายแต่อนทรายทังมวล แล บุคคลผู้ใดอธิษฐานกิน มีปัญญาวิสารทะกล้า
หาญ แม่นสัตว์กินก็หาญ แล
(๒)บ่ อถัดนั้ นชื่อ พระนารายณ์ (พระนารายณ์) เนรมิตไว้ ผู้ใดกินก็หาญนัก แพ้ผียักษ์ ผีเปรต ผี วิสาจ
บ่ (เบียด) เบียนได้ แล
(๓)บ่อลุ่มวัดนั้น ฤาษีเจ้าขุดไว้ เพื่อหื้อชาวเจ้าสมณพราหมณ์กินบัวรโภค มักจักหื้อหายราคะ ตัณหา โมหะ
หื้อน้อยบาง แก่โยคาวจรทังหลาย แล
(๔) บ่อถัดนั้นชื่อนาคบาป มีนางนาคผัวตายเสีย มีราคะหากไหม้ ตน มันออกจากเมืองนาคแล้วหันลูกสิกข์
เจ้าฤาษีตน ๑ มีรูปงามนัก ใคร่ได้เป็นผัว มันก็เนรมิตน้้าบ่ออาบหื้อไหลออกมาจากท้องดอยเพื่อหื้อฤาษีหนุ่มได้กิน
หื้อบังเกิดราคะ ตัณหากาม และหื้อหลงเข้าบ้วงบาศ แห่งตน แล
(๕)บ่อถัดนั้นชื่อ มังคละ วิษณุกรรมเนรมิตไว้ เพื่อหื้อสมณพราหมณ์และฤาษีได้กิน เป็นมังคละวุฒิจ้าเริญ
พรหมจารี
(๖ + ๗) ๒ บ่อข้างหนทาง มหาอานันทเจ้าเนรมิตไว้ ชื่อ อานันทสระ เพื่อหื้อคนทังหลายสะเนื้อตนในสระ
ที่นั้นแล้วจิ่งขึ้นไหว้มหาธาตุเจ้า เต๊อะ
สระโบกขรณีทังหลายฝูงนี้ บุ คคลผู้ใดใคร่หื้ อหายภัยอนทราย หื้อสวาธิยาย ชยั นโต เถิง ปโมทติมนต์
ส้มป่อยช้าระด้าหัว ก็หากจักสมฤทธีจุ๊อัน จ๊ะแล
ประการ ๑ พญาวิรูปักขะเนรมิตสระอัน ๑ ไว้ภายวันออกมหาธาตุเจ้า ไกลประมาณ ๓๐ วา แล้วหื้อนาค
ตัว ๑ ชื่อว่า ชุมพูลิริ อยู่รักษา นาคตัวนั้นก็อยู่ท้องดอยเปลวปากถ้้าอันมาต่อข้างสระกล้้าวันออกมหาธาตุเจ้าหั้น
แล ผู้ใดบูชานาคตัวนั้น ก็เที่ยงจักสมฤทธีบัวรมวลแก่ผู้นั้น แล
๑๒

หินศิลาก้อนเหนือจ๊วยวันออกใกล้ธาตุเจ้า มีหินศิลาตั้งบาตรพระพุทธเจ้า แล ผู้ใด ได้บูชามีปัญญาหมั้นคุง


รู้ปฎกทัง ๓ ด้วยปรารถนา แล
หินศิลาบาตรก้อนนั้นก็ดี สระทังหลายฝูงนั้นก็ดี ก็อุดมประเสริฐนัก ก็เสมอดั่งมังคละสระโบกขรณีอันมีที่
จิ่มใกล้ตีนเขาคิชฌภูฏ นั้น แล
มหากัสสปเถรเจ้า ก็ยกยอคุณพระพุทธเจ้า แล้วก็อธิษฐานคันตุงและตุงไว้บูชามหาธาตุเจ้า ก็อยู่อุปัฏฐาก
มหาธาตุเจ้า แล้วก็ลยองเมือสู่เมืองวิเทหรัฐ ตีนเขาสิเนโร แล้วก็นิพพานในถ้้าชื่อว่า กุกกุฏสิขิคีรีที่นั้น ก็มีตนบ่เน่า
ตั้งอยู่เป็นปกติ เทวดาอินทาพรหมรักษา ดอกไม้ก็บ่เหี่ยวแห้ง ก็ยังหอมอยู่ ประทีปก็บ่ดับ จักตั้งอยู่นานตราบต่อ
เท่าพระเมตไตรยโพธิสัตว์เจ้า ด้วยอธิษฐานสรีรกรรม จ๊ะแล สริรปัญจขันธ์ แล
ตอนที่ ๒
ในที่นี้ จักกล่าวเถิงตระกูลปู่เจ้าลาวจกสืบไปภายหน้า ส่วนขาทัง ๒ ก็มีในประสาทศรัทธายินดีในไตรรัตนะ
แก้วทัง ๓ บ่ประมาททาน มีสัจจะ ๔ และทรงศีล ๕ ศีล ๘ เทียรย่อมหื้อทานปัจจัยทัง ๔ และข้าวน้้าโภชนะอาหาร
และ วตฺถกาลสมย ดอกไม้ เครื่องไล้ลาทา คันธะของหอม มีช่อตุงบูชามหาธาตุเจ้าและไตรรัตนะ กันว่าจุติตายก็ได้
ไปเกิดเป็นพรหมเทวดา ขาทัง ๒ ก็มีวิมานตั้งอยู่เสวยสัมปัตติทิพย์มากนักก็อยู่รักษามหาธาตุเจ้านาน ประมาณ
๑๐๐๐ ปีเมืองคน
แต่นั้นไปภายหน้า ศาสนาก็ยังตั้งอยู่เมืองยวนนานได้ ๕๐๐๐ วรรษา จ๊ะแล เท่าว่าท้าวพญาขัตติยราชมหา
กษัตริย์ อันเสวยเมืองยวนบังเกิดมีด้วยราชสัมปัตติในประเทศเขตเมืองยวนนี้ก็เป็น อสทฺ ธมฺมิก ใจบาปนัก พรหม
เทวดาลาวะจักกะมักจักยกยอยังศาสนาพระเจ้า มักจักใคร่ตั้งไว้ยังขัตติยราชกษัตริย์ตนเป็น ธมฺ มิก ได้ค้าชูศาสนา
พระพุทธเจ้า ตราบต่อเท่า ๕๐๐๐ วรรษา ว่าอั้น ลาวะจักกะก็จิ่ง อามนฺ ตนาเจียรจากับด้วยนางเทวธิดาอันเป็นปิย
ชายาแห่งตนว่า “ภทฺเท ธีตา ดูกรานางธิดา กาลอันนั้นเป็นกาลอันควรแห่งราทัง ๒ ลงเมือเป็นท้าวพญาในเมืองคน
เลิกยกยอศาสนาพระพุทธเจ้าควร จ๊ะแล” เทวธิดาผู้เป็นภริยารับค้าเอา ค้าสามิกะแห่งตนว่า “สาธุ ดี” ดังนี้ แล
จิ่งเนรมิตยัง เอกหิรญฺญเสนิย้ ขึ้นไดเงินก่ายจอมเขาลงเถิงตีนดอย แล้วก็ลงมาด้วยบริวาร ๕๐๐ ดูวิลาสองอาจงาม
มากนัก แล้วก็เนรมิตเหรญฺญปลฺลงฺก้ แท่นเงินลูก ๑ ลวงกว้างและสูง ๑๒ ศอก เป็น สมจตุรส้ แล้วก็ยืนอยู่แท่นเงิน
ที่นั้น ก็กล่าวแม่คนทังหลายว่า “ดูกราคนทังหลาย เรานี้ชื่อว่า ลาวะจักกะภุมมราช จักลงมาเป็นท้าวพญาแก่ท่าน
ทังหลาย จักสั่งสอนท่านหื้อชอบทศราชธรรม ๑๐ ประการ หื้อตั้งอยู่ในไตรรัตนะค้าสอนแห่งสัปปุริสเจ้าทังหลาย
แท้ คีหลี แล” คนทังหลายก็ได้ยินค้าแล้วก็รับเอาว่า “สาธุ ดีดี” แล
กันว่าลาวะจักกะทัง ๒ ก็จุดตายด้วย นามวิมุตฺ ติกายกริยา กลับเป็นคนเกิดด้วย โอปปาติกปฏิสนธิแล้ว
ใหญ่ได้ ๑๖ ขวบเข้า ก็มีเครื่องอภิเษกพร้อมกับด้วย มนุสฺส คนทังหลาย ก็อภิเษกพร้อมด้วย อสฺ สิเสกโอปปาติกกุ
มารกุมารี หื้อเป็นท้าวพญาปรากฏด้วยชื่อว่า ลาวะจักกะราช แล
๑๓

เหรญฺญปลฺลงฺก้ แท่นเงินนั้น ลาวะจักกะมหาราช ก็มีพระราชอาชญาปลงเป็นทาน สร้างกุฏิ วิหาร ก้าแพง


ประตูโขง มัณฑกะ เศษเหลือก็ทานแก่ยาจกวณิพ กทังหลาย แล เหรญฺ ญเสนิเย ขั้นไดเงิน ก็หื้อสร้างศาลากว้าน
ทาน ศาลาทัง ๔ ประตูเวียงหลวง ทานวันอุโบสถ และสีล ปักข และเศษเหลือนั้นไว้หื้อทานไปไจ้ๆ เสี้ยงเขตอายุ
๑๒๗ ก็จุติตายเมือเกิดชั้นฟ้าตุสิตาปรากฏชื่อว่า ปลฺลงฺกเสนิยเทวบุตร จักกฏข้าวของทังมวล เป็นต้น ยัง เหรญฺญเส
นิเย น้้าหนักมี ๗๐ โกฏิ ปลาย ๘ ล้าน ๕ แสน ๗ หมื่น ๗ พัน แลเหรญฺญปลฺลงฺก้ น้้าหนักมี ๙ โกฏิ ปลาย ๘ ล้าน
ปลาย ๕ แสน ๗ หมื่น ๗ พัน แล อันนี้กฎตาม สสิลธนมหาจินฺตญาณ สังขยาหลวง แล
มหาราชลาวะจักกะ เมื่อยังเสวยราชสัมปัตติเมืองคนเรานั้น มีราชบุตร ๓ ตน แล ตน ๑ ชื่อ ลาว ช้างก้อม
ตน ๑ ชื่อ ลาวแผ่นแผ้ว ตน ๑ ชื่อว่า ลาวเกล้ าแก้วมาเมือง แต่ลาวะจักกะราชบุตร และราชเทวีอยู่เสวยราช
สัมปัตติในเหรัญญนครสืบสืบ ปิตุมาตามหาราช มา ก็เทียรย่อมขึ้นอุปัฏฐากชินธาตุเจ้าดอยตุงจุ๊ปี บ่หื้อขาด ก็ซ้า
ปลงราชอาชญาศุภสารทานมิลักขุ ๕๐๐ ครัว หื้ออยู่อุปัฏฐากมหาธาตุเจ้าจุ๊ปีโดยดั่งโบราณกษัตราทังหลาย แล
ล้าดับราชวงศ์สืบมามี ๑๗ ตน สืบสายราชประเพณี เสวยราชสัมปัตติ ก็จ้าเริญรุ่งเรืองบานงามหาเสี้ยนหา
หนามคือโจรมารบ่ได้ ก็เทียรย่อมเอาริพลเข้าไหว้มหาธาตุเจ้าจุ๊ปี ก็เวนมิลักขุ ๕๐๐ ครัว เป็นทานจุ๊ตน แล ราช
วงศามหากษัตริย์สืบประเพณีประชานรัฐทังหลาย (ทัง) มวล ก็อยู่เย็นเป็นสุขเกษมมากนักหนา แล ผิว่าจักคณนา
แดนแต่ลาวะจักกะมหาชและราชบุตรทัง ๓ ตน และราชนัตตาและนัตตี สืบปรับปรามาเถิงพญาลาวเคียง ได้ ๓๐
ตน แล
เจ้าลาวเคียงเสวยเมืองปี (จุล) ศักราช ๙๙๑ ปีมะเส็ง (พ.ศ.๒๑๗๒ / A.D.๑๖๒๙) ไทยภาษาว่า ปีกัดไส้
เดือนเจียงเป็ง เม็ง (ว่า) วันศุกร์ ไทย (ว่าวัน) ล้วงเม็ด ยามกลองงาย
ลาวเคียงได้เสวยราชสัมปัตติแล้วก็อยู่พอ ๓ ปี เจ้าลาวเคียงสร้างเวียงเหรัญญ คือเวียงเงินยาง จุลศักราช
ได้ ๙๙๓ ตัว (พ.ศ.๒๑๗๔ / A.D.๑๖๓๑) ในมะแมฉน้ากัมโพชพิสัย ไทยภาษาว่าปีล้วงเม็ด เสด็จเข้ามาใน คิมหนต
อุตุวิสาขปุณมี ไทยว่าเดือน ๖ เป็ง เม็ง (ว่า) วันอาทิตย์ ไทย (ว่าวัน) กดสียามกลองงาย แล ๑ (อาทิตย์ และ) ๔
(พุธ) อยู่มีน ๗ (เสาร์) อยู่สิงห์ ๕ (พฤหัสบดี) อยู่มังกร ๓ (อังคาร) อยู่ภสพ จนทจรณยุตติ เสวยฤกษ์ ตัว ใน ราศี
แล
เรียงนั้นไปหน้า มหากัสสปะนิพพานแล้ว ภายลูนอรหันตทังหลายไปเอาข้าวบิณฑบาตเมืองวิเทหะ ได้ข้าว
แล้วขึ้นมาฉันข้าวเหนือผาก้อน ๑ ตีนเขาปู่เจ้าที่นั้น เต ทิสวา ปุร ก็หันปลาปิ้ง ๓ ตัวในบาตรที่นั้น มีวรรณะ ๓
ประการ ด้า แดง เหลือง อรหันตเจ้าก็อธิษฐานหื้อมีชีวิต ก็ปล่อยไว้เป็นดั่งพระพุทธเจ้าปล่อยนั้น แล ปลาอันนั้นก็
ได้ชื่อว่า ปลาทิพย์ เสมอดั่ง ปลาอันชื่อว่า อนตตสุวณณสส มหาโปกขรณี โขนาโถ นั้น แล เรียงนั้นคนทังหลาย
เรียกว่า ถ้้าปลาพระเจ้า ต่อเท่าบัดนี้ แล บุคคลผู้ใดใครได้อายุวัฒนะ (หื้อ) ร่้าเปิงเถิงคุ ณพระพุทธเจ้าและอรหันต
ทังหลาย บูชาอธิษฐานก็สมฤทธี แล อรหันตเจ้า ก็อุปัฏฐากมหาธาตุเจ้าตามอันมักแห่งตน แล้วก็นิพพานจุ๊ตน และ
๑๔

ส่วนพญาอินทาเจ้าฟ้ามีหมู่บริวารลงมาบูชาไหว้มหาธาตุเจ้าแล้ว ก็เนรมิตุงผืน ๑ ยาว ๗,๐๐๐ วา เท่าตุง


มหากัสสปเจ้า คันยาว ๘,๐๐๐ วา กว้าง ๕๐๐ วา มีวรรณะ ๖ ประการ ก็กางทางวันออกจ๊วยเหนือเป็นคู่ตุง
มหากัส สปเจ้า พญาอินทาก็ไว้เทวบุ ตรตน ๑ ชื่อ สุรกาญาเทวบุตร ไว้รักษามหาธาตุเจ้าดั่งอั้นเพื่อบ่อหื้อเป็น
สาธารณ์อนทราย แล้วก็หนีเมือสู่เวชยนต์ปราสาทตาวติงสาสวรรค์ แล ส่วนสุรกาญาเทวบุตร รักษามหาธาตุเจ้า
เพื่อบ่อหื้อเป็นอนทราย กันบุคคลผู้ใดจักขึ้นไหว้มหาธาตุเจ้าดั่งอั้น อย่าเสีย ทวตฺ ตึสาการ อันอนาทร มีเป็นต้น
มุตตะ เป็นที่สุด ในโขงเขตมหาธาตุเจ้าเหตุบ่อเปิงใจเทวบุตรต้นนั้น ย่อมกระท้าหื้อเป็นอนทรายบุคคลผู้นั้น
เรียงนั้นไปหน้า ยังมีตาปสฤาษีเจ้าตน ๑ ชื่อว่า กัมมโล ลุกแต่ป่าหิมพานต์มาอุปัฏฐากมหาธาตุเจ้าก็อยู่
ในอัสสมศาลาในดอยลูก ๑ ชื่อว่า มุงเมือง ก็มีปัจฉิมทิศมหาธาตุเจ้า แล ฤาษีเจ้าทังหลายเทียรย่อมไปน้าเอายัง
ลูกหมากซางแต่ป่าหิมพานต์ มาปลูกไว้ แทบตีนเขา มีชื่อว่า อุปผลิ ลูกใหญ่เท่าหมากชมพู มีรสอันหวานเสมอดั่ง
น้้าเผิ้งนั้น แล
ฤาษีเจ้าทอด มุตฺตกิเลส ที่ควรอันนึ่ง แม่กวางตัว ๑ มาดูดกิน มุตฺตกิเลส เจ้าฤาษี นั้น แล แม่กวางลวด ปี
ติกติ ทรงคัพภะ บ่นานเท่าใดแม่กวางก็ประสูติลูกเป็นคน ก็เป็น กุมารีน้อย แม่กวางหันเป็นคน ลวดละเสีย หนีไป
พอตน ยังมีวัน ๑ เจ้าฤาษีก็แอ่วจรเดินหาลูกไม้มูลมั น ก็หันนางผู้น้อย ก็จิ่งเก็บเอามาเลี้ยงไว้เป็นลูกแห่งตน เจ้า
ฤาษีก็อธิษฐานด้วยคาถา ๒ บท ฤาษีเหยียดทัตถะกล้้าซ้ายหื้อนางดูดต่างนมแม่ แล้วเจ้าฤาษีเอาหมากซางหน่วยสุก
หื้อกินต่างภัตตโภชนะจุ๊วัน นางกุมารีมีอายุ ๑๖ เข้า นางก็ประกอบด้วยอิตถีลักขณะเลาล้วนถ้วนจุ๊ประการ กัมมโล
ฤาษีเจ้าก็เบิกบายนามวิเศษชื่อ นางปทุมมา แล เรียงนั้นไปหน้าคนทังหลายว่า กวางกินเยี่ยว ต่อเท่าบัดนี้ แล
โส อชุตฺโต ราชานาม ปวตฺติ ชานาติ เมื่อนั้น อชุตตมหาราชรู้ประวัติข่าวสารว่า นางผู้ทรงรูปดีมีที่เจ้าฤาษี
จิ่งหื้อแต่ง (ทอง) ค้าแสน ๑ เครื่องบูชาพร้อมบัวรมวลแล้ว พญาอชุตตราชเอาจตุรังคเสนา ๔ จ้าพวกไปสู่ส้านัก
พระฤาษีเจ้า สกฺกจฺจคารว ด้วยครบย้า แล้วก็ขอเอานางเซิ่งพระฤาษีเจ้าว่าดั่งนี้ ภนฺเตตาปส ข้าแด่เจ้าฤาษี มาตุ คา
มา นาม ชื่อผู้หญิงทังหลาย เทียรย่อมเป็นมลทินแก่พรหมจริยกรรมอันประเสริฐด่าย เจ้ากูจุ่งเมตตาตั้ งวางยังนาง
ปทุมมาแก่ข้า ดีหลี เต๊อะ พญาอชุตตราชก็มี ราชยาจน ฉันนี้ กัมมโลตาปส ก็วางเวนนางปทุมมาวดีกุมารีธิดา (หื้อ)
กับพญาอชุตตธรรมิก แล
ที่นั้น พญาอชุตตธรรมิก ก็เวน (ทอง) ค้า ๕ แสนหื้อตอบคุณมหาฤาษีเจ้า กัมมโลฤาษีเจ้าเท่า อนุญาต
ปติจฉา ด้วย มหุติกาล แล้วก็ หื้อ (ทอง) ค้าแก่บุตรปทุมมาวดีว่าดังนี้ ดูรานาง ค้า ๕ แสน เอาเมือหล่อหื้อเป็นรูป
กวางตัว ๑ แปลงโรงไว้บนหัวไว้ไหว้สักการบูชาจุ๊วัน เต๊อ ะ ที่นั้น พญาอชุตตราชธรรมิกก็อ้า ลาพระฤาษีเจ้า เอา
ปทุมมาวดีกุมารีเมืออภิเษกเป็นอรรคมเหสีเทวี แล นางปทุมมาวดีก็หื้อช่างค้า หล่อค้า ๕ แสน เป็นรูปกวาง สมมุติ
เป็นแม่แห่งตน แปลงมณฑปภายทิศ อุตฺตมงฺค ก็บูชาคารวะเป็นแม่แห่งตนด้วยเตชภาวครว (รูป) สมมตินางก็มีอายุ
๑๒๐ ก็จิ่งจุติไป เรียงนั้นคนทังหลายจิ่งเรียกชื่อว่า เวียงกวางกินเยี่ยว เมื่อลูนเรียก เมืองห้าแสน ตราบบัดนี้ แล
๑๕

มหาอชุตตธรรมิกราชอยู่เสวยราชสัมปัตติในนครเมืองเชียงแสน เป็นราชธานีเมืองใหญ่ ด้วยเตชอานุภาวะ


ซะลาบปราบเมือง อุตตร กล้้าเหนือ มีหนองแสเป็นแดน ซะลาบ ทักขิณทิศ กล้้าใต้ มีละโว้เป็นแดน เป็นอาณารัฐ
เขตพญาอชุตตธรรมิกเลี้ยง แล
เรียงนั้น กัมมโลฤาษีเจ้าตนเป็นพ่อนางปทุมมา ก็ ปติฏฐ ตั้งอยู่ตราบอายุจุติ ก็เมือเกิด รูปาวจร พรหมโลก
แล
สมฺมา สมฺพุทโธ สตวสฺส นิพฺพุโต พระพุทธเจ้านิพานไปได้ ๑๐๐ ปีแล้ว ยังมีฤาษีเจ้าตน ๑ ชื่อว่า สุรเทโว
มาแต่ป่าหิมพานต์เพื่ออุปัฏฐากมหาธาตุเจ้า แล ฤาษีเจ้าตนนั้นไปน้้าเอามายังสรีรธาตุพระพุทธเจ้าแต่เมืองราชคหะ
ประมาณ ๕๐ องค์ ใส่โกศแก้วลูก ๑ เท่าแม่พาทย์ ก็มาด้วยลวงอากาศ มีฤาษี ๕๐๐ ตนเป็นบริวาร ก็มาเถิงเมือง
ยวน เจ้าฤาษีก็บอกประวัติข่าวสารแก่พญามังรายนะมหาราชตนเสวยราชสัมปัตติในเมืองยวน แล
มังรายนะมหาราชก็มีโสมนัสชมชื่นยินดี แล้วก็หื้อโกศเงินอัน ๑ ซ้อนโกศแก้ว แล้วซ้อนถะไหลแก้วบ่ทม
ราค และเครื่องสักการบูชาทังมวล มีจตุรังคเสนาเป็นยัสสบริวาร น้าธาตุพระพุทธเจ้าขึ้นมาสู่จอมดอย กับด้วย
อรหันต กับฤาษีเจ้าทังหลาย ๕๐๐ ตน แล
ที่นั้ น สุ ร เทโวฤาษีเอาโกศธาตุพระพุทธเจ้าตั้งไว้เหนือหิ นก้อน ๑ สงสฐานดั่งหมากนาวตัดเกิ่งนั้น ก็
อธิษฐานจมลงในหินก้อนนั้น ประมาณ ๗ ศอก แล เหตุดั่งอั้น ธาตุพระพุทธเจ้าปรากฏตั้งอยู่ในหินก้อนนั้น ๖๕๐
พระองค์ แล ธาตุพระพุทธเจ้าก็เบ่งฉัพพรรณรังสี ๖ ประการ ปรายปาฏิหาริย์ทั่ว สกลเมืองยวนทังมวล ส่องแจ้ง
เสี้ยงวันคืนทังมวล ประดุจดั่ง จนฺทมณฑล ได้พันดวงนั้น แล
พระมังรายนะมหาราชอยู่อุปัฏฐากมหาธาตุเจ้ากับตาปสฤาษีเจ้าทังหลายตามราชอัชฌาสัยแล้วก็ทาน
มิลักขุ ๕๐๐ ครัว ก็หยาดน้้าทักขิโณทกหมายทานหื้ออุปัฏฐากมหาธาตุเจ้า ก็ปลงราชอาชญาคามเขตรอดทุกกล้้า
แล้ว หื้อชาวมิลักขุ ๑๒๕ ครัว (อยู่แต่ละทิศดังนี้) ปุริมทิศ กล้้าวันออกมหาธาตุเจ้า ๑๒๕ ครัว อยู่ทักขิณทิศ ๑๒๕
ครัว อยู่ปัจฉิมทิศ ๑๒๕ ครัว อยู่อุตตรทิศ ๑๒๕ ครัว แล ชาวมิลักขุทังหลาย ๕๐๐ ครัว หื้อเขาพิธิ เลี้ยงชีวิต ใน
โขงเขตมหาธาตุเจ้า หื้อเขาสัจจะศีล ๕ ศีล ๘ ทุกเมื่อ หื้อเขาอยู่อัปฏฐากมหาธาตุเจ้า หื้อบ้านเมืองวุฒิจ้าเริญ
รุ่งเรืองสวัสดี
มังรายนสบถไว้ว่า “บุคคลผู้ใดใช้สอยมิลักขุทังหลายนี้เสมอดั่งใช้ลูกสิกข์พระพุทธเจ้า นั้น แล เหตุเป็นข้า
โอกาสหยาดน้้าเผ็ดเค็ม” พระองค์เราสบถไว้ว่า “บุคคลผู้ใดล่วงอาชญากูราช หื้อนิราศคลาดคลาจากสัมปัตติ
ชายา ปิยบุตตา บุตตี ทารญาติสาโลหิตา ในภาวะอันนี้อันหน้า ดีห ลี เต๊อะ มังรายนะมหาราชสบถดั่งนี้แล้ว ก็
ปณามคารว สกฺกจฺจคารว ครบนบพระชินธาตุเจ้า แล้วมีจตุรังคเสนาเป็นบริวารก็เสด็จเมือสู่นิเวศน์แห่งตน
ตาปสฤาษี ทังหลายไปน้าเอายายังป่าหิมพานต์มาปลูกไว้กับธาตุเจ้า เพื่อสังคหะบรรณสัตว์ทังหลาย มีไม้
แคฝอย แคด้า ลมแล้งด้าแดง ห่งแดง หมากนะ หมากสมอ หมากแหน กอก หวีด บ่าเดื่อ แรด สานน้้า ไม้ไคร้ เอก
ราช จันทน์แดง แก้รากขาว สุรพิษค้า ไม้น้าเผิ้ง ปิ้ดปิวขาว ปิวแดง ปิวด้า ขิงแกง ผาแขมเหลือง หนาดค้า จวงหอม
๑๖

กุ๊กเครือ ขมิ้นเครือ เครือเขาขม แก้หมื่นมาง รางไก๊ รางแกง แตงเถื่อน หมูปอย เทียนด้า หลอดแมน จ๊ะลิว ลืมด้า
และลูกไม้ทังหลายต่างๆ ดวงดอกต่างๆ เพื่อกรุณาคนทังหลายเหตุนั้นยาทังหลายมวลมีในดอยตุงทังมวลวิเศษนัก
เซิ่งยาทิพย์ใช้ได้พันช่อง ด้วยเตชะมหาฤาษีเจ้าทังหลายอธิษฐาน แล
เมื่อนั้น มหาฤาษีทังหลาย เอาไม้ขุดดินกิ่ววันตกมหาธาตุเจ้า แล้วอธิษฐานเป็นเขต เพื่อบ่หื้อคนทังหลาย
กระท้าอนาทร แล คืออันใต้นั้น ฤาษีทังหลายเอาไม้ไล่ขุดเถิงตีนเขา ก็อธิษฐานน้้าไหลออกมาไปด้วยตีนเขา คนทัง
หลายเรียกว่า แม่ไล่ ว่าอั้น ตราบเท่าบัดนี้ แล น้้าอันนั้นไหลไปเถิงที่ใด ที่นั้นชื่อว่า เมืองไล่ แล หนทิศกล้้าเหนือ
ฤาษีทังหลาย เอาไม้รักขุดกุ่นลงเถิงตีนเขา ก็อธิษฐานน้้าไหลออกมา คนทังหลายเรียกว่า แม่รักต่อเท่าบัดนี้ แล เจ้า
ฤาษีทังหลายอยู่อุปัฏฐากมหาธาตุเจ้าตราบอายุ กันจุติ (ก็) เมือเกิดในพรหมโลกจุ๊ตน แล
เมื่อพระพุทธเจ้านิพพานไปได้ ๒๘๐ ปีมีฤาษีตน ๑ ชื่อ สุริยเทพา ลุกแต่ป่าหิมพานต์มาอุปัฏฐากมหาธาตุ
เจ้า ก็แปลงบรรณศาลาอยู่ภูเขาลูก ๑ ชื่อว่า ดอยดินแดง มีทิศกล้้าวันตกมหาธาตุเจ้า ฤาษีตนนั้นมีตโปกล้าแข็ง รู้
ชาติหลัง ๘ กัป รู้ชาติหน้า ๘ กัป มีเตชฤทธีก้าลังมากนัก ก็ไปน้าเอามายังธาตุพระพุทธเจ้าแต่เมืองราชคหะ ๑๕
องค์ เท่าม้อนหมากถั่วแดง ๕ องค์ เท่าเม็ดข้าวสารหักเกิ่ง ๕ องค์ เท่าพันธุ์ผักกาด ๕ องค์ ใส่โกศแก้วปทมราคลูก
เท่าหมากน้้า เอามาด้วยลวงอากาศเถิงเขาดินแดง ก็อธิษฐานหื้อหินก้อน ๑ บุแต่พื้นแผ่นดินออกมา พ้นดิน ๗ ศอก
มีรูปสงสฐานดั่งช้างมูบอว่ายหน้าสู่ทิศทางใต้ ฤาษีเจ้าเอาโกศแก้วตั้งเหนือหินก้อนนั้น อธิษฐานหื้ อจมลง ประมาณ
๕ ศอก ที่นั้นสรีธาตุพระพุทธเจ้าก็กระท้าปาฏิหาริย์เบ่งฉัพพรรณรังสี ๖ ประการ ทั่วสกลเมืองยวนเชียงแสน และ
ฤาษีเจ้าก่อเจดีย์เหนือหลังหินสูง ๗ ศอก เป็นที่ฐาปนาธาตุพระพุทธเจ้า เป็นที่ไหว้สักการบูชาแก่มนุษย์ (และ)
เทวดาทังหลาย ฤาษีเจ้าก็อยู่อุปัฏฐากธาตุพระพุทธเจ้า ตราบต่อเท่าอายุแห่งตน แล
เมื่อนั้น ยังมีลวงค้า ๒ ตัว มาแต่เขาคิชฌกูฏ เพื่อว่าจักไปกินหน่อเงินหน่อค้าใน สุวณฺณปพฺพ้
มาจับอยู่เหนือผาก้อน ๑ ชื่อว่า ผารุ้งเผือก มีทิศ อุตตร มหาธาตุเจ้า ไกลประมาณ ๕๐๐ วา ลวงค้า ๒ ตัวก็ไหว้
ธาตุพระพุทธเจ้า เพื่อบ่หื้อเป็นอนทรายแก่ตน แล้วก็บินไปกินหน่อเงินหน่อค้าดามอันมัก แล้วก็คาบเอาก้อนค้าเท่า
หมากตาล มาบูชามหาธาตุเจ้า ก็วางไว้เหนือผารังรุ้งเผือก แล้วก็บินเมือสู่ที่อยู่ตน แล ชาติลวงค้าจับที่ใดก็ย่อมมีค้า
ที่นั้น แล
สุริยเทพาฤาษีเจ้า ก็อยู่อุปัฏฐากมหาธาตุเจ้ามีอายุ ๑๐๐ ปี กันจุติก็เมือเกิดพรหมโลก แล แรกแต่นั้นไป
หน้า คนทังหลายเรียกว่า มหาธาตุเจ้าช้างมูบ ตราบต่อเท่าบัดนี้ แล
วรปุญฺญเขตชินธาตุเจ้า พระท้านายประดิษฐานสิ่งสัตตรูปใน ธชปพฺพต้ เป็นเฉลิมเกศเกล้าเกศีในนครบุรี
เมืองยวนเชียงแสน สวัสดีวุฒิจ้าเริญเป็นด้วยกวิรบัณฑิตมากนัก แล ผู้ใดบ่พรากผา ๓ ก้อนอันพระท้านาย เทียร
ย่อมวุฒิจ้าเริญด้วยเตชนุภาวะอันตวรชินธาตุเจ้า บัญญัติไว้
เมื่อพระพุทธเจ้านิพพานนาน ๓๐๐ ปี ยังมีเทวบุตรตน ๑ ชื่อว่า กัมมปติสโร เอาไม้นิโครธต้น ๑ แต่เมืองกุ
สินารายมาปลูกไว้ทิศอุตตระมหาธาตุช้างมูบ สูง ๗ ศอก วิเศษยิ่งนัก มีจตุสาขา ๔ อัน บุคคลผู้ใดปรารถนาใคร่ได้
๑๗

ปิยปุตตา ปุตตี ดั่งอั้น แปลงไม้ค้ากิ่งทิศบุพพะอธิษฐานปรารถนาเอาสมฤทธี แล บุคคลผู้ใดแม่นจักปรารถนาเอา


ยังโลกิยสัมปัตติในปัจจุบันก็ดี แปลงไม้ค้ากิ่งนนเหนือสมฤทธีแท้ แล บุคคลผู้ใดอธิษฐานปรารถนาด้วย ภทฺ ท โสตฺถิ
เว้นอุปัทวะอนทราย อธิษฐานแล้วปรารถนาค้้ากิ่งวันตกสมฤทธีนักแล บุคคลผู้ใดปรารถนาเอาโลกุตตรธรรมมรรค
ผลนิพพาน หื้อแปลงไม้ค้ากิ่งทิศหนใต้ จัก สมฺมา ภทฺท โสตฺถิ บรมวลดั่งมโนรส จ๊ะแล
คาถาสรุปบทว่าฉันนี้
อิมสฺมึ กาเล อิม้ โลกิงฺ โลกุงฺ ปตฺถมาโน จตุทฺทิสาสุ มหาโพธิกถมเภ กโรตุ สมฺปนฺโน จ อุปทฺทโว อปฺเปหิ
ปาปเวรโทสทุกเฺ ขหิ ปมญฺจนฺตุ ภทฺท้ โสตฺถิ ภวนฺตุ เม สทา แล้วปรารถนา (จึง) ดีเมื่อใดนิโครธรุกขะใหญ่พอมนุษย์
อยู่ร่มฉายาว่าได้พอ ๒๐ หนึ่งเมื่อใด จักมี ราชกษัตราจักเสวยราชสัมปัตติบ้านเมือง จักอุปัฏฐากมหาธาตุเจ้า จักรุ่ง
ไรใสงามเป็นที่ สักการปูชาปกรณะ ขัตติยะ ประชานราษฎร์ และสมณพราหมณ์ทังหลาย (ทัง) มวล จ๊ะแล
อุณฺหิส้ จตฺตาโร ทาฐา อกฺขกา เทฺว จาติ สตฺต อิมา อสมฺภินฺนา อห้ วนฺทามิ ธาตุโย ข้าไหว้กายธาตุพระตน
เป็นเจ้า ๗ พระองค์บ่แตกบ่อย่อยจากตนเป็นประธาน ว่า ดูกกระหม่อมหัว ดูกเขี้ยวฝาง ๔ เส้น ดูกด้ามมีดทัง ๒
ยังตั้งอยู่ตามปกติในตนพระ ดีหลี
เอโก ทาโฐ นาคปุเร เอโก ทาโฐ คนฺธารวิส เย อหุ เอโก ทาโฐ กลึ ครฏเฐ เอโก ทาโฐ ตาวตึเสเอก ชิ
นทกฺขิณกขก้ ลงฺกาทิเป วามกฺขก้ ธชปพฺพเต อุณหิส้ หริภุญฺชเย นรเทเวหิ พหูหิ ปูชิต้ ธาตุเขี้ยวเส้น ๑ ไว้เมืองนาค
ธาตุเขีย้ วเส้น ๑ ไว้เมืองคันธาระ ธาตุเขี้ยวเส้น ๑ ไว้เมืองกลิงครัฐ ธาตุเขี้ยวเส้น ๑ ไว้ตาวติงสาสวรรค์ ธาตุดูกด้าม
มีดองค์ ๑ หนขวา ไว้ลังกาทวีป ดูกด้ามมีดหนซ้าย ไว้ดอยตุง ดูกกระหม่อมไว้หริภุญชัยนคร แล ธาตุรูปขันธกายา
ทังมวล ไว้กับโลก อนาปกาสิตา ได้ ดีหลี แล
ตอนที่ ๓
ทีนี้ จักกล่าวราชวงคาขัตติยสฺ สมหาราชกษัตราสืบๆ มา ปฐมลาวจจกโอปปาติก และราชบุตรทัง ๓ ตน
คือว่า ลาวช้างก้อม ลาวผ่านแผ้ว ลาวเกล้าแก้วเมืองมา สืบๆ ไปได้ ๑๗ เช่นท้าวลาวจังกะ ล้าดับไปตราบเถิงลาว
เคียง มี ๓๑ ตนแล มาเถิงพญาลก (พญาติโลกราช พ.ศ.๑๙๘๔-๒๐๓๐ / A.D.๑๔๔๑-๑๔๘๗) มี ๓๒ ตนแล
ราชขัตติยะทังหลายอันเสวยสัมปัตติ ปิงคชยนพพปุรีราชธานี ตั้งแต่มังราย (พญามังราย พ.ศ.๑๘๐๔-๑๘๕๔ /
A.D.๑๒๖๑-๑๓๑๑) ก็เวนมิลักขุ ๕๐๐ ครัวไว้อุปัฏฐากมหาธาตุเจ้า สืบราชประเพณี ดังนี้
แรกแต่พญาคราม (พญาไชยสงคราม พ.ศ.๑๘๕๔-๑๘๖๘ / A.D.๑๓๑๑-๑๓๒๕) เสวยราชสัมปัตติ บังเกิด
ด้วยประสาทศรัทธาในวรชินธาตุเจ้า ก็จิ่งสดับจตุรังคเสนามีสัพพปูชาปการณะบัวรมวลแล้วก็เสด็จลีลามาไหว้วรชิน
ธาตุเจ้า ก็อุปัฏฐากมหาธาตุเจ้า และ (หื้อ) เขตด้าน ๓,๐๐๐ วา รอดจุ๊กล้้า ด้วยราชประเพณี แล
เรียงนั้นไปภายหน้า มาเถิงพญาแสนภู (พ.ศ.๑๘๖๘-๑๘๗๗ / A.D.๑๓๒๕-๑๓๓๔) และพญาค้าฟู (พ.ศ.
๑๘๗๗-๑๘๗๙ / A.D.๑๓๓๔-๑๓๓๖) พญาผายู (พ.ศ.๑๘๗๙-๑๘๙๘ / A.D.๑๓๓๖-๑๓๕๕) พญาเจ็ดพันตู พญา
๑๘

มหาพรหม พญาโลกกษัตรา (พญาติโลกราช พ.ศ.๑๙๘๔-๒๐๓๐ / A.D.๑๔๔๑-๑๔๘๗) พญาแสนเมืองมา (พ.ศ.


๑๙๒๘-๑๙๔๔ / A.D.๑๓๘๕-๑๔๐๑) กษัตรามหาราชสืบประเพณีดั่งนี้ แล
กษัตรามหาราชชื่อกือนา (พญากือนา พ.ศ.๑๘๙๘-๑๙๒๘ / A.D.๑๓๕๕-๑๓๘๕) เสวยราชสัมปัตติในนพ
บุรีแล้ว มีสกุลเสนาเป็นบริวาร มีเครื่องบูชาขึ้นไหว้วรชินธาตุเจ้า ก็อุปัฏฐากตามราชาเลย แล้วปลงราชานุญาต
อาชญาทาน คามเขต ไร่นา ๓,๐๐๐ วา รอดจุ๊กล้้า แล้วก็เวนมิลักขุ ๕๐๐ ครัวเป็นทานหยาดน้้าไว้ว่าฉันนี้ “ท้าว
พญา เสนาอามาตย์ และราชมนตรี ขุนบ้าน ขุนเมือง ขุนรังไร่ รังนา ผู้ใดยังยินดี สักเสินยกยอยังราชทานแห่ง
พระองค์กูดั่งอั้น แม่นปรารถนาหน่องน้าวเอาอรหันตมรรคญาณ หื้อสัมฤทธิ์บัวรมวลแก่บุคคลผู้นั้นแท้ ดีหลี บุคคล
ผู้ใดนิคคหิงสาบีบเบียนติเตียนยังราชทานแห่งกูราช จุ่งพลันนิราศคลาคลาดจากราชสัมปัตติปิยชายา ปุตตา ปุตตรี
ทารญาติกา สาโลหิตา ไร่นา คามรัฐเขตแห่งตนมันแท้ ดีหลี เมื่อจุติไปหื้อได้เสวยยังทุกขเวทนาในอบายภูมิทัง ๔ มี
นิรยนรก เป็นต้น”
ท้าวกือนา ท้าวแม่ใน (พญาสามฝั่งแกน พ.ศ.๑๙๔๕-๑๙๘๘ / A.D.๑๔๐๒-๑๔๔๑) พญาแสนเมืองมา
พญาลก ท้านายทาน มิลักขุทังหลาย ๕๐๐ ครัว ไว้กับมหาธาตุเจ้า ก็แช่งสบถไว้ดั่งนี้ แล้วก็เสด็จเมือสู่ที่อยู่แห่งตน
ก็ป้าเป็งทาน ศีล บ่ขาด ตั้งอยู่ตราบอายุแห่งตน
เรียงนั้นไปภายหน้า พญาลกราช ได้เสวยราชสัมปัตตินครปิงชัยเชียงใหม่ ก็บรมวลยังประเพณี จิ่งจักแต่ง
เครื่องบูชาพร้อมแล้วทังมวลกับคัมภีร์ มาไหว้สาสักการบูชามหาธาตุเจ้า คัมภีร์นั้นไว้หื้อเป็นที่ตั้งต้านาน และตรา
หลาบเงินก็เวนมิลักขุ ๕๐๐ ครัว ไร่ นา คามเขต ด้าน ๓,๐๐๐ วา รอดจุ๊กกล้้า แล
เรีย งนั้น พญายอดเมือง (พญายอดเชียงราย พ.ศ.๒๐๓๐-๒๐๓๘ / A.D.๑๔๘๗-๑๔๙๕) ได้เสวยราช
สัมปัตติเมืองปิงเชียงใหม่ กระท้าบุญป้้าเป็ง ทาน ศีล เป็นนิจกาลไจ้ๆ ยังมีปี ๑ เชียงใหม่ก็แล้งนัก ฝนบ่ตกมนุษย์
ทังหลายเป็นทุกขเวทนาเดือดเนื้อร้อนใจมากนัก ที่นั้น นางราชมารดาจิ่งถามพันพวกดาบเชียงแสนอันอยู่ป่้าเริน
ใกล้ราชส้านักตนว่า “ดูกราพันพวกดาบ เมืองเชียงแสนยังแล้งยิ่งเป็นฉันนี้ อั้นจ๊ะฤา” พันพวกดาบยกอัญชุลีถวาย
กราบไหว้ว่า “ข้าแด่ราชมารดาตนเป็นเจ้าเหนือหัว เมืองเชียงแสนเทียรย่อมวุฒิจ้าเริญข้าว กล้า ฟ้าฝนตก บ่เหือด
บ่อแห้งแล้งสักปี ดีหลี แล” แม่ท้าวเทวีถาม “เหตุดั่งฤาเมืองเชียงแสนบ่แล้งอั้นจา” พันพวกดาบไหว้ว่า “ข้าแด่
ราชมารดาเป็นเจ้า ยังมีมหาธาตุเจ้าที่ ๑ ชื่อว่าดอยตุง วิเศษมากนัก ปีใดฝนบ่ตกบ้านเมืองหากแล้งนัก ปุถุชนทัง
หลาย เทียรย่อมไปสระสรงชินธาตุเจ้าที่นั้น แล้วมหาเมฆะก็ไหลหลั่งลงชุ่มเย็นเป็นสุขมากนัก แล” กษัตราราช
มารดาได้ตรองตรัสโสมนัสประวัติข่าวสารอันพันพวกดาบหากไหว้จุ๊อัน ราชมารดาใช้เมือสัญญาแก่พระยอดเมือง
ตนลูก โดยดั่งพันพวกดาบน้าข่าวสารมาบอกแก่ตนจุ๊อัน
ที่นั้น พญายอดเมืองก็เอาพันพวกดาบมาถาม พันพวกดาบก็ไหว้โดยดั่งค้าเดียวนั้น แล ที่นั้น พญายอด
เมืองก็ปลงราชอาชญาพระองค์ตน หื้อคนทัง หลายฝูงอยู่ใช้ หื้อได้ไปน้าเอาน้้า ๗ ลิน มาอบด้วยมธุรสคันธะต่างๆ
จีดในไหจิง และเครื่องสัพพบูชาปการณะทังมวล แล้วแม่ราชมารดาก็หื้ออบน้้าในไหจิงลูก ๑ มีเครื่องบูชาพร้อมจุ๊
๑๙

อัน แล้วพญายอดเมืองและราชมารดา ก็กระท้าสัจจอธิษฐานขอหื้อฝนตกทั่วเมืองเชียงใหม่ทังมวล ในเดือนวิสาข


ปุณมีเป็ง ว่าอั้น แล
ที่นั้น พันพวกดาบรับราชอาชญาพิทูลสารจุ๊อัน ทูนสารขี่ม้าเอาคราวทางผัด ๑๐ วัน หื้อรอดดอยตุงใน
เดือน ๖ เป็ง ได้สรงมหาธาตุเจ้าว่าดั่งนี้ แล พันพวกดาบก็เอาน้้าอบ และเครื่องปูชาปการณะทังมวล ล้าดับคราว
ทางมารอดมหาธาตุเจ้า แล้วก็อธิษฐาน บูชาสรงด้วยสุคันธอุทกราชเจตนาทาน ด้วยเตานุภาวะชินธาตุเจ้า ฝนก็ตก
ทั่วเมืองเชียงใหม่ทังมวลในวันเดือน ๖ เป็ง แล ที่นั่น พญายอดเมืองและราชมารดาก็บังเกิดโสมนัสอภิรมย์ชมชื่น
ยินดีมากนักแท้ แล ที่นั้น พันพวกดาบและผู้ใช้ กันว่าแล้วราชกิจการ ท่านทังมวลแล้ว ก็เมือรอดเชียงใหม่ กันรอด
แล้วเข้าไหว้สากราบบังคมยังประวัติข่าวสารทังมวล แล
ที่นั้น พญายอดเมืองกับแม่ท้าวเทวีและเสนาอามาตย์ทังหลายก็มี โสมนสสปสารทอาจารสทธา ใน อนนฺ ต
คุณวรชินธาตุเจ้า มากนัก ก็เจียรจากับด้วยเสนาอามาตย์ทังหลายว่า “ควรพระองค์เราปลงราชอาชญาไว้ยัง รชต
สวณิย ตราหลาบเงิน เพื่อหื้อเป็นที่รักษามิลักขุ อันอยู่อุปัฏฐากมหาธาตุเจ้าที่นั้น ยังควรอั้นจ๊ะฤา”
ที่นั้น เสนาอามาตย์ทังหลายไหว้ว่า “ เทว ข้า แด่มหาราชเจ้า ฐานะที่นั้นเป็น ปจฺ จนฺตเทสฺเขตฺตทุรฐาน ก็
ควรสมเด็จบรมบพิตรพระตนเป็นเจ้าอยู่เหนือหัว หากควรปลงพระราชอาชญาแท้ แล” เสนาอามาตย์คณาทัง
หลายเป็นเอกสามัคคฉันทะแล้ว ก็แต่งแปลง รชตปตฺตสวนิยสาร ใส่ อกฺขร ไว้หื้อเป็นที่เพิ่งแต่มิลักขุทังหลาย กับไร่
นา คามเขต ด้าน ๓,๐๐๐ วา รอดจุ๊กล้้า ตามจารีตอดีตแห่งมหากษัตราธิราชทังหลายแล
เรียงนั้น อรรคราชมารดาบังเกิดราชศรัทธา ทานฆ้องลูก ๑ กับเครื่องสักการบูชา กหาปณะพัน ๑ หื้อเป็น
ปัจจัยสร้างแปลงวรชินธาตุเจ้า และไร่นา คามเขตทังมวล แล้วก็สบถไว้ว่า “บุคคลผู้ใดก็ดี มีต้นว่าท้าวพญา เสนา
อามาตย์ และราชมนตรี ขุนบ้ าน ขุนเมือง ทังหลาย ก็ดี ยังโถมนาสั กเส้นทานแห่งพระองค์เราดั่งอั้น แม่นจัก
ปรารถนาเอาโพธิญาณ ๓ ประการ คือ โลกิย โลกุตตร อฏฐมคคญาณ นิพพาน หื้อสัมฤทธิ์บัววรมวล เต๊อะ บุคคล
ผู้ใดหากม้าง อนุตภิสมภิณหาย ด้วยบทว่า สมุภิณหา ทาโส หื้อแตกม้างริษยา บีบเบียน ค่้าราชทานกู หื้ออยู่มื้อ
ตือครัว และการยุทธกรรม และ หตฺ ถิโคปก อสฺสโคปกา หีนกมฺม นิราสวินาสมุตโร ภริยา ปุตฺตา ปุตฺตี ภณฺฑทาร
ปจฺจุปนฺนภาว อนาคตภาว พระพุทธเจ้าเกิดมามากกว่าแสนโกฏิ อย่าหื้อได้หัน เต๊อะ” มหาธรรมิกมาตา บุตตา
พระองค์แม่ลูกก็ตั้งสัจจะสบถไว้ดั่งนี้
เรียงนั้นพระเมืองแก้วเจ้า (พญาแก้ว พ.ศ.๒๐๓๘-๒๐๖๘ / A.D.๑๔๙๕-๑๕๒๕) ได้เสวยราชย์นพบุรีศรี
เมืองปิงเชียงใหม่ จิ่งเสด็จมาป้้าเป็งทาน ศีล ในนครเมืองเชียงแสน ในปีกาบเส็ด (พ.ศ.๒๐๕๗/ A.D.๑๕๑๕) รกจอ
มาสผลคุณ เดือน ๕ ออก ๓ ค่้า เม็ง (ว่า) วัน ๕ (พฤหัสบดี) ไทย (ว่าวัน) ล้วงเป้า แล พวกน้อยปากเชียงได้น้านาย
วัดดอยตุง และบรรณาการ ขาก็เข้าไหว้สากราบพิทูลพระเมืองแก้วเจ้า ถวาย ปณณปวตติ ข่าวสารจุ๊อัน พระเมือง
แก้วเจ้า ก็มี หทยโสมนสฺส มีราชศรัทธาประสาทะมากนัก ก็หื้อโกศค้าลูก ๑ มีน้าหนัก ๑๐๐๐ หนึ่ง กับค้า ๑๐๐๐
หนึ่ง และเครื่องบูชาทังมวล หื้อเป็นอุปการะแก่วรชินธาตุเจ้า แล้วก็อธิษฐานตาม ราชหทยอชฌาสยอาณา จุ๊อัน
๒๐

แล้วก็เวนมิลักขุ ๕๐๐ ครัวกับไร่นา คามเขตด้าน ๓,๐๐๐ วา หยาดน้้าไว้โดยดั่งมหากษัตราเจ้าสืบมาจุ๊ตน แล ส่วน


ว่าพวกปากเชียงก็รับราชทานมาสักการบูชาชินธาตุเจ้า แล้วก็ลงเมือถวายกุศลทานข่าวสารจุ๊อัน แล
เรียงนั้นไปภายหน้า เถิงปีกัดเหม้า (พ.ศ.๒๑๒๒ / A.D.๑๕๗๙) ลูกเจ้าฟ้ามังทรา ลุกแต่เมืองหงสาวดีมา
เสวยเมืองเชียงใหม่แล้ว ที่นั้น หมื่นวัดดอยตุงและสังฆโมลีเจ้า ก็เอาต้านานมหาธาตุเจ้าและคัมภีร์อันพญาติโลก
มหาราชหื้ อ ทาน กับ บรรณาการทั ง หลาย เมื อ ถวายยั งประวัติ ข่ า วสารทัง มวลแก่ ลู กเจ้ า ฟ้า มั ง ทรา ก็บั ง เกิ ด
โสมนสสอาจารสทธา ก็ไว้ยังตราหลาบเงินเพื่อหื้อเป็นที่เพิ่งแก่ชาวมิลักขุทังหลาย หื้ออยู่อุปัฏฐากมหาธาตุเจ้า ในปี
กัดเหม้า แล
จุลศักราช ๙๔๑ ตัว (พ.ศ.๒๑๒๒ / A.D.๑๕๗๙) เดือน ๓ แรม ๑๐ ค่้า เม็ง (ว่า) วันเสาร์ ไทย (ว่าวัน)
รวายสี ก็มีพระราชอาชญา กรุณาว่า “บุคคลผู้ใดก็ดี คือ ขุนฟ้อน ขุนแคว้น ข้าท้าวบ่าวพญา ใช้รีตโบราณเป็นเหตุ
หื้อข้าแก้วทัง ๓ หื้อวินาศฉิบหายเสีย คือว่าใส่หญ้าช้าง หญ้าม้า อยู่มื้อ ตือการ เหตุเขาเป็นมิลักขุส่วยตาเบี้ยมีเข้า
เล้ม พญามังรายนะพระองค์กู ได้สบถไว้ (ว่า) “บุคคลผู้ใดยินดีด้วยทานกูหื้อวุฒิจ้าเริญ เหตุเขาเป็นข้าโอกาสแต่
โบราณมา หื้อเขาได้อยู่อุปัฏฐากปฏิบัติพระชินธาตุเจ้า บ่อหื้อหม่อนหมองเหตุเป็นที่ไหว้สักการบูชาแก่คนและ
เทวดาทังหลายตราบต่อเท่า ๕,๐๐๐ วรรษา” สมเด็จบรมบพิตรพระตนเป็นเจ้าอยู่เหนือหัวก็แช่งสบถไว้ ได้สืบๆ
ประเพณีมาตามรีตอดีตจิรกาลมหากษัตราธิราชเจ้าทังหลายแด่ก่อนจุ๊ประการแท้ ดีหลี แล เหตุดั่งอั้ นท้าวพญา
เสนาอามาตย์ ขุนบ้าน ขุนเมือง ขุนฟ้อน ขุนแคว้น ทังหลาย ยังล่วงล้้าอาชญาเจ้าเหนือหัวหากได้สบถตั้งไว้เป็น ก็
จักเป็นด้วยดั่งอั้นแท้ ดีหลี แล”
ต้านาน (อัน) มหาฤาษีเจ้าตนชื่อว่า กัมมโลมหาปัญญาณวรโพธิเจ้า เอา (มา) แด่เมืองกุสินารายมาไว้กับ
มหาธาตุเจ้าอันชื่อว่า เขา ธชปพฺพต ดอยตุง เพื่อหื้อโสตุชนบริษัท หื้อได้ตรัสรู้แต่สันตติมา ฐาปนาตั้งไว้ยังธาตุ
พระพุทธเจ้าตนเป็นเจ้า ๖๕๐ พระองค์ ก็สมเร็จเสด็จบัวรมวลเท่านี้ ห้อง ๑ ก่อน แล

๕.ตำนำนถ้ำปุ่ม ถ้ำปลำ ถ้ำเปลวปล่องฟ้ำ


ในที่นี้ จักกล่าวยังถ้้าคูหา ๓ อัน เป็นต้นว่า ถ้้าปุ่ม เป็นประธาน และถ้้าปลา และถ้้าเปลวปล่องฟ้า เป็นที่
ปรารถนาแก่ เทว มนุษย์ สมณพราหมณ์ ทังหลาย หื้อได้เถิงนิพพานเที่ยงแท้ ดีหลี แล
อิมสฺมึ ภทฺทกปฺเป ปญฺจพุทฺธา อุปชฺชนฺติ กกุสนฺโธ โกนาคมโน กสฺสโป โคตโม เมตฺเตยฺโย อนาคเต ภวิสฺ
สนฺติ ปญฺจพุทฺธา จ จริตฺวา มิถิลาย ปิณฺฑาย อากาเส อิทฺธิวิธิยา อาคนฺตฺวา อิมิสฺส้ คูหาย ปวิสิตฺวา ภุญฺชนฺติ ตมฺปน
เตส ปเวณิสฺมิ
ตอนที่ ๑
กึ อิมสฺมึ คูหา นาม ฆฏ้ เหตุดั่งฤาได้ชื่อว่า ถ้้าปุ่ม อั้นจา นิทานต้านานอันมีในมหาธาตุเจ้าช่อแฮในเมือง
แพร่ มีดังนี้
๒๑

ในมหานครเมืองยวนเชียงแสน ยังมีคู หาที่ ๑ ตั้งอยู่ทิศหนวันตกจ๊วยเหนือเวียงอชตตราช ก็ควรอัจฉริยะ


มากนัก และคูหาที่นั้นก็เป็นวิสัยพระพระพุทธเจ้าทังหลายอันเกิดมาในภัทรกัปนี้ เทียรย่อมไปฉันข้าวที่นั้นจุ๊ตน แล
เมื่อพระกกุสันธะ เกิดมาปรากฏในโลกนี้วันนั้น ยังมีในกาลคาบนึ่ง พระพุทธเจ้าก็สยองแต่ป่า อิสิปตนมิค
คทา พู้น มาเอาข้าวบิณฑบาตเมืองมิถิลานครมาฉันที่นั้น กันพระฉันแล้ว น้้าอันจักฉันตามข้าวบ่มี มีเทวา ๔ ตน ก็
ถือยัง ฆฏก้ ยังไหน้้ามาในทิศทัง ๔ หื้อเป็นทานเป็นน้้าฉันพระพุทธเจ้าแล้ว ปตตปโก พระก็ล้างบาตร อธิษฐานหื้อ
มหาอานั น ทเถรเจ้ า ถอกไว้ ในท้อ งเขาแห่ ง ดอยทิ ศ หนใต้ ก็บั งเกิ ดเป็น สระน้้า ที่นั้ น แล้ ว ก็ ไ หลไปตามราวดอย
พระพุทธเจ้าก็อธิษฐานปลาปล่อยไว้ หื้อได้เป็นสักขี แล
ส่วนเทวดา ๔ ตนหันเป็นอัศจรรย์ ก็มีใจชมชื่นยินดีมากนัก ด้วยอันหื้อ ฆฏก้ เป็นทานแก่พระพุทธเจ้า
เท่านั้น ก็ได้เสวยทิพยสุขทรงวิมานค้าสูงได้โยชน์ ๑ ตั้งอยู่เหนือจอมเขาที่นั้น ก็อยู่เสวยสัมปัตติทิพย์อยู่ตราบต่อ
เท่าบัดนี้ แล
พระพุทธเจ้าก็ช้าระพรหมวิหารทัง ๔ บัวรมวลแล้ว ก็สยองเมือสู่ป่า อิสิปตนมิคคทา พู้น อันเป็นที่อยู่แห่ง
ตนแล้ว พระก็จิ่งเจียรจากับด้วยภิกขุทังหลายหว่า “ภิกขเว ดูกราภิกขุทังหลาย เอก้ คูห้ ยังมีถ้า คูหาที่ ๑ เป็นที่
มโนรมณิยรวิเวก ควรแก่อาจาริยะ ทังหลายอันจักปฏิบัติเวทภายหน้า หมื่นจ๊ะแล ถ้้าคูหาฐานะที่นั้นมีในอรัญญ
ปัจจันตคามเขตที่นั้น ตถาคตฉันข้าวและหมากน้้าแห่งเทวดาแล้ว จิ่งมา ดีหลี แล”
ภิกขุทังหลายก็ขอ ธมฺมมคฺคปเวณิยธมฺม ตามพุทธอดีตเซิ่งพระพุทธเจ้าหั้น แล พระพุทธเจ้ากล่าวว่า
“ดูกราภิกขุทังหลาย ฐานะที่นั้นบ่เท่าแต่เราตถาคตตนเดียวบ่มี แล แม่นว่าพระเจ้าทังหลาย ๓ ตนล่วงแล้ว ก็เทียร
ย่อมไปฉันข้าวที่นั้นจุ๊ตน แล อันนี้หากเป็นมรรคปัจจัยแต่พระกกุสันธเจ้ามา แล”
คูหาที่นั้นยังมี วเนจรก คือว่าพรานป่าผู้ ๑ ไปจรเดินแอ่วป่ารอดที่นั้น ก็หัน ทุรฆฏา ตั้งไว้เรียงกันอยู่ทัง ๔
ลูก พรานป่าคะนิงใจว่ารอยโจรถงเหล้าลักเอาปุมเหล้า มาสู่กันกินที่นี้ จ๊ะแล พรานป่าก็เอาเมือไว้ เพื่อเหื้อเป็น
ปุมเหล้าหั้น แล เมื่อภายลูนไทย ๔ ลูกนั้นก็กลับคืนไปอยู่ที่เก่าเล่า ก็ด้วยอานุภาวะแห่งพระพุทธเจ้า และเทวดา ๔
ตน หากรักษาไว้ แล เหตุนั้นคูหาแห่งดอยที่นั้น คนทังหลายเรียกว่า คูหาถ้้าปุ่ม ว่าอั้นต่อเท่าบัดนี้ แล
สัพพัญญพระพุทธเจ้า ๔ พระองค์ล่วงแล้ว เทียรย่อมประกอบด้วย มหากรุณา เมตตา อตฺ ตฌาณสยปฺกา
สิตวณฺณนา ยังถ้้าคูหาที่นั้น หากมีแต่ตั้งภัทรกัป ตราบเถิงพระเจ้ากกุสันธะนั้นเกิดมา เรียงนั้น พระเจ้าโกนาคมนะ
เกิดมา เรียงนั้น พระเจ้ากัสสปะเกิดมา เรียงนั้น พระเจ้าตนชื่อว่าโคตรมะเกิดมา เรียงนั้น พระเจ้าตนชื่อ อริย
เมตไตรยเจ้า ก็ยังจักมาฉันข้าวที่นั้น ตามธรรมดาแห่งพระเจ้าทังหลาย จ๊ะแล
ภิกขเว ดูกราภิกขุทังหลาย ถ้้าคูหาที่นั้นเป็นทุรคาม อรัญญิกวิเวกภูมิ ก็ควรสมณชินบุตรทังหลาย จักจร
เดินแสวงหาอยู่ปฏิบัติวิริยอุตสาหะ กระท้าเพียรเมตตาภาวนา หื้อเสี้ยงทุกข์สดทุกข์ ดีหลี เหตุฐานะที่นั้นเป็นเป็น
ที่ตั้งศาสนามาแต่ปรัมปราสืบพระพุทธเจ้าทังหลายจุ๊ตน แล ป๊อยจักเป็นที่เขตอาณาบุญกรรมกุศลปรัมปรา นรรา
ชรฏฺฐ ปเทสชนปท นานา สกฺการ ปูชะนียาภิวนฺทานิย ควรเป็นที่ นิรนุตฺรคเวสิตพฺพฏฺฐาน แก่ ชนสฺส พราหฺมณคห
๒๒

ปติ ทังหลายด้วย ยาวปญฺจสหสฺสฐิตา ก็จักตั้งอยู่ตราบต่อเท่า ๕๐๐๐ วรรษา แล้วสืบไปเถิงพระอริยเมตไตรยเจ้า


หมื่นจ๊ะแล
ปพฺพฆฏก้ คูหาที่นั้นหากเป็นที่ฉันข้าวฉันน้้าด้วยปัจจัยทัง ๔ แห่งพระพุทธเจ้าทังหลายจุ๊ตน ก็หากเป็นที่
อยู่วิเวกธรรมแห่งลูกสิกข์พระเจ้าทังหลายจุ๊ตน หากเป็นที่ประกอบด้วย อปปิจฉาทิคุณ มี ธุตงควตต เป็นเค้าแห่ง
วิปัสสนาญาณ เพื่อหื้อสูตรเรียนหื้อเมี้ยนทุกข์อวิชชา แท้ ดีหลี แล คูหาถ้้าอุโมงค์ ที่นั้นเป็นอันวิเศษอุดมแก่อริยเจ้า
ทังหลาย แล
ยังมีมหากษัตริย์เจ้าตนชื่อว่าอชุตตราช (พ.ศ.๑๐๐ / A.D.๔๔๓) ก็เอามักฏะ ๒ ตัวอธิษฐานปล่อยไว้เพื่อ
หื้อรักษาถ้้าคูหาอุโมงค์ที่นั้น ก็จักแพร่พอ ๕๐๐ ตัว ตามต้านานว่า ปญฺจสหสฺสา สาสเน ฐิโต จิรฐิตา ดั่งนี้
ตอนที่ ๒
ต้านาน ฆฏก้ อุโมงค์คูหาชื่อว่า ถ้้าปุ่ม ก็มีในหินต้านานพระธาตุเจ้าช่อแฮ เมืองแพร่พู้น แล กวิรปณฺฑิต
ปฏิจร ขนฺติ ก็ลิขิตเอามาไว้ให้ปรากฏรุ่งเรือง เพื่อหื้อบังเกิดประสาทะแก่ เทว มนุษย์ รัฐประชาชานราษฎร์ บริษัท
ทังหลาย หื้อเป็นที่ไหว้บูชาปรารถนาหื้อได้เถิงธรรมวิเศษตัดกิเลสสงสาร ดีหลี แล ศาสนาแห่งพระพุทธเจ้าทัง
หลาย ๔ พระองค์ ฐาปนาตั้งไว้หื้อเป็นเฉลิมแก่เมืองยวนเชียงแสน แล
แด่แดนพระพุทธเจ้านิพพาน นานประมาณ ๑๐๐ ปี แล มหากษัตราตนชื่อว่าอชุตตราช เสวยเมืองเชียง
แสน ล้ าดับสื บปรัมปรามาตราบเถิง พญาแสนภู (พ.ศ.๑๘๖๘-๑๘๗๗ / A.D.๑๓๒๕-๑๓๓๔) พญาผายู (พ.ศ.
๑๘๗๙-๑๘๙๘ / A.D.๑๓๓๖-๑๓๕๕) เที่ยงไปกระท้ากุศล บุญกรรมในมหาธาตุเจ้า ธชปพพต ดอยตุง และช้างมูบ
ถ้้าปุ่ม ถ้้าปลา ถ้้าเปลวปล่องฟ้า ตั้งแต่ฤดูเดือนอันตกปีใหม่ อาทิตย์ขึ้นสู่เมษาราศี เพื่อหื้ อประกอบด้ว ยอายุ
วรรณะ สุขะ พละ ทีฆา หื้อซะลาบอาบไปทั่วทิศทังมวล ปีติปราโมทย์ด้วยสัมปัตติสุขจุ๊อัน แล
จ้าเนียรแต่นั้นไปภายหน้า ท้าวตนเสวยเมืองเชียงแสน ก็มีพระราชร่้าเปิงต่อพุทธศาสนา วรคูหาถ้้าปุ่มที่
นั้น เพื่อบ่หื้ อเป็ นสาธารณะแก่ศาสนาวิเศษ เจ้าตนกินเมือง (เชียงแสน) ก็น้านาบุญภิสุ นทะ เมือรอดเจ้าปฐวี
แผ่นดินเชียงใหม่ (พญากือนา พ.ศ.๑๘๙๘-๑๙๒๘ / A.D.๑๓๕๕-๑๓๘๕) ก็ใช้หมื่นในและพันต้อง เอาบุญสารกถา
น้าเมือพิทูลถวายกราบไหว้เจ้าเหนือหัวแผ่นดิน (เชียงใหม่) เมื่อนั้น พระตนเป็นเจ้าตรองตรัสยังประวัติข่าวสาร
ลวดยินดีปราโมทย์บังเกิดด้วยโอกัมปานศรัทธามากนัก แล้วก็ปลงไร่นาคามเขตและคนหื้ออยู่อุปัฏฐากไว้เป็นข้า
โอกาสทานแม่เมื่อมหาศักราช ได้ ๗๓๙ ตัว (พ.ศ.๑๙๒๐ / A.D.๑๓๗๗) ในปีมะเส็งกัมโพชพิสัย ไทยภาษาว่าปี
เมืองไส้ เข้ามาใน เชฏฺฐคิมฺหมาส สุกลฺปกฺขปาฏิปทจนฺทจรณยุติวารภิไถง ไทยภาษาเราว่าเดือน ๙ ออกค่้า ๑ เม็ง
(ว่า) วันจันทร์ ไทย (ว่าวัน) ดับไส้ จันทรจรณยุติเข้าเทียมฤกษ์ถ้วน ๒๗ ในมีนราศี ได้ชื่อว่า สมณฤกษ์ แล
เจ้าเหนือหัวก็ปลงราชอาชญาแก่หมื่นพุทธา และ ติกขปญญา แปลงหลาบค้า และปญญาสกการปูชา แล้ว
ก็ทูนตั้ง อุตตมงค หื้อเถ้า (เมือง) ศรีมังคละแต่งแปลงเอาไว้ในอุโมงค์คูหา ฆฏก พระพุทธเจ้าถ้้าปุ่มไว้กับ แสน (เถ้า
ศรีมังคละแต่ง) แปลงแล้วก็เวนเคนไว้ยังเขตแดน ด้าน ๕๐๐ วา เพื่อหื้ออภัยแก่สัตว์ทังหลาย อันเข้ามาอยู่ในอันต
๒๓

พุ ท ธเขตอรั ญ ญป่ า ดอยทั ง มวลในที่ นั้ น แล มั ก ว่ า อย่ า หื้ อ คนอนาครยั ง ต้ น ไม้ ลู ก ไม้ และสั ต ว์ ทั ง หลายอั น มี
(นอกจากนั้นก็) ปลงไว้ยังราชมนุสสทานไว้อุปัฏฐากพระพุทธเจ้าและเจติยเจ้า มีคน ๑๐ ครัว แล ครัวอ้ายหมื่น ๑
ครัวสามตวง ๑ ครัวกัญญา ๑ ครัวทิดน้อยขัน ๑ ครัวอ้ายน้อย ๑ ครัวอ้ายช้อย ๑ ครัวงัวเงิน ๑ ครัวทิดน้อยบุญ ๑
ครัวคันธะ ๑ ครัวโชติรส ๑ เขาทังหลาย ๑๐ เรือนนี้ก็ปลงเป็นทานหยาดน้้าตกเหนือหน้าแผ่นดิน
(แล้ว) ก็แช่งไว้ว่าฉันนี้ “อาชญาท้าวพญา เสนาอามาตย์ ขุนบ้าน ขุนเมือง ขุนที่ ขุนแค้วน ผู้ใดรีดม้างค้ากู
หื้อมันผู้นั้นนิราศคลาดจากลูกเมียเผ่าพันธุ์วงศา หื้อลงไปไหม้นรกอันมีชื่อว่าอวีจี แล้วหื้อเป็นเปรต ทุกขเวทน า
เต๊อะ พระพุทธเจ้าเกิดมากู้เม็ดหินเม็ดทราย อย่าหื้อมันหันสักตน เต๊อะ แม่นบุคคลผู้ใดยังกับตามอาชญาพระองค์กู
จุ่งหื้อวุฒิจ้าเริญศรีสวัสดี แท้ ดีหลี”
พระราชเจ้าแผ่นปฐวี ภวภวา ก็ปลงราชอาชญาแล้ว ก็หยาดน้้าหื้อเป็นทานด้วยประการดั่งนี้ แล เสนาอา
มาตย์พร่้าพร้อมจุ๊ตนอันอยู่ในเมืองปิงเชียงใหม่ ก็ร่วมรู้ยังสากสีและสักขีทานจุ๊คน แล
กัน (เถ้าเมืองศรีมังคละไป) รอดเชียงแสน ผู้เสวยเมืองเชียงแสนแล้ว มีเสนาอามาตย์ทังหลายเป็นทักขิณ
สักขิทาน มีแสนเถ้าเมืองมังคละ หมื่นนาหลัง อาจารย์สัมมสธรรมศรีเมือง ปากนายหนังสือสาครหมื่นฟ้อนเชี ยง
แสน เป็นสักขิทานรู้ แล ภายในเวียงมีมหาสังฆราชเจ้าวัดพระหลวง ภายนอกเวียงมีสังฆราชเจ้าวัดพระครู สังฆราช
เจ้าวัดป่าแดงหลวง ล้้านั้นสังฆเจ้าทังหลายก็เป็นอธิปติจุ๊ตนแท้ ดีหลี
เหตุดั่งอั้นพระสังฆเจ้าทังหลาย อันเป็นโบราณธรรมจารีต ก็มีค้าปุจฉาโจทนาเซิ่งกันไปมาว่าดั่งนี้
“ติรตฺนา จ คุรุกา ติโลกา คุรุก้ ขตฺติโย คุรุกา เอก้ อินฺทสีลาจตฺต้ คุรุก้ ปิตุมาตา คุรุอุปชฺฌาน้ คุรุกาวจน้
คุรุก้ ดั่งนี้
อมฺโภ ปุริโส ปณฺฑิโต ค้าอันสั่งสอนก็ดี ค้าแช่งแล้วได้สบถก็ดี แห่งพ่อแม่ ครูบาอาจารย์ก็ดี ค้ามหากษัตรา
ก็ดี ก็เป็นอันหนักกว่าหนักฉัตรหินของพญาอินทา แล ค้าแห่งพระพุทธเจ้า และธรรมะ สังฆะค้าแก้วทัง ๓ ประการ
คุรุก้ ยังหนักกว่าฉัตรหินแห่งพญาอินทาเล่า คุรุก ยังหนักกว่าครูบาจารย์เล่าติโลกโต คุรุก้ ค้าไตรรัตนะ ก็แควนเป็น
หนักกว่าโลกทัง ๓ เล่าด่าย”
สังฆเจ้าก็ปุจฉา แล้วกล่าวอรรถบาลีบทว่า “ภูเตน วุตย้ อเภเทยฺย้ มฺตต้ ตโต มตา โบราณสั่งสอนทิสา
จารย์กล่าวกว่าฉันนี้ ง้วนพิษอันมีในโลกนี้ บุคคลผู้ใดกินก็เท่าตายผู้เดียวพอตนแท้ แล ดั่งข้าแก้วทัง ๓ นี้ เป็นข้า
โอกาสหยาดน้้าตกแผ่นดินไหวแล้ว ผู้ใดป๊อยรีดม้างเอาข้าเป็นคนก็ดี ใส่เวียกใส่การก็ดี และใช้สอยกระท้าบาปไหม
หื้อฉิบหายเสียด้วยค้าเคียดก็ดี บุคคลผู้นั้นยังยิ่งกว่าผู้กินง้วนพิษด่าย เหตุกินง้วนพิษเท่าตายมันผู้เดียว ไผบ่ตายจิ่ม
แล กระท้าร้ายแก่ข้าแก้วทัง ๓ นั้น ผู้กระท้าก็ผิดแต่ปัจจุบันและวินาศฉิบหายทังลูกทังเมีย และพืชตระกูลสืบ
ลูกหลานเหลนหลีดหลี้ ตราบ ๑๗ เช่นตระกูล กันจุติก็ไปไหม้อบายทัง ๔ เหตุดั่งอั้นผู้กระท้ารายแก่แก้วทัง ๓ ก็
เป็นอันหนักกว่ากินพิษง้วนเพื่ออั้น แล เหตุนั้นเป็นอันบ่ควรจักกระท้ากรรมกระท้า ภุญษิสาวกอนุตสา สนกมม แท้
แล”
๒๔

จ้าเนียรแต่นั้นไปภายหน้า ล้าดับมหากษัตริย์ทังหลายอันเป็นราชวงศามาตราบเถิง พระแก้วเจ้า (พญา


แก้ว พ.ศ.๒๐๓๘-๒๐๖๘ / A.D.๑๔๙๕-๑๕๒๕) เสวยราชสัมปัตติเมืองเชียงใหม่ ยังมีอรัญญวาสีภิกขุเจ้าตน ๑ เป็น
หน่อพุทธางกูร ก็อยู่ป้าเป็งเนกขัมมบารมีในโคหาถ้้าอัน ๑ ชื่อว่า ถ้้าเกี้ยว (อยู่) หัวฝาย แคว้นเงินยาง
หมื่นซ้ายเชียงแสน ผู้เป็นมูลศรัทธา ก็รังสร้างแปลงฝายหลวงออกเลี้ยงนาเงินยางยังแคว้นเปี่ยนฝายนั้นบ่
มั่น มักหลุพังทุกปี เขาทังหลายก็ไปถามมิจฉาทิฏฐิ ส่วนมิจฉาทิฏฐิ สีลพพตปรามาส กล่าวว่า “ผิพระป่ายังอยู่ที่นั้น
ฝายสูทังหลายบ่มันได้ แล “ เมื่อใดขุนทังหลายบ่พิจารณา ฟังค้ามิจฉาทิฏฐิ ก็ใช้นายฝายไปไหว้พระป่าตามค้า
มิจฉาทิฏฐิหั้น แล มหาป่าเจ้าเมตตาว่า “อุบาสกจักหื้อเราไปอยู่ที่ใดแก่เราควรจา” นายฝายไหว้ว่า “ยังมีคูหาที่ ๑
ชื่อว่า ถ้้าปุ่ม เป็นที่วิเวกควรเจ้ากูไปปฏิบัติที่นั้นควรแท้ จ๊ะและ” มหาป่าเจ้าก็เอาพระพุทธรูปเจ้าองค์ ๑ แต่โบราณ
เช่นพญาเจือง พญาชื่น สร้างไว้ถ้าที่นั้น แล
ในคืนมหาป่าเจ้าจักมารอดถ้้าปุ่มนั้น ยังมีมหาป่าเจ้าตน ๑ เล่า ก็อยู่ในดอยแหนบใต้ถ้าปุ่มที่นั้นมหาป่าเจ้า
ตนนั้นนอนในกลางคืน ก็หันนิมิตตฝัน ยังมี มาณว ผู้ ๑ กล่าวว่า “ดูกราเจ้ากู วันพรุกพอยามตูดจ๊าย ปาลิไลยก์จัก
เอาพระพุทธรูปเจ้าองค์ ๑ มาไว้ในถ้้าปุ่มที่นี้ จ๊ะแล มหาป่าเจ้าช้างปาลิไลยก์ ก็ยังจักมาไหว้เจ้ากู จ๊ะแล” มหาป่า
เจ้าดอยแหนบ ก็สะดุ้งตื่น แล้วก็ร่้าเปิงว่า “พุทธ อุตตมงคลายโย โหมิ” ว่าอั้นอยู่ไจ้ๆ ตกรุ่งเช้า พอเถิงตูดจ๊าย ก็
หันเจ้าไทมารอดด้วยสวัสดี มีจตุอิริยาบถราบเพียงดีงาม มี อตตมงค แห่งตน เป็นอันงามเหมือนกระหมวดเป็นดั่ง
หัวช้าง ประการ ๑ เท่ามีหยวกปลีเป็นปัจจัยแห่งตน จิ่งจักรู้ด้วยนิมิตตฝันว่าช้างปาลิไลย์โพธิสัตว์เจ้า แล
ถ้้าคูหาอันมีในทิศกล้้าเหนือ ท่านก็อยู่ปฏิบัติเวทวิกุมนา เป็นที่วิเวกธรรมตราบเถิงชีวิตจุตุจากที่นั้นถ้้าตุ๊
น้อยนั้นชื่อว่า ถ้้าปาลิไลยก์ เพื่ออั้น แล
เรียงนั้นไปภายหน้า พระเมืองแก้วได้เสวยสัมปัตติในเมืองเชียงใหม่ได้ ๒๐ ขวบเข้า (ประมาณ พ.ศ.๒๐๕๗
/ A.D.๑๕๑๔) เจ้าก็เสด็จมาเมืองเชียงแสน ในปีกาบเส็ด จุลศักราชได้ ๘๗๗ ตัว วันนั้น พระเมืองแก้วเจ้าก็มีมโน
ประสาทศรัทธาในถ้้าโคหาฆฏกา เจ้าก็ปลงอาชญาหื้อสร้างพระศิลาองค์ ๑ แล้วพระเป็นเจ้าก็หื้อเจ้าตนกินเมือง
เชียงแสน หื้อพวกพันต้อง พวกช่าง และขุนทังหลาย ราธนาพระศิลาเจ้ามาไว้ถ้าปุ่ม เพื่อเป็นจ้าหมายแก่บ้านเมือง
แล้วก็ทานไร่นา คามเขตส่วยไร ๒ แสนเบี้ย กับคน ๒ ครัว คือว่าทิดน้อยขันและครัวบุญใส หื้ออยู่อุปัฏฐากพุทธ
ศิลา และมหาธาตุเจ้า ก็แช่วงสบถไว้โดยทั่งท้าวพญาทังหลายแต่ก่อนนั้น แล
ล้้านั้น พญาแก้วจุติในปีกัดเป้า ท้าวอ้ายเกล้า (พญาเกศ) ได้เสวยนพบุรีเชียงใหม่แทนเล่า (ในปี พ.ศ.
๒๐๖๘ / A.D.๑๕๒๕) บ่นานเท่าใดราชเทวีก็ประสูติได้ลูกชายตน ๑ แล้วหื้อช่างหล่อแปลงพุทธรูปดีงามแล้วเบิ ก
บาย ๗ ที ด้วยกระท้าให้เป็นสัตตหอภิเสก ๗ ที บรมวลแล้ว ก็จากับด้วยเจ้าฉิงเมืองทังหลาย มีหมื่นด้ามพร้าตีน
เชียงเป็นประธาน นางราชเทวีกล่าวว่า “ดูราเสนาอามาตย์ ควรพุทธรูปเจ้าหนักค่าคิงลูกเรานี้ ควรสถิตอยู่ในที่ใดดี
จา” ว่าอั้น เมื่อนั้น เจ้าล้านนาตนกินเมืองเชียงแสนจิ่งประนมกรไหว้ว่า “ข้าแด่เจ้าเหนือหัว ยังมีถ้าอัน ๑ ชื่อว่า ถ้้า
ปุ่ม มีในเมืองผู้ข้าเป็นที่ อารมมนิย แห่งพุทธศาสนา แท้ ดีหลี เป็นที่ควรตั้งยังพุทธรูปเจ้า สืบจารีตบัวราณท้าย
๒๕

พญาทังหลายมาแต่ท้าวเทวีมาตราบต่อเท่าบัดนี้ แล ควรเจ้าเหนือหัวปลงราชญา ได้น้าพุทธพิม พาเจ้าราชบุตรเจ้า


ไว้ที่ควรนั้น ดีหลี แล”
ที่นั้น พระเมืองเกล้ายินดีปีติปราโมทย์ ก็ปลงราชอาชญาใส่หัวสังฆการีผู้ชื่อว่า แม่แก่ อยู่บ้านกุฎีค้า และ
หมื่นซ้ายช้อยเชียงแสนทังชาววัด และมหาสมเด็จวชิรโพธิชื่อว่า สุชา น้้าเอาพุทธพิมพามาไว้โคหาถ้้าปุ่ม แล้วก็ทาน
ไร่นา คามเขตแถม ๒๕๐ วา กับเบี้ยแสน ๑ กับคน ๓ ครัว อ้ายทิดจัน ๑ ย่ามณี ๑ ปู่หวัน ๑ เป็น ๓ ครัว ก็เวน
ทานแช่งสบถอธิษฐานหยาดน้้าหมายทานดั่งท้าวพญาทังหลายจุ๊ตน แล ท้าวพญามหากษัตริย์ทังหลาย ก็เทียรย่อม
อุปัฏฐากชินศาสนาแก้วทัง ๓ หื้อทานคนทังหลายไว้ปฏิบัติ และทานเขตทานแดน ไว้หื้อพ้นภัยชีวิตแด่อันตรายทัง
มวลแต่เมื่อพระตนเจ้าไป่นิพพานเทื่อวันนั้น ส่วนมหาราชตน ๑ ชื่อว่า พญาพิมพิสาร ก็ได้สละทานยังคนทังหลาย
๕ บ้าน แลบ้าน ๕๐๐ ครัว หื้ออยู่อุปัฏฐากแก้ว ๓ ประการตราบต่อเท่า ๕๐๐๐ วรรษา ดีหลี เต๊อะ ว่าอั้น
สตถา สัพพัญญพระพุทธเจ้า ก็โถมนายอคุณพญาพิมพิสารว่า “ภิกขเว พิมพิสาโร นาม ทานมนุสสน กุฏิวิ
หาโร สห จิรวิถิเกน ติรตน ภิกขเว เวยยาวจจกาโรนิสิตพโพ อารามิโก วา อุปาสกอุปาสิกา วา โส เอโส อาวุโส
ภิกขุเนยยาน วจกโรติ ” พระพุทธเจ้าเจียรจากับด้วยภิกขุทังหลายว่า “พญาพิมพิสารทานคนมากนัก หื้ออยู่
อุปัฏฐากแก้วทัง ๓ และไร่นา คามเขตแดน ที่อยู่ที่กินพร้อมจุ๊อัน ก็หากเป็นแต่ธรรมดาท้าวพญามหากษัตริย์ทัง
หลายอันล่วงแล้วเมื่อก่อนวันนั้น ก็เทียรย่อมได้เสวยโลกิยสัมปัตติ ๘ กัป จุ๊อันจุ๊ตน จุ๊คนแท้ แล”
พระพุทธเจ้าส้าแดง ทานกถา สีลกถา แก่พญาพิมพิสาร พญาก็ยินดีด้วยคุ ณแก้วทัง ๓ มีพระพุทธเจ้าเป็น
ประธาน พญาได้ทานบ้าน ๕ บ้าน มีส่วยไร แลปีแลแสนค้าแก่สังฆเจ้า มีพระพุทธเจ้าเป็นประธานอรหันตทังหลาย
ก็เอาวัตถุทังหลายฝูงนั้น (หื้อ) ชาววัดทังหลาย สร้างเจดีย์ วิหาร ในดอยสุวรรณคีรีในเมืองราชคหนครที่นั้น แล
เหตุการณ์ดั่งอั้น ท้าวพญามหากษัตริย์ตนใดก็ดี ศรัทธาภายในศาสนาก็ดี ภายนอกก็ดี ยังประกอบชอบ
ธรรมได้สร้างแปลงไว้ไหว้สักการบูชาแก่เทว มนสส คนและเทวดาทังหลาย แล้วก็ปรารถนาเอาโลกิยโลกุตตร
สัมปัตติ ก็จักอุดมสมฤทธี บ่อย่าจ๊ะแล
เหตุนั้นชินศาสนาก็ดี เป็นที่พุทธกิจหากได้ท้านายทายไว้ก็ดี บ่ควรจักรีดม้างบัวราณกาลเก่าแต่เช่นท้าย
พญาทังหลายอันเป็นแล้วเมื่อก่อน แล ต้านานอรัญญโคหาฆฏกถ้้าปุ่ม ก็แล้วเท่านี้ก่อน แล
สาธุ วกฺขามิ สวเนยฺย้ สตธาตุ อสมฺภินฺนา อิติ อุณฺทิส้ จตุโร ทาฐา อกฺขกา เทฺว จ สตฺต อิมา อสมฺภินฺนา เม ตสฺส
อห้ วนฺทามิ ธาตุโย
๖. ลักษณะเฉพำะที่แสดงถึงอัตลักษณ์ของมรดกภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม
จากต้านานที่คัดมาที่เกี่ยวข้องกับต้านานพระธาตุดอยตุง และต้านานถ้้าปุ่ม ถ้าปลา ถ้้าเปลวปล่องฟ้า ที่มี
การปริวรรตแล้วนี้ จะพบว่าต้านานดังกล่าวมีลักษณะเฉพาะทางด้านวรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา ในแง่ของการ
ใช้อักษรธรรมล้านนาทั้งหมดแม้ว่าการเล่าต้านานจะอิงเรื่องราวที่สมมุติขึ้นตามคติที่ได้รับอิทธิของพระพุทธศาสนา
จากลังกามาก็ตาแต่มีการดัดแปลงเสริมความเพื่อให้เกิดความงามอันจะก่อให้เกิดศรัทธาประสาทะได้อย่างดียิ่ง
๒๖

ลักษณะของการผูกเรื่องมีการน้าเรื่องพุทธประวัติมาผูกกับคติความเชื่อท้องถิ่นเล่าผ่านสิ่งของและสภาพแวดล้อม
ในขณะนั้นเป็นหลัง ซึ่งอาจมีตรงบ้างหรือคลาดเคลื่อนไปบ้างจากสิ่งที่เป็นจริง แต่กระนั้นก็ท้าให้เห็นว่า ผู้แต่ง
ต้านานนี้ได้อาศัยภาษาท้องถิ่นและผูกเรื่องราวต่างในลักษณะของการเล่าแบบต้านานมีเนื้อหากระซับและแทรก
ภาษาบาลีเพื่อให้เกิดส้านวนที่น่าติดตามและคิดตามได้ไม่น้อย
จากต้านานดังกล่า ว ท้าให้มองเห็นลักษณะเด่นของส้านวนหรือเรื่องราวที่ปรากฏท้าให้พระธาตุดอยตุง
กลายเป็นพระธาตุที่มีความศักดิ์สิทธิ์และเป็นที่ย้าเกรงมากยิ่งขึ้น เพราะถือว่าพระธาตุดอยตุงนั้นเป็นสถานที่ที่
พระพุทธเจ้าทุกพระองค์จะต้องเสด็จมา และการสร้างก็เกิดจากอภินิหารหรือการท้านายของพระพุทธเจ้า และมี
เหล่าสาวกน้าพระธาตุมาประดิษฐานไว้ รวมทั้งในต้านานยังได้เล่าถึงบทบาทของกษัตริย์ทุกพระองค์ที่ปกครองใน
ดินแดนแห่งนี้ล้วนถวายความเคารพและทรงท้านุบ้ารุงมาอย่างต่เนื่อง
จะสังเกตเห็นว่าต้านานพระธาตุดอยตุงนี้มีความเด่นทั้งทางด้านภาษาที่ใช้คือใช้อักษรธรรมล้านนา ภาษา
ที่ใช้คือภาษาถิ่นเหนือ แม้จะมีบางค้าที่คล้ายภาษาไทยกลางปะปนอยู่บ้าง ซึ่งนักวิชาการมองมาเป็นการแต่งหรือ
เขียนเพิ่มเติมภายหลัง แต่กระนั้น เรายังถือว่าภาษาที่ใช้ส่วนใหญ่คือภาษาไทยถิ่นเหนือแทบทั้งหมด และประการ
ส้าคัญในต้านานทั้งสองต้านาน คือต้านานพระธาคตุด อยตุง และต้านานถ้้าปุ่ม ถ้้าปลา ถ้้าเปล่วปล่องฟ้า การผูก
เรื่อง ค้าขึ้นต้นและการลงท้ายเรื่อง หรือแม้แต่การด้าเนินเรื่องบางค้าก็ใช้กลวิธีแทรกด้วยภาษาบาลี
จากลักษณะเด่นของต้านานที่ปรากฏในรูปลายลักษณ์อักษรแล้วเรื่องราวในต้านานได้มีอิทธิพลต่อวิถีชีวิต
ของผู้คนในพื้นที่มีการเล่าแบบมุขปาฐะต่อๆกันมาอีกทอดหนึ่ง ดังนั้น ความส้าคัญของต้านานจึงส่งต่อความเชื่อ
ความศรัทธาของผู้คนมาอย่างต่อเนื่องและยาวนาน
อย่างไรก็ตามน้อยคนนักที่จะได้อ่านต้นฉบับต้านานพระธาตุดอยตุง และต้านานถ้้าปุ่ม ถ้้าปลา ถ้้าเปล่ว
ปล่องฟ้า คงเหลือเพียงการเล่าแบบมุขปาฐะ จึงน่าเสียดายหากไม่มีการน้าต้นฉบับมาเผยแพร่ทั้งในรูปแบบของ
ปริวรรตและในรูปแบบต้นฉบับที่เป็นตัวอักษรล้านนาโดยตรง

ส่วนที่ ๒ คุณค่ำและบทบำทของวิถีชุมชนที่มตี ่อมรดกภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม


๑. คุณค่ำของมรดกภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรมที่สำคัญ
คุณค่าของต้านานพระธาตุดอยตุง และต้า นานถ้้าปุ่ม ถ้้าปลา ถ้้าเปล่ วปล่ องฟ้า คือมรดกทาง
วัฒนธรรมที่ปรากฏผ่านลายลักษณ์อักษรคืออักษรล้านนา ที่ถือว่าเป็นอารยของคนล้านนา ที่มีภาษาพูดและภาษา
เขียนเป็นของตนเอง และถือว่าเป็นวิวัฒนาการของการบันทึกเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ชื่อบ้านนามเมือง โดยมี
การผูกโยงกับพุทธประวัติท้าให้ต้านานดังกล่าว เป็นทั้งข้อเท็จจริงได้ในบางส่วน และจากการบันทึกเรื่องราวเหล่านี้
๒๗

ท้าให้เห็นความรู้ความสามารถของปราชญ์ล้านนาในสมัยก่อนว่า การผูกเรื่องราวต่างๆนั้นผู้ผูกหรือแต่งต้านาน
จะต้องเป็นผู้มีความรู้หรือเข้าใจเรื่องราวต่างๆมากพอควร
จากต้านานที่ มีการบันทึกและมีการคัดลอกต่อๆกันมานี้ อาจมีบ้างที่มีการคัดลอกทั้งที่สมบูรณ์
และไม่สมบูรณ์อยู่หลายฉบับ กระนั้น ในจังหวัดเชียงรายหรือที่วัดพระธาตุดอยตุงยังมิได้มีการรวบรวบอย่างเป็น
ทางการที่จ ะมี การน้ า เสนอหรื อ จั ด ท้า ส้ าเนาในลั กษณะต่า งๆเพื่ อ ให้ ผู้ คนทั่ ว ไปได้เ ห็ น ได้ อ่ านและรั บ รู้สิ่ ง ที่ มี
ความส้าคัญต่อคติความเชื่อของประชาชนที่มีมาอย่างยาวนานนี้ได้ หากนานวันไปอาจสูญหายก็เป็นได้ หรือมีความ
คลาดเคลื่อนไปก็น่าเสียดายไม่น้อย
๒. บทบำทของชุมชนที่มตี ่อมรดกภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม
ชุมชนในเขตพื้นที่วัดพระธาตุดอยตุง และพื้นที่ใกล้เคียงได้อาศัยคติความเชื่อที่ผูกโยงมาปฏิบัติ
ทางวัฒนธรรม เช่น ประเพณีขึ้นธาตุหรือสรงน้้าพระธาตุดอยตุง ความเชื่อในการเดินขึ้นพระธาตุที่เชื่อว่าจะมี
อานิสงส์มาก เพราะถือว่าเป็นพระธาตุที่ศักดิ์สิทธิ์รวมทั้งความเชื่อที่ว่าหากใครได้ไปสักการะพระธาตุดอยตุงซึ่งเป็น
หนึ่งในประธาตุประจ้าปีเกิดคือปีกุน แล้วถือว่าเป็นกุศลยิ่ง และการได้ไปไหว้พระธาตุก็ถือว่าได้ปฏิบัติหน้าที่เป็นข้า
ทาสพระธาตุอีกทางหนึ่งด้วย
การปฏิบัติตนของชุมชนที่เด่นชัดที่สุดคือชุมชนชาวชาติพันธุ์ที่อาศัยโดยรอบพระธาตุดอยตุงซึ่ง
เมื่อถึงเวลาประเพณีที่ส้าคัญเช่น ประเพณีสงน้้าพระธาตุเดือนหกเป็ง หรือเพ็ญเดือนหก(เดือนเหนือ) กลุ่มพี่น้อง
ชาติพันธุ์จะแต่งตัวตามชาติพันธุ์น้าข้าวเปลือกและเงินทองของมีค่ามาถวายพระธาตุและนั่งเฝ้าดูแลพระธาตุตลอด
ช่วงวัน
ปัจจุบันจังหวัดเชียงรายถือว่าเป็นงานส้าคัญของจัดหวัดที่ทุกภาคส่วนจะได้มีส่วนร่วมในการขึ้นไป
นมัสการพระธาตุดอยตุงซึ่งสืบเนื่องมาจากความเชื่อในต้านานพระธาตุดอยตุงเช่นกัน
๒๘

๓. รูปภำพ
ภาพถ่ายใบลาน ต้านานพระธาตุดอยตุง และต้านานถ้้าปุ่ม ถ้้าปลา ถ้้าเปลวปล่องฟ้า
ฉบับวัดห้วยไคร้ ต.ห้วยไคร้ อ.แม่สาย จ.เชียงราย

You might also like