You are on page 1of 38

รายวิชาพื้นฐาน

กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม


ประวัติศาสตร์สากล ม.4-6
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1

เวลาและการแบ่ งยุคสมัยทางประวัตศิ าสตร์ สากล


เวลาและการแบ่ งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สากล

• ความสําคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
• การนับและการเทียบศักราชในประวัติศาสตร์สากล
• การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ตะวันตก
• การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ตะวันออก
• ตัวอย่างเวลาและยุคสมัยที่ปรากฏในหลักฐานทางประวัติศาสตร์สากล
ความสํ าคัญของเวลาและยุคสมัย

• ทําให้เกิดความสะดวกในการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับอดีต
• ทํา ให้ เ กิ ด ความเข้า ใจเหตุ ก ารณ์ ท างประวัติ ศ าสตร์
ตรงกัน
• ทําให้เห็นถึงลักษณะสําคัญของเวลาแต่ละช่วง
การนับและการเทียบศักราชของโลกตะวันตก

ศักราชสากลที่นิยมใช้กนั แพร่ หลายที่สุด คือ คริสต์ ศักราช


• คริ สต์ศกั ราชที่ 1 เริ่ มนับในปี ที่พระเยซูถือกําเนิด
• ปี ก่อนพระเยซูถือกําเนิด เรี ยกว่า Before Christ ย่อ B.C.
• ผูเ้ ริ่ มวิธีการนับ ค.ศ. คนแรก คือ ไดโอนิซิอุส เอซิ กอุ ุส
• ผูเ้ ริ่ มนับเวลาก่อนปี ถือกําเนิดของพระเยซู คือ บีด
• การใช้คริ สต์ศกั ราชได้รับความนิยมในช่วงการ
ขยายอํานาจของลัทธิ จกั รวรรดินิยมในปลาย
คริ สต์ศตวรรษที่ 19 เป็ นต้นมา
การนับและการเทียบศักราชของโลกตะวันออก
การนับศักราชแบบจีน
• จีนมีระบบปฏิทินย้อนหลังเกือบ 4,000 ปี มาแล้ว
เป็ นระบบจันทรคติ หรื อยึดพระจันทร์ เป็ นหลัก
• การนับช่วงสมัยของจีนยึดตามปี ที่
ครองราชสมบัติของจักรพรรดิ
ปั จจุบนั การนับช่วงเวลาดังกล่าว
จีนเลิกใช้แล้ว แต่ญี่ปุ่นยังใช้อยู่

ภาพวาดชาวจีนโบราณอาศัยความรู้ ทางดาราศาสตร์ เข้ า


มาช่ วยในการคํานวณวันเวลาในรอบปี
การนับศักราชแบบอินเดีย
• เป็ นการนับโดยอาศัยการขึ้นครองราชสมบัติเป็ น
สําคัญ
• ในสมัยพระเจ้ากนิษกะ ถือเป็ นการเริ่ มต้นศักราช
กนิษกะ หรื อศก ต่อมาเรี ยกว่า มหาศักราช ซึ่ งเป็ น
ที่ยอมรับและใช้กนั อย่างแพร่ หลาย
• ปั จจุบนั อินเดียใช้คริ สต์ศกั ราชตามแบบสากล
พระเจ้ากนิษกะ
การนับศักราชแบบศาสนาอิสลาม
• เรี ยกว่า ฮิจเราะห์ศกั ราช
• เริ่ มนับเมื่อท่านนบีมุฮมั หมัดกระทําฮิจเราะห์จากเมืองเมกกะไปเมืองเมดินะ
• ใช้ระบบจันทรคติเป็ นเกณฑ์

ภาพเมืองเมกกะ ประเทศซาอุดอิ าระเบีย


สมัยก่อนประวัติศาสตร์

ยุคหินเก่ า
• ชื่ อ ยุ ค มาจากการค้ น พบเครื่ องมื อ ที่
มนุษย์ยคุ นั้นใช้
• มนุษย์ยคุ หิ นเก่าเป็ นพวกเร่ ร่อน ล่าสัตว์
อาศัย อยู่ต ามเพิ ง ผา มี ผู ้นํา ชนเผ่ า อยู่
รวมกันเป็ นกลุ่ม
• มนุ ษย์ยคุ หิ นเก่ามีพฒั นาการด้านการใช้
สติปัญญา มีภาษาพูด มีพิธีการฝังศพ
• มีการสร้างสรรค์งานศิลปะ โดยการวาด
ภาพบนฝาผนัง และรู ้จกั ใช้ไฟ
จิตรกรรมฝาผนังทีถ่ าํ้ ลาโกซ์ ประเทศฝรั่งเศส
เป็ นหลักฐานทีแ่ สดงให้ เห็นถึงพัฒนาการของมนุษย์
ยุคหินเก่ าทีร่ ู้ จักสร้ างสรรค์ ผลงานศิลปะทีส่ วยงาม
ยุคหินใหม่
• ชื่อของยุคได้มาจากการค้นพบเครื่ องมือที่มีการทําให้มีความเหมาะสม
ในการดํารงชีวิตมากขึ้น
• มนุษย์เข้าสู่ สงั คมเกษตรกรรม รู ้จกั เพาะปลูก และการเลี้ยงสัตว์
• มีการตั้งถิ่นฐานเป็ นชุมชน และมีการจัดระเบียบการปกครอง

เมืองชาทัลฮูยุค ในประเทศตุรกี แหล่ งชุ มชนยุค ภาพวาดจินตนาการ การดํารงชีวติ ของ


หินใหม่ ขนาดใหญ่ มนุษย์ ยุคหินใหม่
ยุคโลหะ
• มนุษย์รู้จกั นําโลหะมาทําเครื่ องมือเครื่ องใช้ โลหะชนิด
แรกๆ คือ ทองแดง ตะกัว่ ต่อมารู ้จกั ใช้สาํ ริ ด และเหล็ก
• มีชุมชนใหญ่ระดับเมือง มีการจัดระเบียบการปกครอง
• แหล่งอารยธรรมเริ่ มแรกอยูท่ ี่ลุ่มแม่น้ าํ ไนล์ ลุ่มแม่น้ าํ
ไทกริ ส-ยูเฟรทีส ลุ่มแม่น้ าํ สิ นธุ และลุ่มแม่น้ าํ หวงเหอ

ภาพวาดมนุษย์ ในยุคโลหะ ทีร่ ู้ จักนําสํ าริดมาหลอมใช้ ทาํ เครื่ องมือ


สมัยประวัติศาสตร์

สมัยโบราณ
• เริ่ มจากการประดิษฐ์ตวั อักษร
ของชาวซูเมเรี ย ถึงการล่มสลาย
ของจักรวรรดิโรมันตะวันตก
• เป็ นช่วงเวลาของการสร้างสม
อารยธรรมที่ยงิ่ ใหญ่ของโลก
ตะวันตก ได้แก่ อารยธรรมเมโสโป
เตเมีย อารยธรรมอียปิ ต์ อารยธรรม
กรี ก และอารยธรรมโรมัน
จักรพรรดิโรมูลสั ออกัสตุลสั ออกจากบัลลังก์
สมัยกลาง
• นับจากการสิ้ นสุ ดของจักรวรรดิโรมันตะวันตก ถึงการค้นพบทวีปอเมริ กา
ของคริ สโตเฟอร์ โคลัมบัส
• สมัยกลางตอนต้นมีชื่อเรี ยกอีกอย่างหนึ่งว่า ยุคมืด

สภาพเมืองและการค้ าในสมัยกลาง
สมัยกลาง
• การปกครองในระบอบฟิ วดัลรุ่ งเรื อง
• ในช่วงคริ สต์ศตวรรษที่ 11-13 เมืองและการค้าฟื้ นตัว ประชากรเพิม่ ขึ้นอย่าง
รวดเร็ ว มีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยต่างๆ ปลายสมัยกลางเริ่ มมีการฟื้ นฟูศิลปวิทยาการ
นําไปสู่ การปฏิรูปศาสนา

สภาพเมืองและการค้ าในสมัยกลาง
มหาวิหารชาตร์ ในฝรั่งเศส ศิลปะกอทิก เป็ นมหาวิหารทีม่ ชี ื่ อเสี ยงและสวยงามมากแห่ งหนึ่งในสมัยกลาง
สมัยใหม่
1. สมัยการสํ ารวจทางทะเล
เกิ ด ก่ อนโคลัมบัสค้น พบทวี ปอเมริ ก า นัก
เดินเรื อของสเปนและโปรตุเกส ออกสํารวจ
เส้นทางไปหมู่ เ กาะอิ น เดี ย ตะวัน ออก และ
กลายเป็ นประเทศที่มง่ั คัง่ ทําให้หลายชาติต้ งั
บริ ษทั เดิ นเรื อเพื่อทําการค้า เรี ยกว่า บริ ษทั
อินเดียตะวันออก ทําให้เกิดการปฏิวตั ิการค้า
ตามมา

อู่ต่อเรื อของบริษทั ดัชต์ อนิ เดียตะวันออก ในกรุ งอัมสเตอร์ ดมั


2. สมัยการปฏิวตั ิทางวิทยาศาสตร์ เกิดการ
แสวงหาความรู ้ใหม่โดยการทดลอง การสังเกต การใช้
เหตุผล ทําให้เกิดสมัยแห่งการใช้เหตุผล หรื อยุคแห่งการ
รู ้แจ้ง นักปรัชญาคนสําคัญ เช่น วอลแตร์ มงเตสกีเยอ
และชอง ชาก รู โซ

เซอร์ ไอแซค นิวตัน


ผู้ค้นพบกฎความถ่ วง
3. สมัยการปฏิวตั ิอุตสาหกรรม เป็ นการนําเครื่ องจักรมาใช้แทน
แรงงานมนุษย์ ทําให้ผลิตได้เป็ นจํานวนมาก และเป็ นมาตรฐานเดียวกัน
ทําให้โลกตะวันตกมีความมัง่ คัง่ มีอาํ นาจ
นําไปสู่ การเกิดสมัย จักรวรรดินิยม

เครื่ องจักรทีป่ ระดิษฐ์ ขนึ้ ในสมัยการปฏิวตั ิ


อุตสาหกรรม นําไปใช้ ในโรงงานทอผ้ าในยุโรป
4. สมัยเสรี นิยม ชาตินิยม และประชาธิปไตย เป็ นยุคของการใช้เหตุผล ทํา
ให้เกิดความคิดทางการเมืองใหม่ๆ จนนําไปสู่ การปฏิวตั ิฝรั่งเศส เกิดการปกครองแบบ
ประชาธิ ปไตย ความคิดเรื่ องชาตินิยมนําไปสู่ การรวมประเทศ เช่น เยอรมนี และอิตาลี

การทลายคุกบาสตีย์ เป็ นเหตุการณ์ สําคัญทีส่ ุ ดในการ


ปฏิวตั ฝิ รั่งเศส ค.ศ. 1789
5. สมัยจักรวรรดินิยมใหม่ เป็ นผลสื บเนื่องจากการปฏิวตั ิอุตสาหกรรม ยุโรป
และอเมริ กาต่างแสวงหาอาณานิคม โดยแข่งขันกันเพื่อความยิง่ ใหญ่ของชาติ
6. สมัยสงครามโลก เป็ นช่ วงเวลาที่ โลกอยู่ในภาวะสงครามครั้ งใหญ่
รุ น แรง และนองเลื อ ดที่ สุ ด การสิ้ น สุ ด สงครามโลกครั้ งที่ 2 ถื อ เป็ นการสิ้ น สุ ด
ประวัติศาสตร์ ตะวันตกสมัยใหม่
สมัยปัจจุบัน
1. สมัยสงครามเย็น เป็ นการแข่งขันทางการเมืองของค่ายประชาธิ ปไตยที่
มีสหรัฐอเมริ กาเป็ นผูน้ าํ กับค่ายคอมมิวนิสต์ที่มีสหภาพโซเวียตเป็ นผูน้ าํ ในขณะที่
องค์การสหประชาชาติได้พยายามไกล่เกลี่ยให้เกิดสันติภาพ
2. สมัยโลกาภิวัตน์ ความเจริ ญทางด้านการสื่ อสารคมนาคมทําให้โลก
แคบลง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในทุกส่ วนของโลกสามารถรับรู ้กนั ได้อย่างรวดเร็ ว
การแบ่ งยุคสมัยจีนตามแบบสากล

สมัยก่ อนประวัตศิ าสตร์ จีน


ยุคหินเก่ า มนุษย์ใช้ชีวิตแบบเร่ ร่อน เก็บของป่ า ล่าสัตว์
ยุคหินกลาง ใช้ชีวิตกึ่งเร่ ร่อนกึ่งตั้งหลักแหล่งถาวร
ยุคหินใหม่ ตั้งชุมชน รู ้จกั เพาะปลูก เลี้ยงสัตว์
ยุคโลหะ รู ้จกั การใช้ทองแดง เหล็ก และสําริ ด

ชิ้นส่ วนโครงกระดูกมนุษย์
หยวนโหม่ ว
สมัยประวัตศิ าสตร์ จนี
สมัยโบราณหรื อสมัยคลาสสิ ก เป็ นช่วงของการสร้างอารยธรรม
สมัยจักรวรรดิ เริ่ มตั้งแต่สมัยราชวงศ์ฉิน เป็ นช่วงที่จีนรวมกันเป็ นจักรวรรดิ
ถึงสิ้ นสุ ดสมัยราชวงศ์ชิง
สมัยใหม่ เริ่ มในสมัยราชวงศ์ชิง
จนถึงสิ้ นสุ ดการปกครองระบอบสาธารณรัฐ
จีนแพ้ในสงครามฝิ่ น
ประวัติศาสตร์ ร่วมสมัย เริ่ มตั้งแต่
จีนเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็ น
ระบอบคอมมิวนิสต์-ปั จจุบนั

ภาชนะสํ าริด 4 ขา สมัยราชวงศ์ ชาง


การแบ่ งยุคสมัยจีนตามแบบลัทธิมากซ์

สมัยโบราณ มนุษย์ดาํ รงชีวิตตามธรรมชาติ เป็ นสังคมยุคเริ่ มแรก


สั งคมทาส ตั้งแต่ราชวงศ์ชางถึงราชวงศ์โจว เป็ นสมัยที่มีทาสในสังคมจีน
สั งคมศักดินา ตั้งแต่ราชวงศ์ฉินถึงปลายราชวงศ์ชิง จีนมีการปกครอง
ระบอบจักรพรรดิ มีชนชั้นในสังคมแบบศักดินา
หลังจากนั้นเป็ นสมัยการปฏิวตั ิ
ของชนชั้นกลาง นําโดย ดร.ซุน ยัตเซ็น
ภายหลังเปลี่ยนแปลงเป็ น
ระบอบคอมมิวนิสต์ถึงปั จจุบนั

คาร์ ล มากซ์ ดร.ซุ น ยัตเซ็น


การแบ่ งยุคสมัยของอินเดีย

สมัยก่ อนประวัตศิ าสตร์ อนิ เดีย


ยุคหินเก่ า พบเครื่ องมือหิ น ผูค้ นดํารงชีพด้วย
การเก็บของป่ า ล่าสัตว์
ยุคหินกลาง ใช้เครื่ องมือหิ นที่เล็กลง รู ้จกั
เขียนภาพบนผนังถํ้า
ยุคหินใหม่ เครื่ องมือหิ นถูกขัดจนเป็ นใบมีด
ขนาดเล็ก รู ้จกั ทําเครื่ องปั้ นดินเผาและเพาะปลูก
ยุคโลหะ รู ้จกั ใช้ทองแดงและสําริ ด เป็ นยุค
แห่งความรุ่ งเรื องของอินเดียโบราณ
ประติมากรรมชายมีเครา สั นนิษฐานว่ าเป็ น
ชาวเมืองอารยธรรมลุ่มแม่ นํา้ สิ นธุ
สมัยประวัตศิ าสตร์ อนิ เดีย
สมัยโบราณ เริ่ มเมื่อมีการประดิษฐ์ตวั อักษร ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และ
พระพุทธศาสนาถือกําเนิดขึ้น
สมัยกลาง อินเดียเกิดความแตกแยกภายใน
ถูกมุสลิมรุ กราน
สมัยใหม่ เริ่ มเมื่อราชวงศ์โมกุลขึ้นมามีอาํ นาจ
ถึงการได้รับเอกราชจากอังกฤษ
ประวัติศาสตร์ ร่วมสมัย เมื่ออินเดีย
ได้รับเอกราชถึงปั จจุบนั

อักบาร์ มหาราช จักรพรรดิทยี่ งิ่ ใหญ่ แห่ ง


ราชวงศ์ โมกุล
สถูปสาญจี สร้ างขึน้ ในสมัยพระเจ้ าอโศกมหาราช แห่ งราชวงศ์ เมารยะ
ทัชมาฮัล สถาปัตยกรรมทีพ่ ระเจ้ าชาห์ เจฮัน โปรดให้ สร้ างขึน้ เพื่อระลึกถึงพระนางมุมตัชพระมเหสี
ตัวอย่ างเวลาและยุคสมัย

ตัวอย่ างเวลาและยุคสมัยของโลกตะวันตก
“...หากชายใดสมรสกับนางผูเ้ ป็ นภรรยา และเขาหันไปมีนางบําเรอ
ชายผูน้ ้ นั สามารถนํานางบําเรอมาเลี้ยงดูที่บา้ น แต่หา้ มมีศกั ดิ์เสมอภรรยา
หากภรรยาของชายใดให้หญิงรับใช้ของตนแก่สามี และต่อมานาง
ผูน้ ้ นั ให้กาํ เนิดบุตร และอ้างสิ ทธิ เสมอกับภรรยาที่เป็ นนายหญิง นายหญิง
สามารถลดฐานะของเธอให้เป็ นทาสี ได้...”
ประมวลกฎหมายพระเจ้าฮัมมูราบี

อธิบายเพิม่ เติม ประมวลกฎหมายนี้จดั ทําขึ้นในสมัยโบราณ ทําให้ทราบว่าในอดีตที่ห่างไกลนั้น


ได้มีความพยายามที่จะจัดระเบียบสังคมที่แบ่งเป็ นชนชั้น และมีการคํานึงถึงสิ ทธิ สตรี และบุตรด้วย
ตัวอย่ างเวลาและยุคสมัยของจีน
“วันซินโฉ่ว เดือนเก้า ปี ที่สี่สิบห้า รัชศกเฉี ยนหลง
มีพระราชโองการ...ความว่า...เนื่องด้วยเจิ้งเจา เจ้าเมืองเซียนหลัว
ได้เตรี ยมเครื่ องราชบรรณาการเอกจํานวนหนึ่งพร้อมหนังสื อแจ้ง
โดยขอให้ช่วยกราบบังคมทูลให้ทรงทราบ...”
ประชุมพระราชพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 13

อธิบายเพิม่ เติม วันซิ นโฉ่วตรงกับวันที่ 18 เดือนเก้าตรงกับเดือนตุลาคม ปี ที่สี่สิบห้า


รัชศกเฉี ยนหลง คือปี จักรพรรดิเฉี ยนหลงครองราชย์ปีที่ 45 เจิ้งเจา คือ พระบาทสมเด็จ
พระเจ้าตากสิ นมหาราช เซี ยนหลัว คือ สยาม ตามที่จีนเรี ยก
ตัวอย่ างเวลาและยุคสมัยของอินเดีย
“ข้าฯ ได้เกิดมีความคิดขึ้นว่า ข้าฯ จักจัดให้มีการ
ประกาศธรรมสัง่ สอนประชาชนทั้งหลาย ครั้นได้สดับธรรมนี้
แล้ว ก็จกั พากันประพฤติปฏิบตั ิตาม จักยกระดับตนเองสู งขึ้น
และจักมีความเจริ ญก้าวหน้ามากขึ้น ด้วยความเจริ ญทางธรรม
อย่างมัน่ คง...”
จารึ กอโศก พระธรรมปิ ฎก (ป.อ. ปยุตฺโต แปล)

อธิบายเพิม่ เติม พระเจ้าอโศกมหาราชโปรดให้จารึ กการเผยแผ่พระธรรมในพระพุทธศาสนา

You might also like