You are on page 1of 8

1

การพัฒนาก้ าวเข้ าสู่ สมัยประวัตศิ าสตร์ ณ ตามพรลิงค์ รัฐแห่ งนครศรีธรรมราชโบราณ


(ช่ วงพุทธศตวรรษที่ 1 - 12)

นางสาววิภาวดี จาปี รหัสนิสิต 63020174

บทนา
นครศรี ธรรมราช เป็ นเมืองโบราณที่นกั วิชาการในแวดวงประวัติศาสตร์ หรื อผูศ้ ึกษาประวัติศาสตร์
จะทราบกันดีในชื่อ ตามพรลิงค์ เมืองท่าทางการค้าที่มีความเฟื่ องฟูในสมัยโบราณ นครศรี ธรรมโบราณมี
ประวัติ ศ าสตร์ อ ัน ยาวนานที่ ส ะท้อ นให้ เ ห็ น ได้ จ ากร่ องรอยการตั้ง ถิ่ น ฐานของมนุ ษ ย์ใ นสมัย ก่ อ น
ประวัติศาสตร์ ที่เริ่ มขึ้นตั้งแต่ยุคหิ นกลาง อายุราว 11,000 – 5,000 ปี มาแล้ว และพัฒนาเข้าสู่ ยุหินใหม่ ยุค
สาริ ด และยุคเหล็กตามลาดับ 1 และได้มีการพัฒนาเข้าสู่ สมัยประวัติศาสตร์ จากหลักฐานที่ ขุดค้นพบใน
บริ เวณทัว่ จังหวัดที่มีร่องรอยการรวมตัวของชุมชนจนพัฒนากลายเป็ นรัฐ อีกทั้งยังมีหลักฐานที่สะท้อนผ่าน
เอกสารการจดบันทึกของพ่อค้าต่างประเทศที่เดินทางเข้ามาติดต่อกับคนในพื้นที่ รวมถึงนครศรี ธรรมราชยัง
เป็ นเมืองโบราณที่มีความสาคัญทั้งในด้านการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และศาสนามากที่สุดใน
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้เมืองหนึ่ง อารยธรรมอันเก่าแก่มากจากการสร้างสรรค์วฒั นธรรมของบรรพ
บุรุษที่กลายเป็ นมรดกตกทอดมาจนถึงปั จจุบนั ทั้งด้านศาสนา ภาษา วรรณกรรม ประเพณี การละเล่น และ
ศิลปกรรมแขนงต่าง ๆ ที่เกิดการผสมผสานกันทางด้านวัฒนธรรมจากหลากหลายชาติ โดยเฉพาะวัฒนธรรม
จีน วัฒนธรรมอินเดีย และวัฒนธรรมตะวันตก อีกทั้งนครศรี ธรรมราชในอดีตยังเป็ นเมืองที่มีความเจริ ญ
อย่างมากทางด้านการค้าถื อได้ว่าเป็ นตลาดการค้าที่ สาคัญในเอเชี ยตะวันออกเฉี ยงใต้จากการขุดค้น พบ
หลักฐานที่บ่งบอกถึงความเป็ นเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่และด้วยสภาพภูมิศาสตร์ที่หลากหลายเป็ นปัจจัยใน
การเอื้ออานวยต่อการพัฒนาทางอารยธรรมและการตั้งถิ่นฐานของมนุษยชาติ ทาให้ชุมชนโบราณหลายแห่ง
ในนครศรี ธรรมราชเกิดการพัฒนาทางด้านอารยธรรมมาตั้งแต่อดีตและสื บเนื่องมาจนถึงปัจจุบนั
บทความนี้ มีการกล่าวถึงประวัติศาสตร์ ของจังหวัดนครศรี ธรรมราชในฐานะเมืองโบราณที่เริ่ มต้น
มาตั้งแต่ยคุ ก่อนประวัติศาสตร์ ที่ยคุ หิ นกลางและพัฒนาเข้าสู่ ยคุ หิ นใหม่ ยุคโลหะตามลาดับ และเปลี่ยนผ่าน
เข้าสู่ สมัยประวัติศาสตร์ พร้อมกับการเจริ ญรุ่ งเรื องขึ้นของรัฐที่สาคัญในอดีต คือ รัฐตามพรลิงค์ มีอายุราว

___________________________________________
1
ปรี ชา นุ่นสุ ข, รายงานการวิจยั เรื่ อง การศึกษาวิจยั แหล่งโบราณคดีในภาคใต้ของประเทศไทย (กรุ งเทพมหานคร : สานักงาน
คณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ,2540), หน้า 49-177
2

พุทธศตวรรษที่ 112 โดยสะท้อนให้ถึงพัฒนาการที่เกิดขึ้นอย่างโดดเด่น จนเป็ นรัฐที่สาคัญในการปกครอง


ดินแดนในคาบสมุทรเป็ นระยะเวลานาน ก่อนที่จะกลายเป็ น นครศรี ธรรมราช
ภูมิหลังด้ านภูมิศาสตร์ ของนครศรีธรรมราช
นครศรี ธรรมราชเป็ นจังหวัด ที่ต้ งั อยู่ในภาคใต้ของประเทศไทย นับเป็ นจังหวัดที่มีพ้ืนที่ประมาณ
10,211,492 ตารางกิโลเมตร และเป็ นจังหวัดที่มีชายทะเลยาวมากที่สุดในประเทศไทย ในส่ วนเขตติดต่อทาง
ทิศเหนื อ ติดกับจังหวัดสุ ราษฎร์ ธานี และอ่าวบ้านดอน ทิศใต้ติดกับจังหวัดตรัง จังหวัดพัทลุง และจังหวัด
สงขลา ทิ ศ ตะวัน ออก ติ ด กั บ อ่ า วไทย และทิ ศ ตะวัน ตก ติ ด กั บ สุ ร าษฎร์ ธ านี และจั ง หวัด กระบี่
นครศรี ธรรมราชมีภูมิประเทศที่ เป็ นในลักษณะภูเขา เนิ นเขา และที่ ราบชายฝั่ ง อี กทั้งแม่น้ าลาคลองใน
จังหวัดนครศรี ธรรมราชมีความหลายสายและอุดมสมบูรณ์ จนมีความสาคัญต่อการดาเนิ นชี วิตและถูกใช้
เป็ นเส้น ทางสัญ จรของผูค้ นในอดี ต นอกจากนี้ ยัง มี ก ารตั้ง ชุ ม ชนโบราณตามล าน้ า หลายแห่ ง ในด้า น
ภูมิอากาศจังหวัดนครศรี ธรรมราชมีเพียง 2 ฤดู คือ ฤดูร้อนซึ่ งจะมีอากาศร้อนจัดและแห้งแล้งจัด ในช่ วง
เดือนกุมภาพันธ์ - เดือนเมษายน และฤดูฝนจะเริ่ มในช่วงเดือนพฤษภาคม - เดือนมกราคม กล่าวได้วา่ จังหวัด
นครศรี ธรรมราชมีฝนตกชุกเกือบตลอดทั้งปี เนื่ องจากตั้งอยูบ่ ริ เวณใกล้เส้นศูนย์สูตร ภูมิอากาศจึงเป็ นแบบ
โซนร้อน อีกทั้งยังได้รับอิทธิพลของลมทะเลตลอดทั้งปี ประกอบกับมีเทือกเขาสู งในตอนกลางและตะวันตก
ของจังหวัดทาให้อากาศอบอุ่น ด้วยจุดเด่นทางภูมิศาสตร์ ที่หลากหลายจึงส่ งเสริ มให้ผูค้ นในพื้นที่เกิดการ
ประกอบอาชีพที่หลากหลาย เช่น ประมงหรื อล่าสัตว์และประกอบอาชีเกษตรกรรม เป็ นต้น และกลายเป็ น
ปั จจัยพื้นฐานสาคัญให้เกิดการรวมตัวของมนุ ษย์ พัฒนาเป็ นหมู่บา้ น ชุมชน และท้องถิ่นตามลาดับ (ปรี ชา
นุ่นสุ ข , 2530)
ภูมิหลังด้ านวัฒนธรรมของนครศรีธรรมราช
นครศรี ธรรมราชโบราณเป็ นที่อยูอ่ าศัยของกลุ่มชนอย่างน้อย 3 ชนชาติ คือ นิกริ โต ดราวิเดียน และ
มองโกลอยด์ ในระยะเวลาต่อมาได้มีการผสมผสานกันทางสายเลือดสื บเชื้ อสายกันผ่านการแต่งงาน อัน
แสดงถึงความผสมผสานของชนชาติที่สนิ ทแนบแน่น ประชากรในบริ เวณนี้ มีเชื้อชาติไทย มีชนชาติเพื่อน
บ้านอย่างเช่ น จี น มาเลย์ อินเดี ย เป็ นต้น ชาวไทยมุสลิมส่ วนใหญ่จะตั้งถิ่นฐานอยู่ในชนบท โดยเฉพาะ
บริ เ วณชายฝั่ ง ทะเลเพราะชาวไทยกลุ่ ม นี้ มี ค วามช านาญในการประกอบอาชี พ การประมง อี ก ทั้ง ชาว
นครศรี ธรรมราชยังมีการนับถือศาสนาที่แตกต่างกัน โดยศาสนาพุทธได้รับการนับถืออย่างแพร่ หลายมาก
ที่สุด มีโบราณสถานทางวัตถุทางพุทธศาสนาที่บ่งบอกถึงความเจริ ญรุ่ งเรื องในจังหวัดนี้มาเป็ นเวลานาน เช่น
พระบรมธาตุเจดียน์ ครศรี ธรรมราช พระพุทธสิ หิงค์ ซึ่ งเป็ นพระพุทธรู ปประจาเมือง อีกทั้งศาสนิ กชนยังยึด
มัน่ ในประเพณี ทางศาสนามาก จนได้ชื่อว่า เมืองพระ ถัดมาเป็ นศาสนาอิสลาม นับถือส่ วนใหญ่ในกลุ่มชาว
___________________________________________
2
มีการค้นพบหลักฐานที่ที่มาอายุราวพุทธศตวรรษที่ 11 บ่งบอกว่า ตามพรลิงค์เข้าสู่ ยคุ สมัยประวัติศาสตร์ คือ ศิลาจารึ กเก่าแก่ เช่น
ศิลาจารึ กหุบเขาช่องคอย เป็ นต้น
3

ไทยมุสลิ มซึ่ งมีเชื้ อสายชาวมาเลย์จากปั ตตานี รั ฐไทรยุรี และกลันตัน ที่ อพยพเข้ามาตั้งถิ่ นฐานในเมือง
นครศรี ธรรมราชตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 – 5 แห่ งกรุ งรัตนโกสิ นทร์ ส่ วนศาสนาคริ สต์ ได้รับการนับถือเป็ น
ส่ วนน้อย และนิ กายที่ชาวนครศรี ธรรมราชนับถือ คือ นิ กายโปรแตสแตนท์ และโรมันคาธอลิก ทางด้าน
ศาสนาพราหมณ์ จากหลักฐานพบรู ปเคารพและซากโบราณสถานในชุมชนโบราณเป็ นสิ่ งสะท้อนว่าศาสนา
นี้ เคยรุ่ งเรื องมากในนครศรี ธรรมราช แม้ในปั จจุบนั ส่ วนใหญ่นับถือค่อนข้างน้อยแต่อิทธิ พลของศาสนา
พราหมณ์ที่เข้ามาตั้งแต่ยคุ แรก ส่ งผลให้เกิดการพัฒนาและสร้างสรรค์วฒั นธรรมของชาวนครศรี ธรรมราช
มาตั้งแต่อดีตและยังคงปรากฏในปัจจุบนั สะท้อนผ่านงานประเพณี สาคัญต่าง ๆ ที่เกิดการผสมผสานระหว่าง
พุทธกับพราหมณ์ เช่น ประเพณี ให้ทานไฟ ประเพณี กวนข้าวมธุปายาสยาคู ประเพณี แรกนาขวัญ ประเพณี
การทาขวัญต่าง ๆ เป็ นต้น ในด้านงานวรรณกรรมชาวนครศรี ธรรมราชในสมัยโบราณนิยมบันทึกวิทยาการ
ต่าง ๆ ลงในสมุดข่อย ด้วยอักษรหลายชนิด เช่น อักษรขอม อักษรไทยสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช และ
อักษรไทยปั จจุบนั ในส่ วนของภาษาในนครศรี ธรรมราชเป็ นภาษาถิ่นที่เก่าแก่และมีความผสมผสานกับ
ภาษาอื่น เช่น บาลี สันสกฤติ มาเลย์ อาหรับ เปอร์เซีย ชวา จีน ทมิฬ ฯลฯ เป็ นต้น3 (ปรี ชา นุ่นสุ ข , 2530)
ยุคก่อนประวัติศาสตร์
ยุคหินกลาง
ในจังหวัดนครศรี ธรรมราชมีการพบร่ องรอยสาคัญที่เป็ นสิ่ งสะท้อนให้ทราบว่า มนุษย์ได้มีการเข้า
มาตั้งถิ่นฐานตั้งแต่ช่วงยุคหิ นมาแล้ว จากการขุดค้นพบหลักฐานทางโบราณคดี ซึ่ งได้พบเครื่ องมือที่เก่าแก่
โดยมีลกั ษณะกะเทาะหน้าเดียว รู ปไข่ คมรอบ ปลายแหลมด้านบนคล้ายรอยโดนตัด จัดเป็ นเครื่ องมือยุค
ไพลสโตซีนตอนปลาย ณ บริ เวณถ้ าตาหมื่นยม ตาบลข้างกลาง อาเภอฉวาง ซึ่งหลักฐานที่พบมีลกั ษณะคล้าย
กับขวานกาปั้ นที่พบ ณ ไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรีและจัดว่าเป็ นเครื่ องมือหิ นในยุคหิ นกลางที่มีอายุราว
11,000 – 8,350 ปี มาแล้ว อีกทั้งยังมีลกั ษณะคล้ายเครื่ องมือหิ นวัฒนธรรมโฮบินเนียนเช่นเดียวกัน
ยุคหินใหม่
ในราวอายุ 3,900 – 2,000 ปี มาแล้ว ณ บริ เวณนครศรี ธรรมมนุษย์ได้มีการพัฒนาภูมิปัญญาให้มีการ
อานวยความสะดวกแก่การดารงชีวิตเพิ่มมากขึ้น โดยเป็ นสิ่ งสะท้อนให้ถึงการเปลี่ยนผ่านเข้าสู่ ยุคหิ นใหม่
จากการพบหลักฐานที่มีการกระจัดกระจายอยูใ่ นบริ เวณถ้ าและที่ราบของจังหวัดนครศรี ธรรมราช สะท้อน
ให้เห็นถึงการก่อตัวเป็ นชุมชน โดยหลักฐานที่ขดุ ค้นพบส่ วนใหญ่เป็ นเครื่ องมือเครื่ องใช้โดยเฉพาะภาชนะ
ดินเผา หม้อสามขา มีดหิ น และสิ่ วหิ น เป็ นต้น

___________________________________________
3
สะท้อนผ่านหลักฐานจากการค้นพบศิลาจารึ กในนครศรี ธรรมราช 13 หลัก เช่น ศิลาจารึ กหุบเขาช่องคอย ศิลาจารึ กหลักที่ 27-29
จารึ กวิหารโพธิ์ลงั กา ศิลาจารึ กวัดมเหยงคณ์ เป็ นต้น
4

ยุคกึง่ ประวัติศาสตร์
ยุคโลหะ
ในช่ ว งอายุร าวประมาณ 2,500 – 2,200 ปี มาแล้ว ในอดี ต พื้ น ที่ จ ัง หวัด นครศรี ธ รรมราชพัฒ นา
ก้าวหน้าทางวิทยาการเข้าสู่ ยคุ โลหะ ซึ่งสัญนิษฐานว่านครศรี ธรรมราชในช่วงเวลาดังกล่าวนี้ได้เข้าสู่ สมัยกึ่ง
ประวัติศาสตร์ จากหลักฐานที่ มีการค้นพบกลองมโหระทึกสาริ ด 3 ใบ ซึ่ งจากการวิเคราะห์ และตีความถึง
ลักษณะของกลองมโหระทึ ก ดังกล่าวนี้ มี ปรากฏในวัฒนธรรมดองซอน ของประเทศเวียดนาม เป็ นสิ่ ง
สะท้อนให้ทราบว่ามนุ ษย์ในยุคโลหะนี้ จากที่มีการเริ่ มรวมกลุ่มอาศัยอยู่ร่วมกันเป็ นชุมชน จึงได้เริ่ มมีการ
ติดต่อหรื อแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกับชุมชนอื่น ๆ แล้ว ซึ่ งการติดต่อดังกล่าวอาจจะเป็ นในลักษณะของการ
เดินเรื อ แสดงให้เห็นว่าสังคมหรื อชุมชนในนครศรี ธรรมราชเริ่ มเข้าสู่ สังคมที่จะพัฒนาเป็ นสังคมเมืองในยุค
ประวัติศาสตร์แล้ว ซึ่งระยะเวลาดังกล่าวอาจจะอยูใ่ นช่วงพุทธศตวรรษที่ 1-5 (ปรี ชา นุ่นสุ ข , 2530)
พุทธศตวรรษที่ 7-10
ในช่วงนี้ ปรากฏหลักฐานจากการบันทึกบันทึกไว้ในคัมภีร์บาลีมหานิ ทเทส ที่มีการกล่าวถึง เมือง
ตามพรลิงค์ โดยถูกสัญนิ ษฐานว่าเกิดขึ้นก่อนช่วงพุทธศตวรรษที่ 7 – 8 คือก่อนที่จะมีการจดบันทึกคัมภีร์
บาลีมหานิ ทเทส หรื อตั้งแต่สมัยกึ่งประวัติศาสตร์ หรื อก่อนที่ชาวอินเดียจะเดินทางเข้ามาติดต่อค้าขายและ
เผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรมครั้งใหญ่ยงั ดินแดนแถบเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ โดยหลักฐานที่สะท้อนให้เห็นถึง
การติ ด ต่ อ ของมนุ ษ ย์ใ นบริ เวณอดี ต ของนครศรี ธรรมราชโบราณกับ ผู ้ค นภายนอก ในช่ ว งยุ ค กึ่ ง
ประวัติศาสตร์ จากเอกสารโบราณของอินเดียหลายชิ้นได้กล่าวพาดพิงถึงเมืองท่าหลายแห่ งบนคาบสมุทร
ไทย ในฐานะของศูนย์กลางทางการค้าหรื อชุ มนุ มการเดิ นเรื อบนเส้นทางการค้านานาชาติทางทะเลสาย
โบราณของโลกในขณะนั้น โดยเฉพาะเมื อ งท่ า ตามพรลิ ง ค์ แสดงว่ า ในระยะนี้ เมื อ งตามพรลิ ง ค์ห รื อ
นครศรี ธรรมราชโบราณเป็ นเมืองที่ มีความเจริ ญทางด้านการค้า หรื อเป็ นตลาดการค้าที่สาคัญในเอเชี ย
ตะวันออกกเฉี ยงใต้ จึงเป็ นที่รู้จกั ดีในหมู่นกั พ่อค้าเดินเรื อชาวอินเดีย อาหรับ จีน และชาติอื่น ๆ ซึ่ งในช่วง
พุทธศตวรรษที่ 9 – 10 มีการค้นพบพระวิษณุศิลาอันเป็ นเทวรู ปกลุ่มที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทยในบริ เวณ
หอพระนารายณ์ อาเภอเมือง และที่วดั พระเพรง ตาบลนาสาร อาเภอเมือง เทวรู ปดังกล่าวได้รับอิทธิ พลจาก
ศิลปอินเดีย สมัย มถุราและอมราวดีตอนปลาย (ปรี ชา นุ่ นสุ ข , 2530) ซึ่ งร่ องรอยและหลักฐานดังกล่าวนี้
สะท้อนให้เห็นว่าผูค้ นในเมืองตามพรลิงค์ไม่ได้แค่รับการติดต่อค้าขายกับกลุ่มพ่อค้าต่างชาติเพียงเท่านั้น แต่
ยังมีร่องรอยบาง ๆ ของการรับศิลปวิทยาการต่าง ๆ จากกลุ่มพ่อค้าต่างชาติเหล่านั้นด้วย ซึ่ งเป็ นปั จจัยไปสู่
การรับวัฒนธรรมจากประเทศภายนอกเข้ามาอย่างเต็มตัวโดยเฉพาะวัฒนธรรมอินเดียและพัฒนาปรับเปลี่ยน
5

ให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมดั่งเดิ มของตนผ่านคติ ความเชื่ อทางศาสนา การนับถื อศาสนาพราห์ ม พุทธ


สะท้อนออกมาในรู ปแบบผลงานศิลปกรรมด้านต่าง ๆ
ยุคประวัติศาสตร์
พุทธศตวรรษที่ 11 - 12
เมืองตามพรลิงค์ได้กลายเป็ นเมืองท่าสาคัญและมีขนาดใหญ่ และมีการพบหลักฐานที่สะท้อนการพัฒนาเข้า
สู่ สมัยประวัติศาสตร์ จากจารึ กหลายหลัก โดยภายหลังจากที่พ่อค้าชาวอินเดียได้เดินทางเข้ามาติดต่อค้าขาย
ส่ งผลให้เมืองตามพรลิงค์เจริ ญ รุ่ งเรื องมีอานาจมากขึ้น ชุ มชนต่าง ๆ ซึ่ งเคยเป็ นเมืองอิสระไม่ข้ ึนต่อกันที่
กระจายอยูโ่ ดยรอบได้ถูกรวบรวมเข้าอยูด่ ว้ ยกัน เช่น เมืองปั ตตานี เมืองตะกัว่ ป่ า เมืองไชยา ฯลฯ ส่ งผลต่อ
การสร้างฐานอานาจทางการปกครองของเมืองตามพรลิงค์ ให้มีอาณาเขตครอบคุมทั้ง 2 ฝั่งมหาสมุทร คือ
แหลมมลายูฝั่งตะวันตกและฝั่งตะวันออก4 อีกทั้งเมืองตามพรลิงค์ในช่วงระยะเวลานี้ ได้รับอิทธิ พลศาสนา
พราหมณ์ แ ละศาสนาพุ ท ธอย่ า งเต็ ม ที่ จากการค้น พบหลัก ศิ ล าจารึ กรุ่ นแรกของประเทศไทยใน
นครศรี ธรรมราชหลายหลัก เช่น ศิลาจารึ กหุบเขาช่องคอย ซึ่งพบเมื่อ พ.ศ. 2522 บริ เวณหุบเขาช่องคอย บ้าน
คลองท้อน หมู่ที่ 9 ตาบลควนเกย อาเภอร่ อนพิบูลย์ ซึ่ งจารึ กด้วยอักษรปั ลลวะ อายุราวพุทธศตวรรษที่ 10
ศิลาจารึ กหลักนี้ใช้บนั ทึกด้วยภาษาสันสกฤต มีเนื้อหาสาระที่กล่าวถึงความเชื่อของผูค้ นต่อศาสนาพราหมณ์
เช่น การบูชาพระศิวะ ความนอบน้อมต่อพระศิวะ เหตุที่บุคคลผูน้ ับถือพระศิวะเข้าไปหาพระศิวะและคติ
ชีวิตที่ว่าคนดีอยู่ในบ้านของผูใ้ ดความสุ ขและผลดีย่อมมีแก่ผนู ้ ้ นั เป็ นต้น อีกทั้งยังพบรู ปเคารพทางศาสนา
พราหมณ์และศาสนาพุทธ เช่น พระนารายณ์ พระคเณศ และสิ วลึงค์ เศียรพระพุทธรู ปศิลาขนาดเล็ก เป็ นต้น
(ปรี ชา นุ่นสุ ข , 2530)
การขึ้ น มาเป็ นเมื องท่ าที่ มีความเจริ ญรุ่ งเรื องของเมื องตามพรลิ งค์น้ ัน มี ปัจจัยเกื้ อหนุ น สาคัญ 3
ประการคือ
1. ลักษณะทางภูมิศาสตร์ ที่เหมาะสมได้เปรี ยบกว่าเมืองอื่นโดยรอบ บวกกับมีที่ราบชายฝั่งทะเล
มากและอุดมสมบูรณ์ มีมาน้ าลาคลองหลายสายไหลผ่าน ทาให้มีพ้ืนที่ทานาเพาะปลูกจานวน
มากกว่าเมืองอื่น จึงปรากฏชุมชนหลายแห่ งตามแนวชายฝั่งทะเลที่เติบโตและพัฒนาได้อย่าง
รวดเร็ วในสมัยโบราณ5

___________________________________________

4
ประทุม ชุมเพ็งพันธุ์, ตามพรลิงค์, ศิลปากร (2523), หน้า 80-81
5
เรื่ องเดียวกัน
6

2. การสร้างป่ าเป็ นนา ที่เป็ นผลสื บเนื่ องมาจากการพัฒนาอย่างรวดเร็ วของชุมชนเกิดการกระแส


การอพยพเข้ามาอยูอ่ าศัยของผูค้ นและได้ทาการพัฒนาพื้นที่ให้เป็ นพื้นที่เกษตรกรรม และกาลัง
พลก็เป็ นสิ่ งสาคัญต่อการสร้างความยิง่ ใหญ่ เพราะหมายถึงกาลังอานาจของเมืองนั้น ๆ6
3. การค้าพาณิ ชย์ส่งผลให้บา้ นเมืองเจริ ญ มีรากฐานทางเศรษฐิกิจมัง่ คง จากปั จจัยทางภูมิศาสตร์ ที่
เอื้ออานวยให้เมืองตามพรลิงค์ต้ งั อยูใ่ นย่านกลางทางการค้า การเดินทาง ติดต่อทางทะเล จึงพบ
ชาวต่างประเทศไปมาค้าขาย เดินทางผ่านมาแวะพักอาศัยอยู่เสมอ จึงมีความเจริ ญในด้านการ
ช่างศิลปหัตถกรรม นาฏศิลป์ สถาปั ตยกรรม และประติมากรรม มากกว่าเมืองอื่น ๆ มาตั้งแต่
โบราณ7
จากปัจจัยดังกล่าวเป็ นการสะท้อนให้เห็นว่าเมื่อเมืองตามพรลิงค์มีการติดต่อค้าขายกับพ่อค้าจากต่างแดนมาก
ขึ้นด้วยปั จจัยพื้นฐานหลายด้านจนกลายเป็ นศูนย์กลางการค้าที่สาคัญ แต่ผลพลอยได้น้ นั กล่าวได้ว่า เป็ นจุด
เปลี่ ย นและจุ ด เริ่ ม ต้น ใหม่ ที่ ส าคัญ ของประวัติ ศ าสตร์ น ครศรี ธ รรมราช เนื่ อ งจากร่ อ งรอยของการรั บ
วัฒนธรรมมาจากพ่อค้าต่างแดนเหล่านั้น ได้สร้างให้เกิดการพัฒนาวิทยาการที่นายุคกึ่งประวัติศาสตร์ เข้าสู่
ยุคประวัติศาสตร์ อย่างเต็มรู ปแบบ ภายใต้หลักฐานศิลาจารึ กที่มีการค้นพบโดยสะท้อนออกมาผ่านตัวเขียนที่
สามารถทาให้เข้าใจเรื่ องราวในอดีตกาลได้อย่างสมบูรณ์แบบ

สรุป
นครศรี ธรรมราชเป็ นจังหวัดที่มีปัจจัยหลายด้านที่เอื้ออานวยต่อการพัฒนาอารยธรรมของมนุ ษย์
โบราณโดยเฉพาะในยุคกึ่ งประวัติศาสตร์ แ ละยุคเริ่ มต้น ประวัติศาสตร์ ทั้งด้านปั จ จัย ทางภู มิศาสตร์ ที่
ประกอบไปด้วยพื้นที่ชายฝั่งอันกว้างใหญ่เหมาะแก่การเพาะปลูก มีอ่าวและแม่น้ าหลายสายที่เหมาะแก่การ
จอดเรื อและคมนาคม ที่ส่งผลสื บเนื่องไปสู่ ปัจจัยด้านการติดต่อค้าขายกับพ่อค้าวาณิ ชย์จากต่างแดน ที่เข้ามา
ในพื้นที่บริ เวณนครศรี ธรรมราช ซึ่ ง แต่เดิมมีชื่อว่า ตามพรลิงค์ จากการติดต่อค้าขายระหว่างกันนี้ ได้ก่อเกิด
การเผยแพร่ และรับวัฒนธรรมซึ่ งกันและกันมา โดยเฉพาะเมืองตามพรลิงค์ที่ได้รับวัฒนธรรมทางศาสนา
พราหมณ์ และศาสนาพุท ธเข้ามา มี ก ารพัฒนาต่ อยอดให้เป็ นในลัก ษณะที่ สอดคล้องกับวิถีชีวิตของตน
สะท้อนผ่านงานศิลปกรรมและวิทยาการที่เกี่ยวข้องกันทางศาสนาในหลายรู ปแบบไม่ว่าจะเป็ น รู ปเคารพ
ศาสนสถาน ล้วนแล้วมีการหลอมรวมจิตใจของผูค้ นเป็ นหนึ่งเดียวกัน มีความคิดความเชื่อเหมือนกัน ปฏิบตั ิ

___________________________________________
6
เรื่ องเดียวกัน
7
กรมตารา กระทรวงศึกษาธิการ , ภูมิศาสตร์ประเทสสยาม (พระนคร : โรงพิมพ์อกั ษรนิติ, 2468), หน้า 74 -185.
7

ตามแบบแผนเดียวกัน และถ่ายทอดความรู ้ สึกเหล่านั้นผ่านออกมาในการประกอบพิธีกรรม ประเพณี วิถี


ชีวิต และโดยเฉพาะการจดบันทึกบนหลักศิลาจารึ กที่เป็ นจุดเปลี่ยนสาคัญที่ทาให้นครศรี ธรรมราชโบราณ
ก้าวเข้าสู่ ยุคประวัติศาสตร์ พร้อมกับการเฟื่ องฟูข้ ึนทางด้านอานาจทางการเมือง การติดต่อค้าขาย และศิลป
วิ ทยาการหลายแขนงของเมื องตามพรลิ งค์ จนกลายเป็ นศู นย์กลางทางวัฒนธรรมและสถานี การค้าที่ มี
ความสาคัญมากที่สุดในสมัยโบราณ
บรรณานุกรม

ประทุม ชุ่มเพ็งพันธุ์ (2523). ตามพรลิงค์ . วิทยานิพนธ์อกั ษรศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาประวัติศาสตร์


เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, คณะอักษรศาสตร์, มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ปรี ชา นุ่นสุ ข. (2530). ประวัติศาสตร์ ท้องถิ่นนครศรี ธรรมราช. นครศรี ธรรมราช : โครงการตาราและ
เอกสารทางวิชาการวิทยาลัยครู นครศรี ธรรมราช.
ปรี ชา นุ่นสุ ข. (2544). ประวัติศาสตร์ นครศรี ธรรมราช : พัฒนาการของรั ฐคาบสมุทรไทยในพุทธศตวรรษที่
11-19. วิทยานิพนธ์อกั ษรศาสตรดุษฎีบณั ฑิต, สาขาวิชาประวัติศาสตร์, คณะอักษรศาสตร์,
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

You might also like