You are on page 1of 54

นครสยาม www.nakonsiam.

com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 1

1. ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ไดใหความหมายของ อารยธรรม ไววาอยางไร


ก. ความเจริญในทางวัตถุและทางจิตใจของมนุษย เปนสิ่งที่เกิดขึ้นภายหลังวัฒนธรรมขั้นพื้นฐาน
ข. วัฒนธรรมขั้นสูงชึ่งก็คือวัฒนธรรมนั้นไดมีการ พัฒนาใหเจริญถึงขั้นสูงสุดแลว
ค. วัฒนธรรมดั้งเดิมที่ไดรับการพัฒนาขึ้นมาเรื่อยๆ อยางตอเนื่อง
ง. ลักษณะที่แสดงความเจริญงอกงาม ความเปน ระเบียบ ความกลมเกลียวกาวหนาของชาติ
ตอบ ก. - ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ความเจริญในทางวัตถุและทางจิตใจของมนุษย เปนสิ่งที่เกิดขึ้นภายหลัง
วัฒนธรรมขั้นพื้นฐาน
- เอ็ดเวอรด คัดเบอรนส ( Edward Mc. Cudberms)วัฒนธรรมขั้นสูง เรียกวาเปนอารยธรรมไดก็
ตอเมื่อวัฒนธรรมนั้นไดมีการพัฒนาใหเจริญถึงขั้นสูง คือ สังคมนั้นจะตองมีการใชอักษรบันทึกเรื่องราวตางๆแลว
- อารโนลดเจ ทอยนบี (Arnold J Taynbee) วัฒนธรรมดั้งเดิมที่ไดรับการพัฒนาขึ้นมาเรื่อยๆ สังคม
ดั้งเดิมนั้นมีอายุสั้นกวาวัฒนธรรม
- อริสโตเติล ( Aristotle) นักปราชญชาวกรีก มนุษยจะมีอารยธรรม มีความเจริญสูงสุดจะตองอยูใน
เมือง

2. สมัยกอนประวัติศาสตร หมายถึง ชวงเวลาใด


ก. สมัยที่มนุษยยังไมรูจักทําการบันทึกเรื่องราวตางๆ ไวเปนลายลักษณอักษร
ข. สมัยที่ยังไมมีการจดบันทึกเปน “ภาษาเขียน”ชนิด ที่คนปจจุบันถอดความหมายได
ค. สมัยที่ครอบคลุมระยะเวลาตั้งแตชวงที่เกิดมนุษย จนถึงชวงที่คนเรื่มมีการจดบันทึกเรื่องราวตาง ๆ
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. - อารยธรรมมนุษยแบงออกเปน 2 ยุค
1. สมัยกอนประวัติศาสตร หมายถึง ชวงเวลาที่มนุษยยังไมรูจักการบันทึกเรื่องราวตางๆ จนถึงชวงเริ่มมีการบันทึก
เรื่องราวเปนของตนเอง หรือในระยะเริ่มตนสมัยประวัติศาสตร ซึ่งแบงได 4 ยุค คือ ยุคหินเกา ยุคหินกลาง และยุคโลหะ
2. สมัยประวัติศาสตร หมายถึง สมัยที่มนุษยรูจักคิดคนประดิษฐตัวอักษรเปนลายลักษณอักษร

3. ความออนแอในตัวของมนุษย เปนสาเหตุสําคัญประการหนึ่งที่ใหเกิดสิ่งใดขึ้นในโลกมนุษย
ก. ศาสนาและความเชื่อ ข. การจัดระบบสังคม
ค. ระบบการปกครอง ง. การแสวงหาความรู
ตอบ ก. - มนุษยตองการความมั่นคงทางจิตใจ เพื่อจะไดดําเนินชีวิตอยางมีความสุขและปลอดภัย จึงจําเปนตอง
แสวงหาความผูกพันกับอํานาจเหนือธรรมชาติ เมื่อมนุษยเห็นความมหัศจรรยของธรรมชาติก็พยายามแสวงหาเหตุผล เมื่อ
ไดคําตอบที่ตนพอใจก็มักยึดถือ เชื่อมั่น จนเกิดเปนลัทธิศาสนา มีกฎขอบังคับ และพิธีกรรมตางๆ
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 2

4. ขอใดเปนปจจัยที่กอใหเกิดอารยธรรมและความเจริญของอารยธรรม
ก. การขยายตัวของระบบทุนนิยม ข. ความเจริญทางการเกษตรกรรม
ค. การรับความเจริญจากสังคมภายนอก ง. สภาพแวดลอมทางภูมิศาสตร
ตอบ ง. - ปจจัยสําคัญที่กอใหเกิดอารยธรรม มี 6 ประการ
1. สภาพแวดลอมทางภูมิศาสตร 2. ระบบการเมืองการปกครอง 3. ความเจริญทางเทคโนโลยี 4. การ
เจริญเติบโตของสังคมและการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม 5. การขยายตัวทางเศรษฐกิจ 6. ความเชื่อและศาสนา

5. การที่มนุษยรูจักการประดิษฐงานฝมือตางๆ เชน การทอผา สาเหตุประการหนึ่งสืบเนื่องมาจากมนุษยคนพบสิ่งใด


ก. พัฒนาการทางความคิด ข. ตัวออนของไหมที่ใชในการทอผา
ค. การใชไฟ ง. การติดตอกับสังคมภายนอก
ตอบ ค. - การเจริญเติบโตของสังคมและการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม มนุษยเริ่มมีการรวมกันเปนชุมชน อาจ
เปนเพียงหมูบาน การรวมตัวกันของมนุษยเพื่อสามารถดํารงชีวิตอยูได แลวยังทําใหมนุษยสามารถประดิษฐสิ่งตางๆไดอีก ที่
สําคัญเมื่อมนุษยเริ่มรูจักใชไฟ ทําใหมนุษยเริ่มมีเวลาเพิ่มมากขึ้น จากเดิมมนุษยจะทํางานเฉพาะในเวลากลางวัน พอ
กลางคืนไมสามารถทําได เนื่องจากไมมีแสงสวาง พอมนุษยรูจักใชไฟ จึงทํางานเพิ่มในตอนกลางคืน สวนกลางวันทําไร ทํา
นาเลี้ยงสัตว

6. พัฒนาการของสังคมมนุษยเขาสูสังคมที่มีอารยธรรม นั้นมีพัฒนาการอยูดวยกัน 3 ขั้นตอน คืออะไร


ก. การเปลี่ยนแปลงดานเกษตรกรรม การดํารงชีพ และการจัดลําดับฐานะทางสังคม
ข. การเปสิ่ยนแปลงดานสังคม การดํารงชีวิต และการ เปลี่ยนแปลงดานเกษตรกรรม
ค. การเปลี่ยนแปลงดานเกษตรกรรม การเปลี่ยน- แปลงดานอุตสาหกรรม และการเปลี่ยนแปลงดาน เศรษฐกิจ
ง. การเปลี่ยนแปลงดานการดํารงชีวิต การเปลี่ยน- แปลงดานเกษตรกรรม และการเปลี่ยนแปลงทาง สังคม
ตอบ ก. - สังคมที่มีความเจริญเขาสูขั้นที่เรียกวา “อารยธรรม” มีขั้นตอนของพัฒนาการสูสังคม 3 ขั้นตอน
1. การเปลี่ยนแปลงทางดานเกษตรกรรม สมัยหินใหมตอนปลาย มนุษยเริ่มรูจักการเพาะปลูก
2. การดํารงชีพ มนุษยเริ่มมีการรวมตัวกันเปนเผาเล็กๆ จากเดิมบริโภคอาหารดิบ พอรูจักใชไฟ จึงเริ่มทําใหสุก
3. การจัดลําดับฐานะทางสังคม สังคมอารยะตองแบงงานกันทํา จึงทําใหเกิดการจําแนกประชากรจนกลายเปน
โครงสรางชนชั้นตามสถานภาพทางสังคม (status society) แบงเปนชนชั้นปกครองและชนชั้นใตปกครอง

7. ยุคโลหะของโลกตะวันออกที่สําคัญไดแกวัฒนธรรมใด
ก. วัฒนธรรมฮัวบีนห ข. วัฒนธรรมดองซอน
ค. วัฒนธรรมบัคชอน ง. วัฒนธรรมหยังเซา
ตอบ ข. - ยุคโลหะของโลกตะวันออก ไดเปลี่ยนวัสดุเครื่องใชจากหินมาเปนโลหะ ระยะแรกเริ่มใชทองแดง สําริด
และเหล็ก โดยนําเอาทองแดงมาทําเปนเครื่องมือตีเปนแผน เรียกวา การตีเย็น (Cold hammering)
ยุคโลหะฃองโลกตะวันออกที่สําคัญ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใตแบงวัฒนธรรม เปน 2 ยุค คือ
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 3

1. วัฒนธรรมดองซอน (Dong Son Culture) เปนเมืองตั้งอยูบนฝงขวาของแมน้ําซอง จังหวัดถั่นหัว ประเทศ


สังคมนิยมเวียดนามตอนเหนือ
2. วัฒนธรรมหินใหญ ( Megalith Culture)แบงเปน 2 รุน คือ หินใหญรุนเกาตรงกับยุคหินใหม และหินใหญ
รุนใหมตรงกับยุคโลหะ

8. วัฒนธรรมหินใหญ เปนวัฒนธรรมที่มีลักษณะเดน อยางไร


ก. วัฒนธรรมที่เครื่องมือเครื่องใชทํามาจากหินซึ่งมี ความคมและขนาดเล็กกวัาสมัยหินเกา
ข. วัฒนธรรมที่นําหินมากอสราง โตะ โลง และหลุม ศพ
ค. วัฒนธรรมที่เรื่มมืการกอตั้งเปนเมืองตั้งอยูบนฝง ขวาของแมนํ้าซอง ประเทศเวียดนาม
ง. วัฒนธรรมที่มืลักษณะเดนจากการคนพบกลอง มโหระทึกที่ทําจากหินขนาดใหญ
ตอบ ข. - วัฒนธรรมหินใหญ (Megalith Culture)แบงเปน 2 รุน คือ หินใหญรุนเกาตรงกับยุคหินใหม และ
หินใหญรุนใหมตรงกับยุคโลหะ ซึ่ง นําหินมากอสราง โตะ โลง และหลุม ศพ

9. “อนุสาวรียสโตนเฮนจ”ในประเทศอังกฤษนักโบราณ คดีสันนิษฐานวาสรางขึ้นเพื่อใชประโยชนในดานใด
ก. เปนเครื่องบูชาขอพรของมนุษยในสมัยกอนประวัติศาสตร
ข. กําหนดขึ้นเพื่อบอกตําแหนงจุดศนยกลางของโลก
ค. คํานวณเวลาทางดาราศาสตรเพีอพิธีกรรม บวงสรวงดวงอาทิตย
ง. เปนอนุสาวรียที่บงบอกถึงความเจริญของมนุษย ในยุคกอนประวัติศาสตร
ตอบ ค. - ยุดหินใหมของโลกตะวันตก คนพบอนุสาวรียสโตนเฮนจ (Stonehenge)ในประเทศอังกฤษ
สันนิษฐานวาสรางเพื่อใชคํานวณเวลาทางดาราศาสตร หรือเพื่อพิธีกรรมการบวงสรวงดวงอาทิตยและเพื่อการเพาะปลูก

10. ชนชาติที่สามารถนําเหล็กมาใชงานไดชนชาติแรก คือ ชนชาติใด


ก. ซาวฮิตไทต ข. ชาวไอซแลนด
ค. ชาวกรีมัลดี ง. ชาวซานเชอเลต
ตอบ ก. - ชาวฮิตไทตในแหลงอารยธรรมเมโสโปเตเมียนําเหล็กมาใชเปนแหงแรกของอารยธรรม

11. การคนพบเมืองฮารั ปปา และเมืองโมเห็นจาดาโร แสดงใหเห็นถึงความเจริญของอารยธรรมสินธุในดานใด


ก. การกอสรางและการวางผังเมืองอยางเปนระบบ ข. การสรางเมืองขนาดใหญ
ค. การสรางระบบชลประทาน ง. การสรางกําแพงเมืองที่แข็งแรง
ตอบ ก. - ประมาณตนคริสตศตวรรษที่20 มีการสํารวจขุดคนตามโบราณสถานของอินเดียหลายแหง โดยมี เซอร
จอหน มารแชล (Sir John Marshall)นักโบราณคดีชาวอังกฤษ ไดขุดพบเมืองโบราณฮารัปปา (Harrappa) ใน
แควนปญจาบทางตะวันตก และเมืองโมเห็นจาดาโร (Mohenjo Daro)ในแควนซินด (Sind)ปจจุบันอยูในประเทศ
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 4

ปากีสถาน อารยธรรมสินธุเกิดขึ้นเมื่อพวกดราวิเดียนเขามาตั้งถิ่นฐานมั่นคง มีการกอสรางและการวางผังเมืองอยางเปน


ระบบ แสดงใหเห็นถึงภูมิปญญาความสามารถของพวกดราวิเดียนเปนอยางดี

12. หลักฐานทางประวัติศาสตรที่สําคัญทําใหทราบเรื่องราวตางๆ และการตั้งถิ่นฐานในลุมแมนํ้าสินธุของพวกอารยันใน


ระยะแรกๆ คือหลักฐานใด
ก. สามเวท ข. พระเวท
ค. ฤคเวท ง. ยชุรเวท
ตอบ ข. - พวกอารยัน หรือเรียกวา “อริยกะ” สืบเชื้อสายมาจากพวกอินโดยูโรเปยน ชาวอารยันมีรูปรางสูงใหญ
ผิวขาว จมูกโดง ศรีษะคอนขางยาว ไมรูจักตั้งถิ่นฐานเปนหลักแหลง ดํารงชีวิตแบบเรรอน แตรูจักเลี้ยงสัตวและเพาะปลูก
โดยสังคมอารยันถือวา “แมวัว” เปนสมบัติหรือทรัพยสินที่มีคามากที่สุด และเปนตนเคาของผูนับถือศาสนาฮินดู ที่นับถือวัว
เปนสัตวศักดิ์สิทธิ์
- เมื่ออารยันเขารุกรานยึดครองดินแดนทางตอนเหนือของอินเดีย มีการพัฒนาความเจริญขึ้น โดยแบงเปน 2 ยุค คือ
1. ยุคพระเวท มีคัมภีรทางศาสนาเรียกวา “คัมภีรพระเวท” ประกอบดวย 3 เลม คือ ฤคเวท ยชุรเวท และสามเวท
รวมเรียกวา ไตรเวท
2. ยุคมหากาพย พบไดจากหลักฐาน 2 เลม คือ มหาภารตยุทธ และรามเกียรติ์ เปนสมัยที่อินเดียมีความเจริญ
ทางการเมือง จึงไดเริ่มกําหนดขอหามตางๆ และมีระบบวรรณะ 4 วรรณะ คือ
2.1 วรรณะพราหมณ ทําหนาที่ประกอบพิธีทางศาสนา ถือวาเปนผูใหปญญาแกสังคม มาจากสวน “หัว” ของพระ
เจา ไดแก นักบวช
2.2 วรรณะกษัตริย ทําหนาที่ปกครองและปองกันเมือง มาจากสวน “อก” ของพระเจา
2.3 วรรณะแพศนย (ไวศยะ) ทําหนาที่ผูผลิตอาหารและหารายไดใหแกรัฐ เปนชนชั้นกสิกรรม มาจากสวน “ขา” ของ
พระเจา ไดแก สามัญชน ชาวนา นายชาง พอคา
2.4 วรรณะศูทร มีหนาที่รับใชสามวรรณะแรก เปนแรงงานสังคม มาจากสวน “เทา” ของพระเจา ไดแก กรรมกร
คนงาน ทาส

13. ระบบวรรณะเกิดขึ้นในระยะแรกเปนการแบงแยก ระหวางกลุมชนใด


ก. ชาวอินเดียกับชาวตางชาติ ข. ชาวพื้นเมืองกับชาวเปอรเซีย
ค. ชาวอารยันกับชาวดราวิเตียน ง. ชาวดราวิเตียนกับชาวพื้นเมืองเดิม
ตอบ ค. - ดานสังคม ระบบวรรณะเกิดขึ้นในสมัยพระเวท แบงระหวางพวกอารยันกันพวกดราวีเดียน
แบงได 4 วรรณะ คือ
2.1 วรรณะพราหมณ ทําหนาที่ประกอบพิธีทางศาสนา ถือวาเปนผูใหปญญาแกสังคม มาจากสวน “หัว” ของพระ
เจา ไดแก นักบวช
2.2 วรรณะกษัตริย ทําหนาที่ปกครองและปองกันเมือง มาจากสวน “อก” ของพระเจา
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 5

2.3 วรรณะแพศนย (ไวศยะ) ทําหนาที่ผูผลิตอาหารและหารายไดใหแกรัฐ เปนชนชั้นกสิกรรม มาจากสวน “ขา” ของ


พระเจา ไดแก สามัญชน ชาวนา นายชาง พอคา
2.4 วรรณะศูทร มีหนาที่รับใชสามวรรณะแรก เปนแรงงานสังคม มาจากสวน “เทา” ของพระเจา ไดแก กรรมกร
คนงาน ทาส

14. “เสาพระเจาอโศก” ที่สรางขึ้นในสมัยพระเจาอโศกมหาราช มีความสําคัญอยางไร


ก. ตนแบบที่สําคัญของศิลปะแบบคันธาราฐชึ่งมี อิทธิพลตอศิลปะอินเดียในสมัยหลัง
ข. จารึกพระธรรมคําสั่งสอน ปกไวตามชายแดนทั่วราชอาณาจักร
ค. ประติมากรรมที่บงบอกถึงความยิ่งใหญของ ราชวงศในสมัยพระเจาอโศกมหาราช
ง. สั่งที่ใชกั้นเขตแดนระหวางแควนตางๆ ทั่วราช อาณาจักร
ตอบ ข. - สมัยรราชวงศโมริยะ โดยพระเจาจันทรคุปต ตั้งเมืองหลวงที่เมืองปาฏลีบุตร ขึ้นปกครองอินเดีย มีการ
ใชหลักปกครองอยางเด็ดขาดและรุนแรง ตอมาพระเจาพินทุสาร โอรสของพระเจาจันทรคุปต ไดครองอํานาจสืบมา และมี
พระราชโอรสพระมหากษัตริยของราชวงศโมริยะที่ยิ่งใหญในประวัติศาสตรโลก คือ พระเจาอโศกมหาราช ในสมัยพระเจา
อโศกมหาราชไดทรงกอสรางศาสนสถานทางพุทธศาสนาดวย ดิน อิฐ ไม และนิยมใชหินในการกอสราง การกอสรางไดรับ
อิทธิพลจากเปอรเซียและกรีก และสิ่งกอสรางขึ้นชื่อ คือ เสาหิน ที่ไดจารึกพระธรรมคําสั่งสอน นําไปปกตั้งแตเขต
อัฟกานิสถานถึงแควนไมซอรทางใต เสาหินนี้เรียกวา เสาพระเจาอโศกมหาราช

15. นักวิชาการหลายทานยกใหราชวงศซางเปนราชวงคแรก ในสมัยประวัติศาสตรของจีน เนื่องจากเหตุผลขอใด


ก. มีการรวมตัวกันเปนราชวงศครั้งแรก ข. เริ่มมีการจัดรูปแบบการปกครองที่ชัดเจน
ค. รูจักประดิษฐตัวอักษรขึ้นใชเปนอักษรภาพ ง. มีการตั้งชุมชนขึ้นมาในลักษณะนครรัฐเปนครั้งแรก
ตอบ ค. - ราชวงศเซียงหรือซางเปนราชวงศแรกที่ รูจักประดิษฐตัวอักษรขึ้นใชเปนอักษรภาพเปนลายลักษณอักษร
โดยจารึกบนกระดองเตาและกระดูกวัว เรื่องราวของราชวงศ คําพยากรณตางๆ และเปนราชวงศที่มีการตั้งชุมชนขึ้นมาใน
ลักษณะนครรัฐ

16. “ยุคทองของปรัชญาจีน” เกิดขึ้นในสมัยราชวงศใด


ก. ราชวงศโจว ข. ราชวงศฉิน
ค. ราชวงศซาง ง. ราชวงศเชี่ย
ตอบ ก. - สมัยราชวงศโจว ปกครองแบบกษัตริยหรือจักรพรรดิ เรียกตัวเองวา เปนโอรสของสวรรคโดยไดรับมอบ
อาณัติจากสวรรค ถือวาเปนยุคทองของปรัชญาจีน มีนักปราชญคนสําคัญ คือ ขงจื้อ เมงจื๊อ และเลาจื๊อ

17. ตระกูลยามะโตะฃองญี่ปุนไดอางวาตนสืบเชื้อสายมา จากสั่งใด


ก. เทพีพระจันทร ข. เทพีพระอาทิตย
ค. โอรสสวรรค ง. เทพบนทางขางเผือก
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 6

ตอบ ข. - ญี่ปุนสมัยเริ่มแรก คือ สมัยโคะฟุง ตั้งชื่อตามสุสานฝงศพของชนชั้นสูง ชวงศตวรรษที่4 มีการรวบรวม


ชนเผาอิสระกลุมตางๆ โดยชนเผา ยามะโตะ เปนตระกูลที่อางตนสืบเชื้อสายมาจากเทพีพระอาทิตย

18. วรรณคดีของอินเดียเรื่องใด ที่กลาวถึงเรื่องราวของการอพยพชาวอินเดียเขามาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต


ก. ชาดกของพุทธศาสนา ข. คัมภีรอรรถศาสตร
ค. จารึกของพระเจาอโศกมหาราช ง. รามเกียรติ์
ตอบ ข. - วรรณคดีเรื่องรามายณะ กลาวถึง “ยวทวีป” หมายถึง เกาะเงินเกาะทอง สันนิษฐานวาเปนเกาะชวาและ
สุมาตรา และในคัมภีรอรรถศาสตร ไดกลาวถึงเรื่องราวการอพยพชาวอินเดียไปยังดินแดนแหงใหม สัณนิษฐานวา คือ เอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต

19. จารึกพอชุนรามคําแหง มีคําวา “ตลาดปสาน” สันนิษฐานวา อารยธรรมใดเผยแพรเขามาในสุโขทัย


ก. อารยธรรมจีน ข. อารยธรรมอินเดียสมัยคุปตะ
ค. อารยธรรมอิหราน ง. อารยธรรมเขมร
ตอบ ค. - ตลาดปสาน สันนิษฐานมาจากคําในภาษาอิหรานวา “บาซาร” วัฒนธรรมอิหรานที่เขามาเผยแพร มี
ดังนี้ 1. สถาปตยกรรมและศิลปกรรม 2. การแตงกาย

20. อาณาจักรที่เปนเสนทางผานของเรือที่จะเดินทาง ไปคาขายระหวางจีนและอินเดียในสมัยโบราณคือ อาณาจักรใด


ก. อาณาจักรศรีวิชัย ข. อาณาจักรจามปา
ค. อาณาจักรกัมพูชา ง. อาณาจักรตามพรลิงค
ตอบ ง. - นครโฮลิง(ตามพรลิงค) ตอมาไดมีการเรียกชื่ออาณาจักรตามพรลิงคใหมวา “อาณาจักรศิริธรรม “
เมื่ออยูในอํานาจอาณาจักรสุโขทัยไดเปลี่ยนมาเปน เมืองศรีธรรมราช เปนอาณาจักรที่เปนเสนทางผานของเรือ ที่จะเดินทาง
ไปคาขายระหวางจีนและอินเดียในสมัยโบราณ

21. ชนชาติใดเปนชนชาติแรกที่สรางความเจริญขึ้นในดินแดนเมโสโปเตเมีย
ก. ชาวเปอรเซีย ข. ชาวคาสเตียน
ค. ชาวฮิตไตท ง. ชาวสุเมเรียน
ตอบ ง. - ชาวสุเมเรียนเปนชนชาติแรกที่สรางความเจริญในดินแดนเมโสโปเตเมีย เชื่อกันวาชาวสุเมเรียนอพยพมา
จากที่สูงอิหราน มาตั้งถิ่นฐานบริเวณซูเมอร ซึ่งกลายเปนแหลงกําเนิดของนครรัฐแหงแรกของโลก

22. คําวา “เมโสโปเตเมีย” (Mesopotamia) เปนภาษากรีกซึ่งมีความหมายถึงดินแดนที่อยูระหวางแมนํ้าใด


ก. ไนลและดูกาล ข. สินธุและคงคา
ค. ไทกรีสและยูเฟรติส ง. เซนและไรน
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 7

ตอบ ค. – ชาวสุเมเรียนสรางความเจริญขึ้นในบริเวณเมโสโปเตเมีย และตั้งถิ่นฐานบริเวณตอนลางสุดของลุม


แมน้ําไทกริสและยูเฟรติสตรงสวนที่ติดกับอาวเปอรเซีย เรียกบริเวณนี้วา ซูเมอร (Sumer) ถือวาเปนแหลงกําเนิดของนคร
รัฐแหงแรกของโลก ปจจุบันอยูในประเทศอิรัก

23. “อักษรคูนิฟอรม” เปนผลงานการเขียนตัวหนังสือของชนชาติใดในดินแดนเมโสโปเตเมีย


ก. อียิปต ข. เปอรเซีย
ค. สุเมเรียน ง. อมอไรต
ตอบ ค. – ชาวสุเมเรียนเปนชนชาติแรกในดินแดนเมโสโปเตเมียที่รูจักเขียนตัวหนังสือ โดยใชไมเสี้ยนปลายให
แหลม หรือใชกระดูกทําปลายใหแหลมมีลักษณะคลายรูปลิ่ม กดลงบนแผนดินเหนียวที่ยังออนใหเกิดรอย แลวนําไปตาก
แดดใหแหงหรือเผาไฟ ตัวอักษรนี้เรียกวา “อักษรคูนิฟอรม” (Cuneiform)หรืออักษรรูปลิ่ม

24. “มหากาพยกิลกาเมซ” เปนวรรณกรรมที่สําคัญเรื่อง แรกของโลกเปนผลงานของชนชาติใด


ก. อียิปต ข. เปอรเซีย
ค. สุเมเรียน ง. อมอไรต
ตอบ ค. - มหากาพยกิลกาเมซ ของชาวสุเมเรียนเปนวรรณกรรมเรื่องแรกของโลก เขียนบนแผนดินเผาขนาดใหญ
12 แผน รวม 3,000บรรทัด

25. ชาวอมอไรตไดใหมรดกอารยธรรมทางดานใดแกโลก
ก. การประดิษฐอักษรคูนิฟอรม ข. การชลประทาน
ค. การรูจักใชเหล็ก ง. กฎหมาย
ตอบ ง. – ชาวอมอไรต เปนชนเผาเซมิติคอีกพวกที่อพยพมาจากทะเลทรายอาราเบีย เขายึดครองชาวสุเมเรียน โดยการนํา
ของ ฮัมมูราบี (Hammurabi) ตอมาไดสถาปนาเปนจักรวรรดิบาบิโรเนีย มีนครบาบิโลนเปนศูนยกลาง เครื่องมือที่ชวย
สรางความเปนระเบียบและความยุติธรรมทั่วทั้งจักรวรรดิ คือ กฎหมายที่เขียนเปนลายลักษณอักษร ประมวลจากจารีต
ประเพณีของพวกสุเมเรียนตลอดธรรมเนียมของชนเผาเซมิติค เรียกวา ประมวลกฎหมายฮัมมูราบี เปนขอบัญญัติจารึกบน
แทงหินสีดํา 8 ฟุต จารึกดวยอักษรคิวนิฟอรม ใชหลักความคิดแบบแกแคนและตอบโตตรงไปตรงมา เรียกวา “ตาตอตาฟน
ตอฟน”

26. ชาวอัคคาเดียนไดใหมรดกอารยธรรมทางดานใดแกโลก
ก. การประดิษฐอักษรคูนิฟอรม ข. การชลประทาน
ค. การรูจักใชเหล็ก ง. การกอตั้งเปนจักรวรรดิแหงแรก
ตอบ ง. – ชาวอัคคาเดียน เปนพวกเรรอนเผาเซเมติคพวกแรกที่เขามาในเขตเมโสโปเตเมีย ภายใตการนําของพระ
เจาซารกอนที่1 โดยยกทัพยึดครองนครรัฐทั้งหลายของชาวสุเมเรียน และไดสถาปนาเปนจักรวรรดิแหงแรกของโลก หลังจาก
พระเจาซารกอนที่1 ชาวสุเมเรียนก็ยึดดินแดนคืนมาได
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 8

27. การปกครองของอียิปตในยุคโบราณสมัยใดที่มีชื่อเรียกอีกอยางหนึ่งวา “ยุคพีระมิด” (Pyramid Age)


ก. สมัยอาณาจักรเกา ข. สมัยอาณาจักรใหม
ค. สมัยจักรวรรดิ ง. สมัยอาณาจักรกลาง
ตอบ ก. – การปกครองของอียิปตในยุคโบราณแบงเปน 3 สมัย คือ
1. สมัยอาณาจักรเกา ปกครองแบบเทวาธิปไตย ฟาโรหมีฐานะเปนโอรสของเทพเจาดวงอาทิตย คือ สุริยเทพ นิยม
สรางสถานที่เก็บพระศพที่เรียกวา พีระมิด
2. สมัยอาณาจักรกลาง มีศูนยกลางอยูที่เมมฟส มีการแกงแยงกันเปนใหญของบรรดาขุนนาง
3. สมัยอาณาจักรใหมหรือสมัยจักรวรรดิ ไดเริ่มจากพวกขุนนางรวมกันตอตานการปกครองของพวกฮิดโซส

28. อักษรรูปภาพที่ชาวอียิปตในสมัยโบราณใช เรียกวาอะไร


ก. อักษรคูนิฟอรม ข. อักษรรูปลิ่ม
ค. อักษรดาตาฟค ง. อักษรเฮียโรกลิฟฟค
ตอบ ง. – ชาวอียิปตทุกคนยอมหวังที่จะมีชีวิตหลังความตายที่เปนสุข มุงกระทําความดีและหลีกเลี่ยงความชั่ว จึง
ไดคิดหลักประกันที่แนนอนโดยการเขียน คัมภีรมรณะ (Book of the dead)เขียนขึ้นเพื่อยืนยันคุณความดีของผูตาย
อันเปนคําสรรเสริญพระเจา คําปฏิเสธบาป คํายืนยันการเปนผูใจบุญมีศีลธรรม ขอความเหลานี้จะถูกเขียนตามผนังพีระมิด
ตามหลุมฝงศพ และเขียนลงในมวนกระดาษปาปรุส ที่ทําจากตนปาปรุส วางไวขางผูตาย สวนปากกาทําจากกานออเสี้ยน
ปลาย น้ําหมึกทําจากเขมาผสมน้ําและยางไม
คัมภีรมรณะ เปนอักษรเกาแกที่สุดของอียิปต เรียกวา ตัวอักษรรูปภาพ หรือ อักษรเฮียโกลิฟฟก

29. สถาบันการปกครองของนครรัฐเอเธนสในขอใดที่เปนสถาบันการเมืองซึ่งมีอํานาจสูงสุดในนครรัฐ
ก. สภาหารอยคน ข. สภาประชาชน
ค. ศาลประชาชน ง. คณะนายพลทั้งสิบ
ตอบ ข. – นครรัฐเอเธนสปกครองดวยระบอบประชาธิปไตย มีสถาบันการปกครอง 4 สถาบัน คือ
1. สภาสามัญหรือสภาประชาชน มีอํานาจสูงสุดในการปกครองนครรัฐ สมาชิก คือ ราษฎรชายชาวเอเธนสที่มีอายุ
ครบ 20 ป โดยการลงคะแนนเสียง
2. สภาหารอยคน ทําหนาที่บริหารงานของนครรัฐ
3. ศาลประชาชน เปนอํานาจตุลาการ
4. คณะนายพลทั้งสิบ รับผิดชอบบริหารบานเมือง คลายนายกรัฐมนตรี หรือประธานาธิปดี

30. นักปรัชญาเมธีของกรีกในสมัยโบราณขอใดที่เขียนหนังสือชื่อ “The Politic”


ก. อริสโตเติล ข. เฮโรโดตัส
ค. เพลโต ง. โซคราติส
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 9

ตอบ ก. – นักปราชญเมธีของกรีกในสมัยโบราณ คือ


1. ทาลิส (Thales)ไดรับยกยองเปน “บิดาแหงวิชาปรัชญา” สามารถคํานวนการเกิดสุริยปราคาไดถูกตอง และ
วิชาเรขาคณิต
2. อแนกซีแมนเดอร (Anaxmander) ดานภูมิศาสตร เปนผูทําแผนที่โลกฉบับที่เกาแกที่สุด
3. โซคราติส (Socrates)ดานจริยธรรมนักพูด
4. เพลโต (Plato)เปนศิษยของโซคราติส ไดรับการยกยองเปน “บิดาแหงปรัชญาสมัยใหม” เขาไมเห็นดวยกับ
ระบบประชาธิปไตยของกรีก เพราะไมไดใหความเปนธรรมอยางแทจริงแกโซคราติส ไดเขียนผลงานเรื่องการปกครองชื่อ อุ
ตมรัฐ หรือหนังสือรีพับบลิก (The Republic)
5. อริสโตเติล (Aristotle) ชาวมาซิโดเนีย เปนศิษยของเพลโต ไดรับการยกยองเปน “บิดาแหงศาสตรสมัยใหม”
ไดเขียนหนังสือเกี่ยวกับกฎหมายและรัฐธรรมนูญในหนังสือเดอะพอลลิทิค (The Politic)

31. พลเมืองของโรมันพวกใดที่จัดเปนชนชั้นสูงในโครงสรางทางสังคมของโรมันสมัยโบราณ
ก. คลีเอนด ข. เพลเบียน
ค. เชิรฟ ง. แพทรีเซียน
ตอบ ง. – โครงสรางทางสังคมสมัยโบราณของโรมัน คือ
1. พวกแพทริเซียน (Patrician) เปนพวกชนชั้นสูง เปนสมาชิกสภาเซเนต ใหคําปรึกษาแนะนํากษัตริย
2. พวกเพลเบียน (Plebeian)ประชาชนชาวโรมัน ไดแก พอคา ชวงฝมือ รับจางแรงงาน ฐานะต่ํากวาแพทริเซียน
3. พวกที่มีฐานะต่ําที่สุด คือ พวกคลีเอนต (Clients) ทํานาในที่ดินของพวกแพทริเซียน โดยไดรับสวนแบง และอยู
ในความคุมครองดูแลของพวกแพทริเซียน

32. การปกครองของโรมันในสมัยใดที่การปกครองในชวงแรก มีลักษณะเปนแบบอภิชนาธิปไตย


ก. สมัยกษัตริย ข. สมัยสาธารณรัฐ
ค. สมัยจักรวรรดิ ง. สมัยประชาธิปไตย
ตอบ ข. – โรมไดวางระเบียบการปกครองอยางเปนระเบียบ การปกครองในสมัยโรมัน แบงไดเปน 3 สมัย คือ
1. สมัยกษัตริย 600 ปกอนคริสตกาล ปกครองแบบกษัตริยสมัยโบราณ เปนตําแหนงที่เลือกจากราษฎร และอํานาจ
ถูกจํากัดโดยขนบธรรมเนียมของเผา มีการปกครองแบบองคกร คือ อํานาจกษัตริย สภาประชาชน และสภาเซเนท
2. สมัยสาธารณรัฐ 600-27ปกอนคริสตกาล มีกงสุล 2 คน เปนประมุขแทนกษัตริย เปนการปกครองแบบอภิชนาธิป
ไตย คือ สภาเซเนทเขามาผูกขาดอํานาจตางๆ
3. สมัยจักรวรรดิ ตั้ง 27ปกอนคริสตกาล เปนสมัยที่โรมันขยายดินแดนกวางใหญรอบๆทะเลเมดิเตอรเรเนียน เปน
การปกครองในระบอบจักรวรรดิ มีจักรพรรดิเปนบุคคลเดียวที่ทรงมีอํานาจสูงสุด
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 10

33. หลักการของศาสนาอิสลามประกอบดวยอะไรบาง
ก. หลักปฏิบัติ 6 ประการ หลักศรัทธา 3 ประการ ข. หลักปฏิบัติ 5 ประการ หลักศรัทธา 6 ประการ
ค. หลักปฏิบัติ 32 ประการ หลักศรัทธา 32 ประการ ง. หลักปฏิบัติ 7 ประการ หลักศรัทธา 7 ประการ
ตอบ ข. – ศาสนาอิสลามกําเนิดที่คาบสมุทรอาหรับเมื่อคริสตศตวรรษที่6 คําสอนของศาสนามีหลักศรัทธา 6
ประการ และหลักปฏิบัติ 5 ประการ ภายหลังจากสิ้นศาสดา เกิดความแตกแยกทางการเมือง การตีความคัมภีรและความคิด
ของนักปราชญในยุคตางๆ จึงเกิดนิกายตางๆ

34. เมืองหลวงของราชวงศอับบาสิยะฮ อยูที่ใด


ก. แบกแดด ข. ดามัสกัส
ค. อิสตันบูล ง. มาดินะฮ
ตอบ ก. – หลังจากโคนลมราชวงศอุมัยยะฮไดแลว อับบาซี ประกาศตนเปนคอลีฟะในมัสยิดที่เมืองคูฟา และได
ตั้งเมืองหลวงแหงใหม คือ เมืองแบกแดด ซึ่งอยูระหวางคลองสงน้ําของแมน้ําไทกริสและแมน้ํายูเฟรติส

35. “บัยตุลฮิกมัต” คืออะไร


ก. โรงเรียนสอนศาสนา ข. วิทยาลัยทหาร
ค. สํานักปรัชญา ง. ศูนยกลางการแปลตําราตางชาติ
ตอบ ง. – สมัยคอลีฟะมะมุน เปนสมัยที่รุงเรืองที่สุดในดานสติปญญา นับเปนยุคทองทางดานอารยธรรม คอ
ลีฟะมันซูร เปนคนแรกที่ใหหนังสือตางชาติเปนภาษาอาหรับ มีการตั้งโรงเรียนระดับสูงเปนศูนยกลางการแปลตําราตางชาติ
มาเปนภาษาอาหรับที่กรุงแบกแดด คือ บัยตุลฮิกมัต หรือ ดารุล ฮุกมา

36. ราชวงศอุมัยยะฮ ตั้งเมืองหลวงที่ใด


ก. มาดินะฮ ข. แบกแดด
ค. ดามัสกัส ง. อเล็กชานเดรีย
ตอบ ค. – ภายหลังสิ้นศาสดาไปแลว อารยธรรมอิสลามไดขยายออกไปกวางและเกิดราชวงศปกครอง คือ
ราชวงศอุมัยยะฮ สมัยคอลีฟะอุมัร แตงตั้งใหมุอาวียะฮ เปนผูปกครองแควนดามัสกัสในซีเรีย

37. ยุคสมัยใดที่ไดชื่อวาเปนยุคทองของอารยธรรมอินเดีย
ก. ราชวงศหรรษา ข. ราชวงศโมกุล
ค. ราชวงศคุปตะ ง. ราชวงศลังกะ
ตอบ ค. – อารยธรรมยุคทองของอินเดียสมัยกลาง คือ ราชวงศคุปตะ เปนราชวงศของชาวอินเดียที่พยายาม
ขึ้นมามีอํานาจแทนราชวงศกุษาณะ
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 11

38. ราชวงศคุปตะ มีเมืองหลวงอยูที่เมืองใด


ก. ปาฏลีบุตร ข. พาราณาสื
ค อุชเชนี ง. ปรายาด
ตอบ ก. - ราชวงศคุปตะมีเมืองหลวงอยูที่ปาฎลีบุตร ไดนํารูปแบบการปกครองสมัยราชวงศโมริยะมาใชปกครอง
อาณาจักร คือ การสงขาหลวงออกไปปกครองตามแควนตางๆ อํานาจกษัตริยสูงขึ้นเปนสมมุติเทพ เห็นไดจากจารึกที่
เมืองอัลลาหาบัด ที่ระบุวา พระเจาสมุทรคุปตมีลักษณะเทียบเทากับเทากุเวร ทาววรุณ พระอินทร และพระยม

39. ราชวงศหรรษา มีลักษณะที่สําคัญอยางไร


ก. นับถือศาสนาฮินดูเพียงศาสนาเดียว ข. ใหความสําคัญเฉพาะศาสนาพุทธนิกายหินยาน
ค นับถือพุทธศาสนานิกายมหายานและฮินดู ง. ใหความสําคัญกับศาสนาพุทธทั้ง 2 นิกายใหญๆ
ตอบ ค. – เมื่อสิ้นราชวงศคุปตะ พระเจาหรรษาวัฒนา ไดรวบรวมแควนตางๆ ใหคลายกับสมัยคุปตะ ทรงอุปถัมภ
พระพุทธศาสนานิกายมหายานควบคูกับศาสนาฮินดู และทรงตั้งเมืองหลวงอยูที่เมืองคะโนจ หลักฐานของหลวงจีนซวน จั๋ง
ไดเดินทางมาสืบพุทธศาสนาที่อินเดียและไดบันทึกหลักฐานทางประวัติศาสตรที่สําคัญไว พบวาสมัยพระเจาหรรษาวัฒนา
ทรงสนพระทัยดานศิลปะวรรณคดีและทรงเปนกวีที่สําคัญ การปกครองคลายคลึงกับสมัยราชวงศโมริยะ

40. ระ บบซุนเทียน เกิดขึ้นดวยวัตถุประสงคใด


ก. คณะยอยสําหรับการบริหารทองถิ่น ข. เปนคณะที่ปรึกษางานบานเมืองของจักรพรรดิ
ค. ปองกันไมใหที่ดินสวนใหญตกอยูในมือของขุนนาง ง. ชวยในการเก็บภาษีที่ดินจากชาวนารายยอย
ตอบ ค. – การปกครองในสมัยราชวงศถัง มีการจัดการที่ดิน 2 ระบบ คือ
1. ระบบซุนเทียน หรือระบบนาเฉลี่ย โดยชาวนาจะไดรับมอบที่ดินสวนหนึ่งเพื่อประกอบอาชีพ เปนการชวยเหลือ
ชาวนาใหหลุดพนจากการเปนทาสติดดิน ระบบนี้เกิดขึ้นเพื่อปองกันมิใหที่ดินสวนใหญตกอยูในมือขุนนาง
2. ระบบชานซาง หรือระบบสามหัวหนา เพื่อใหระบบซุนเทียนไดผลตามความมุงหมาย เรียกกันทั่วไปวา ระบบเปา
เฉีย เปนระบบแบงคนออกเปนหมู ใหรับผิดชอบในหมูของตน

41. ราชวงศถังเริ่มเสือมอํานาจลงดวยเหตุผลใด
ก. ความขัดแยงภายในอาณาจักร ข. ถูกแมนจูเรียโจมตี
ค. เกิดกบฏซาวนา ง. ถูกกองทัพอนารยซนบุก
ตอบ ก. – ราชวงศถังเริ่มเสื่อมอํานาจลงเนื่องจากความขัดแยงภายในแควน ในค.ศ.907จักรพรรดิองคสุดทายของ
ราชวงศถังทรงสละราชสมบัติ ทําใหราชวงศถังสิ้นสุดลง

42. อารยธรรมใดที่เกิดขึ้นในสมัยราชวงศชง
ก. ลัทธิขงจื๊อ ข. เครื่องลายคราม
ค. เงินที่ทําจากกระดาษ ง. การสอบแบบจอหงวน
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 12

ตอบ ค. – ราชวงศซองหรือราชวงศซง เริ่มขึ้นในค.ศ.960 โดยชาวจีนชื่อ เจากวงยิง สืบเชื้อสายมาจากขาราชการ


สมัยราชวงศถัง ไดรวบรวมจีนที่แตกแยกไดสําเร็จ และสถาปนาตนเปนจักรพรรดิพระนามวา “จักรพรรดิไถจือ”
ความกาวหนาทางวิทยาการยังไดประดิษฐแทนพิมพตัวหนังสือ เปนรัฐบาลแรกในโลกที่ใชเงินที่ทําจากกระดาษ

43. หลักปฏิบัติขอใดของศาสนาอิสลามที่ ไมไดบังคับ ใหคาสนิกชนทุกคนตองปฏิบัติ


ก. การกลาวปฏิญาณตน ข. การละหมาด
ค. การบริจาค1ชากาต ง. การแสวงบุญบําเพ็ญฮัจย
ตอบ ง. – หลักปฏิบัติการเดินทางไปประกอบพิธีฮัจย จะทําในวันที่ 20 เดือน 12 ปฏิทินอาหรับ คือ เดือซุลฮิจยะฮ
ที่นครมักกะฮ ประเทศซาอุดิอาระเบีย กฎขอนี้ไมไดบังคับทุกคน

44. อารยธรรมในยุโรปยุคกลางรับ ขนบธรรมเนียมประเพณี การปกครองจากชนเผาใด


ก. เผาเยอรมัน ข. เผาสลาฟ
ค. เผาเติรก ง. เผาแองโกลแซกชอน
ตอบ ก. – ยุโรปยุคกลางไดถูกอนารยชนเยอรมันและมองโกลรุกราน หัวหนาเผาตางๆไดตั้งตนเปนกษัตริยและแบง
การปกครองเปนอาณาจักรตางๆ โดยรับขนบธรรมเนียมประเพณีของเยอรมันที่เขามาปกครอง

45. ยุคมืด หมายถึงยุโรปในสมัยใด


ก. สมัยโบราณ ข. สมัยกลางตอนตน
ค. สมัยกลางตอนกลาง ง. สมัยกลางตอนปลาย
ตอบ ข. – การโจมตีและยึดครองดินแดนตางๆ ไดทําลายอาคารบานเรือน สิ่งกอนสราง ทั้งยังปลอยปละละเลยสิ่ง
กอนสรางของอารยธรรมที่ชาวโรมันไดสรางสมไวอยางยาวนานกวา 5 ศตวรรษใหปรักหักพังและเสื่อมโทรมลงเปนอยางมาก
เนื่องจากพวกอารยชนไมคุนเคยกับการดํารงชีวิตแบบคนเมืองที่มีความเจริญแลว นักประวัติศาสตรเรียกยุคกลางระยะแรก
หรือยุคกลางตอนตน หลังจากกรุงโรมแตกวา ยุคมืด

46. คริสตศาสนาไดมีรากฐานคําสอนจากศาสนาใด
ก. ศาสนาอิสลาม ข. ศาสนาโซโรแอสเตอร
ค. ศาสนายูดาย ง. ลัทธิวิญญาณนิยม
ตอบ ค. – พระเยซูคริสตเปนผูใหกําเนิดศาสนาคริสตที่แยกออกจากศาสนายูดาย (Judaism)

47. นักคิดคนสําคัญของคริสตศาสนากอนยุคกลางคือใคร
ก. เชนตปเตอร ข. เซนตพอล
ค. เซนตออกัสติน ง. เซนตอะไควนัส
ตอบ ค. – อิทธิพลของคริสตศาสนาเกิดจากคําสอนของนักปราชญคริสตคนสําคัญ 2 ทาน คือ
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 13

1. เซนต ออกัสติน นักคิดในยุคกลาง เรื่องอาณาจักรหรือนครของพระเจา (The City of God)


2. เซนต อไควนัส นักคิดในยุคกลางตอนปลาย ไดอธิบายเกี่ยวกับสรรพสิ่งของพระเจาวาเปนไปอยางมีจุดหมายที่
แนนอน โดยใชหลักเหตุผลตามแนวทางของอริสโตเติล โดยเนนวา สรรพสิ่งในโลกนี้ดําเนินไปตามกฎธรรมชาติ

48. ศูนยกลางของอารยธรรมไบแชนไตนอยูที่เมืองใด
ก. โรม ข. เอเธนส
ค. อเล็กชานเดรีย ง. คอนสแตนติโนเปล
ตอบ ง. – จักรวรรดิโรมันตะวันออกมีระบบการปกครองที่เนนอํานาจสูงสุดของจักรพรรดิทางทางโลกและทางธรรม
ทรงเปนประมุขทางศาสนานิยมกรีก ศูนยกลางอารยธรรมอยูที่กรุงคอนสแตนติโนเปล เมื่อจักรพรรดิไบแซนไตนไดประกาศ
ยกเลิกการนับถือรูปปนและรูปพระผูเปนเจา ซึ่งขัดกับขนบธรรมเนียมประเพณีที่เคยปฏิบัติมา จักรวรรดิไบแซนไตนจึงได
สูญเสียอํานาจทางศาสนาในยุโรปตะวันตกแกสถาบันสันตปาปาที่กรุงโรม อํานาจทางการเมืองระหวางกรุงโรมกับคอนส
แตนติโนเปลจึงแยกขาดกันชัดเจน

49. ระบบฟวดัลเกิดขึ้นจากเหตุผลใดมากที่สุด
ก. จักรวรรดิโรมันตะวันตกลมสลาย ข. ชนชั้นชาวนาแสวงหาที่พื่งเพื่อความปลอดภัย
ค. ความสัมพันธแบบพันธะระหวางกษัตริยกับเจา ขุนนาง ง. คริสตศาสนาแผขยายเขาไปในยุโรป
ตอบ ค. – ระบบฟวดัลเกิดขึ้นในยุโรปกลาง มีกรุงโรมเปนศูนยกลางทางการเมืองการปกครองไดตกอยูใตอํานาจ
ของพวกอารยชนเยอรมันเผาตางๆ โดยตั้งอยูบนพื้นฐานของการถือครองที่ดินระหวางกษัตริยกับเจา ขุนนาง

50. การใชที่ดินในแตละแมเนอรแบงที่นาอยางไร
ก. แบงตามฤดูของการผลิต ข. แบงออกเปนระบบบอนา
ค. แบงเปนระบบนา 3 แปลง ง. แบงเปนสัดสวนเทาๆ กันระหวางที่อยูอาศัยกับที่
เพาะปลูก
ตอบ ค. – การใชที่ดินจะสัมพันธกับฤดูกาลผลิต เพื่อปลูกพืชแตละปสลับกันไป โดยแบงเปน 3 แปลง คือ
1. นาแปลงที่ 1 ใชปลูกพืชในฤดูใบไมผลิ
2. นาแปลงที่ 2 ใชปลูกพืชในฤดูใบไมรวง
3. นาแปลงที่ 3 เมื่อคราดแลว จะปลอยทิ้งไว เพื่อใหดินฟนตัว และกลับมีความอุดมสมบูรณเหมือนเดิม

51. ในสังคมฟวดัลแบงคนในแมเนอรเปนกลุมใดบาง
ก. ขุนนาง พระ ข. ขุนนาง พระ สามัญชน
ค. ขุนนาง พระ สามัญชน และเสรีชน ง. ขุนนาง พระ ซาวนา เสรีชน และพอคา
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 14

ตอบ ง. – สังคมยุโรปยุคกลางมีหนวยปกครองแบบพีระมิด ลดหลั่นกันลงมา คือ บนยอดสูงสุด คือ กษัตริย


แบงเปน 3 กลุมใหญ คือ 1. ขุนนาง มีหนาที่ปกครอง 2. พระ มีหนาที่ประกอบพิธีกรรม 3. สามัญชน หรือชาวนา เปนชน
ชั้นต่ําสุด มีหนาที่การเพาะปลูก

52. มรดกทางการเมืองการปกครองยุคกลางมือะไรบาง
ก. การปกครองแบบพันธะระหวางกษัตริยกับเจาขุนนาง
ข. การปกครองที่แยกอํานาจระหวางอาณาจักรกับคาสนจักร
ค. การปกครองระบบรัฐสภาและการพิจารณาคดีดวยระบบลูกขุน
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. – มรดกทางการเมืองการปกครองที่สําคัญในระบบฟวดัลยุคกลาง คือ
1. การปกครองแบบพันธะระหวางกษัตริยกับเจาขุนนาง
2. การปกครองที่แยกอํานาจระหวางอาณาจักรกับคาสนจักร
3. การปกครองระบบรัฐสภา สืบทอดมาจนถึงปจจุบัน
4. มีการพิจารณาคดีดวยระบบลูกขุน เกิดจากประเพณีของพวกแองเกิล-แซกซัน สืบทอดมาจนถึงปจจุบัน
5. มีหลักกฎหมายเปนอํานาจสูงสุด เกิดจากประเพณีของเผาอารยชนเยอรมัน

53. ศูนยกลางการคาที่สําคัญของยุโรปยุคกลางอยูที่เมือง ใด
ก. โรม ข. เอเธนส
ค. คอนสแตนติโนเปล ง. อเล็กชานเดรีย
ตอบ ค. – ดานอุตสาหกรรมและการคาของจักรวรรดิไบแซนไตน มีกรุงคอนสแตนติโนเปลเปนศูนยกลางการคาที่
สําคัญตอการคาขายกับนานาชาติ โดยมีเมืองสําคัญ เชน โรม ปารีส คอนสแตนติโนเปล

54. ยุคเรเนสซองสตรงกับสมัยใด
ก. สมัยกลางตอนตน ข. สมัยกลางตอนปลาย
ค. สมัยใหมตอนตน ง. ขอ ข. และ ค.
ตอบ ง. – สังคมการเมืองและวัฒนธรรมในชวงเวลาประมาณ 500ป มีความเจริญสูงสุดในยุคกลางตอนปลาย
จนถึงสมัยใหมตอนตน เรียกวา ยุคฟนฟูศิลปวิทยาการ (Age of Renaissance)

55. นักประวัติศาสตรถือวา “ประวัติศาสตรสมัยใหมของ ยุโรป” เกิดขึ้นในชวงเวลาใด


ก. การปฏิวัติวิทยาศาสตร ข. การฟนฟูศิลปวิทยาการ
ค. การปฏิวัติอุตสาหกรรม ง. หลังสงครามโลกครั้งที่ 1
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 15

ตอบ ข. – การฟนฟูศิลปวิทยาการกรีก-โรมัน โดยเฉพาะดานวรรณคดี จิตรกรรม ประติมากรรม และ


สถาปตยกรรมเกิดขึ้นในกลุมปญญาชน นักประวัติศาสตรถือการฟนฟูศิลปวิทยาการเปนจุดเริ่มตนของ “ประวัติศาสตร
สมัยใหมของยุโรป”

56. สงครามครูเสดมีสวนสําคัญในการฟนฟูศิลปวิทยาการ อยางไร


ก. ทําใหเกิดการติดตอกับจักรวรรดิไบแชนไตนซึ่งมีผลทําใหชาวตะวันตกไดคนพบตนฉบับงานเขียน และความรู
ตางๆ ของโลกสมัยคลาสสิก
ข. ทําใหโลกตะวันตกเกิดการปฏิวัติทางดานศาสนา โดยสามารถหลุดพนจากแนวความคิดเดิมที่ผูกติดอยูกับ
ศาสนา
ค. ทําใหชาวตะวันตกสามารถเดินทางติดตอกับโลกตะวันออกไดสะดวกมากขึ้นสงผลใหเกิดการ แลกเปลี่ยน
ทางดานวิทยาการใหมๆ
ง. ทําใหเกิดการปฏิวัติทางดานวิทยาการใหมที่ชวย ทําใหการติดตอกับสวนตางๆ ในโลกเปนไปได สะดวกขึ้น
ตอบ ก. – สงครามครูเสดเปนสงครามระหวางชาวคริสเตียนและชาวมุสลิม เพื่อแยงชิงดินแดนศักดิ์สิทธิ์เจรูซาเล็ม
ทําใหชาวคริสตในยุโรปตะวันตกไดมีโอกาสเขาไปติดตอกับจักรวรรดิไบแซนไตน และคนพบแบบตนฉบับงานเขียนความรู
ตางๆ

57. ดานการเมืองในสมัยฟนฟูศิลปวิทยาการโลกตะวันตก มีลักษณะอยางไร


ก. ศาสนาเขามามีบทบาททางการเมืองอยางมาก ข. เรื่มมีการกอตัวขึ้นเปนรัฐราชาธิปไตย
ค. ขุนนางกลายเปนกลุมคนที่มีอํานาจมากที่สุด ง. เริ่มเขาสูระบบประชาธิปไตย
ตอบ ข. – สมัยโลกตะวันตกเริ่มกอตัวขึ้นเปนรัฐราชาธิปไตย สถาบันกษัตริยฟนตัวใหมเพื่อสรางศูนยอํานาจใหม
ทัดเทียมกับอํานาจทางศาสนา เปนพื้นฐานสําคัญของการพัฒนาการของสมัยฟนฟูศิลปวิทยาการ ซึ่งมีลักษณะดังนี้
1. ความเปนมนุษยนิยม หมายถึง ใหความสําคัญและคุณคาตอความเปนมนุษย
2. ความตองการเปนอิสรเสรี เพื่อตอบสนองความตองการเปนตัวของตัวเองตามลักษณะพอคา ไมจําเปนตองพึ่ง
เจานายของตนอีกตอไป
3. การรูจักการวิพากวิจารณ พยายามศึกษาหาความรูเพื่อตอบสนองความตองการ อันเปนผลใหยุคสมัยเรอเสซองส
เปนสมัยแหงอัจฉริยะ
4. ความเปนยุคสมัยแหงหัวเลี้ยวหัวตอ ระหวางโลกสมัยกลางกับโลกสมัยใหมที่กําลังเริ่มกอตัวขึ้นของโลกตะวันตก
5. การปฏิวัติวิทยาศาสตร เริ่มตนตั้งแตมนุษยเขาสูสมัยใหมในคริสตศตวรรษที่16-17 ชวงนี้ไดเกิดการปฏิวัติทาง
วิทยาศาสตร จุดเริ่มตน คือ การคนพบทฤษฎีสุริยจักรวาล ของ นิโคลัส โคเปอรนิคัส
6. การปฏิวัติการพิมพ การพิมพเติบโตขึ้นเมื่อมีการประดิษฐแทนพิมพ โดยโจฮัน กูเตนเบิรก (Johann
Gutenberg)ชาวเยอรมัน เมื่อ ค.ศ.1450
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 16

58. สภาพทั่วไปของโลกตะวันตกในสมัยฟนฟูศิลปวิทยาการ มีลักษณะอยางไร


ก. เปนสมัยที่มีวัฒนธรรมแบบชนบท ข. เปนสมัยที่มีวัฒนธรรมกึ่งเมืองกึ่งชนบท
ค. เปนสมัยที่ยังไมมีแบบแผนชัดเจน ง. เปนสมัยที่มีวัฒนธรรมแบบเมือง
ตอบ ง. – โลกตะวันตกในสมัยฟนฟูศิลปวิทยาการ เปนสมัยที่มีวัฒนธรรมแบบเมือง (urban culture)
ประกอบดวยคนหลากหลายชนชั้น มีเงินเปนสื่อกลางของความสัมพันธตอกัน มีการคาขายแลกเปลี่ยนสินคากัน

59. วรรณกรรมในสมัยฟนฟูศิลปวิทยาการมีลักษณะ อยางไร


ก. ใชภาษาพื้นเมืองแทนภาษาละติน ข. การรับอิทธิพลจากวรรณกรรมกรีกและละติน
ค. การรับแนวคิดมนุษยนิยม ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. – วรรณกรรมในสมัยฟนฟูมีลักษณะ
1. การใชภาษาพื้นเมืองแทนภาษาละติน ใชกันอยางกวางขวางในยุโรปสมัยกลาง เริ่มตนในหมูนักเขียนชาวฟลอ
เรนส
2. รับอิทธิพลจากวรรณกรรมกรีกและละติน ทําใหนักเขียนเลิกเขียนมหากาพย ซึ่งเปนแนวคิดมนุษยนิยมในสมัย
กลาง แตหันมาเขียนโคลงกลอนสั้นๆ

60. ภาพวาดของลีโอนารโด ดา วินชี ที่สําคัญที่สุดคือ


ก. อาหารมื้อสุดทาย ข. แมพระอุมพระเยซู
ค. ฤดูใบไมผลิ ง. พระแมมารีและพระบุตร
ตอบ ก. – ลีโอนารโด ดา วินซี่ ชาวอิตาลี ภาพวาดของเขามีลักษณะเปนจริงตามธรรมชาติ เพราะเขามีความรู
ในทางกายวิภาค การใชแสงและเงา ภาพวาดที่สําคัญ คือ อาหารมื้อสุดทาย (The Last Supper) ปจจุบันอยูที่
พิพิธภัณฑลูฟร (Louvre) ในกรุงปารีส

61. การปฏิรูปศาสนาหมายถึงอะไร
ก. การแตกแยกของศาสนจักรที่เกิดจากพวกตอตาน แนวคิดเดิม
ข. การปรับปรุงศาสนาเดิมใหสอดคลองกับสันตะปาปาองคใหม
ค. การพยายามแกไขบทบัญญัติในพระคัมภีรเดิม
ง. การเกิดนิกายใหมๆ ที่มีขอปฏิบัติที่แตกตางจาก นิกายเดิม
ตอบ ก. – การปฏิรูปศาสนา (Reformation) หมายถึง การแตกแยกของศาสนจักร ที่เกิดจากพวกตอตานศา
สนจักรสากลแนวคิดเดิม มีศูนยกลางอยูที่องคสันตะปาปาและสถาบันศาสนจักรที่กรุงโรม

62. ขอใดไมไชผลของการปฏิรูปศาสนา
ก. คริสตศาสนาแตกแยกออกเปน 2 นิกายใหญ ข. อํานาจของพระสันตะปาปาเพิ่มมากขึ้น
ค. การเกิดสงครามศาสนาตั้งแตคริสตศตวรรษที่ 16-17หลายครั้ง ง. เกิดการตอตานการปฏิรูปศาสนา
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 17

ตอบ ข. – ผลของการปฏิรูปศาสนา ไดแก


1. คริสตศาสนาแยกเปน 2 นิกายใหญ และนิกายยอยๆ อีกมากมาย หลักของพวกปฏิรูป คือ คัมภีรไบเบิล
2. เกิดการสิ้นสุดของศาสนจักรสากล และการลดอํานาจของพระสันตะปาปา
3. เกิดการขัดแยงทางศาสนาในสังคมยุโรประหวางคริสตที่16-17 เชน การปราบพวกฮูเกอโนต
4. เกิดการตอตานการปฏิรูปศาสนา โดยผูนํา อิกนาทิอุส โลโยลา

63. ลัทธิคาลวิน ซึ่งเปนนิกายหนึ่งของคริสตศาสนา มีลักษณะสําคัญอยางไร


ก. ไมใหความสําคัญกับพิธีกรรม ข. เนนในความศรัทธาตอพระเจาและพระคัมภีร
ค. เนนพิธีกรรมทางศาสนา ง. เปนศาสนาที่สามารถเขาถึงประชาชนไดงาย
ตอบ ก. – ลัทธิลูเธอร เปนจุดเริ่มตนของนิกายโปรเตสแตนต โดย มารติน ลูเธอร ชาวเยอรมัน เนนในศรัทธาและ
พระคัมภีร การปฏิบัติตามคําสอนของพระคัมภีรดวยตัวเอง โดยไมจําเปนตองอาศัยบาทหลวงและศาสนจักรเปนสื่อกลาง
- ลัทธิคาลวิน หรือ พิวริตัน โดย จอหน คาลวิน ชาวฝรั่งเศส เนนความเรียบงายไมใหความสําคัญกับพิธีกรรม
สงเสริมความประหยัดมัธยัสถ ระเบียบวินัย ไดรับความนิยมจากพอคาและชาวเมือง

64. เรียกคําสอนของลัทธิคาลวิน ที่เผยแผในยุโรปเหนือ วาอยางไร


ก. นิกายอังกฤษ ข. ลัทธิลูเธอร
ค. นิกายเดิม ง. พิวรีตัน
ตอบ ง. - ลัทธิคาลวิน หรือ พิวริตัน โดย จอหน คาลวิน ชาวฝรั่งเศส เนนความเรียบงายไมใหความสําคัญกับ
พิธีกรรม สงเสริมความประหยัดมัธยัสถ ระเบียบวินัย ไดรับความนิยมจากพอคาและชาวเมือง

65. ปจจัยสําคัญที่สงผลใหเกิดการฟนฟูศิลปวิทยาการคือ ขอใด


ก. สงครามรอยป ข. สงครามครูเสด
ค. การคนพบดินแดนใหม ง. การปฏิวัติวิทยาศาสตร
ตอบ ก. – สงครามรอยป เปนสงครามครูเสด (Crusade War) สงครามศาสนาที่ยาวนานระหวางศริสตและ
อิสลาม เกิดในยุคกลางชวงคริสตศตวรรษที่ 11 รวมเวลา 200ป เกิดขึ้น 10 ครั้งเปนปจจัยที่สงผลใหเกิดการฟนฟู
ศิลปวิทยาการ

66. สถาบันใดที่มีบทบาทเพิ่มมากขึ้นทางดานการเมืองใน สมัยฟนฟูศิลปวิทยาการ


ก. พระมหากษัตริย ข. ขุนนาง
ค. ศาสนา ง. นักปฏิวัติ
ตอบ ก. - สมัยโลกตะวันตกเริ่มกอตัวขึ้นเปนรัฐราชาธิปไตย สถาบันกษัตริยฟนตัวใหมเพื่อสรางศูนยอํานาจใหม
ทัดเทียมกับอํานาจทางศาสนา
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 18

67. การปฏิรูปศาสนา กอใหเกิดผลในยุโรป และโลกตะวันตกอยางไร


ก. คริสตศาสนาแตกแยกออกเปนนิกายใหญหลาย นิกาย
ข. อํานาจของพระสันตะปาปาเพิ่มมากขึ้น
ค. การเกิดสงครามศาสนาตั้งแตคริสตศตวรรษที่ 16-17 หลายครั้ง
ง. เกิดการเบื่อหนายการนับถือศาสนา
ตอบ ค. – การปฏิรูปศาสนา กอใหเกิดผลในยุโรป และโลกตะวันตก
1. คริสตศาสนาแยกเปน 2 นิกายใหญ และนิกายยอยๆ อีกมากมาย หลักของพวกปฏิรูป คือ คัมภีรไบเบิล
2. เกิดการสิ้นสุดของศาสนจักรสากล และการลดอํานาจของพระสันตะปาปา
3. เกิดการขัดแยงทางศาสนาในสังคมยุโรประหวางคริสตที่16-17 เชน การปราบพวกฮูเกอโนต
4. เกิดการตอตานการปฏิรูปศาสนา โดยผูนํา อิกนาทิอุส โลโยลา

68. ดินแดนที่มีกอตั้งเปนรัฐชาติในยุโรปยุคใหมไดสําเร็จ ระหวางคริสตศตวรรษที่ 15-17 คือรัฐใด


ก. ออสเตรีย ข. เยอรมนี
ค. อเมริกา ง. สเปน
ตอบ ง. – ดินแดนที่มีการเคลื่อนไหวเพื่อกอตั้งเปนรัฐชาติในยุโรปไดสําเร็จ ระหวางคริสตศตวรรษที่ 15-17 คือ
1. สเปน คริสตศตวรรษที่15 ไดแก แควนคาสตีล และแควนอารากอน โดยระยะแรกเกิดจากการอภิเษกสมรส
ระหวางพระนางอิสเบลลาแหงแควนคาสตีล กับพระเจาเฟอรดินานดแหงแควนอารากอน เพื่อปองกันการโจมตีของพวกมัวร
2. ฝรั่งเศส ปลายคริสตศตวรรษที่15 เมื่อสงครามรอยป ระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศสสิ้นสุดลง อังกฤษเปนฝายถอน
กองทัพออกจากฝรั่งเศส ค.ศ.1453
3. อังกฤษ เมื่อเหตุการณสงครามรอยปสิ้นสุดลง อังกฤษเกิดสงครามกลางเมือง เรียกวา “สงครามดอกกุหลาบ”
เปนการสูรบระหวางตระกูลยอรกใชดอกกุหลาบสีขาวเปนสัญลักษณ , กับตระกูลแลงคาสเตอรใชดอกกุหลาบสีแดงเปน
สัญลักษณ เพื่อแยงชิงบัลลังกอังกฤษ ผลัดกันแพชนะ นาน 30 ป กระทั่งป1485 เจาชายเฮนรี ทิวดอร สังหารกษัตริยอังกฤษ
แหงราชวงศยอรกไดสําเร็จ ครองราชยเปนพระเจาเฮนรีที่7 ทรงดําเนินนโยบายสมานฉันทกับตระกูลยอรก ดวยการอภิเษก
สมรสกับเจาหญิงแหงตระกูลแลงคาสเตอร ทําใหรัฐชาติอังกฤษมีความมั่นคง
4. รัสเซีย ตั้งอยูทางดานยุโรปตะวันออก โดยเจาชายอีวานที่3 แหงมอสโคว ดํารงตําแหนงเปน “เจาชายผูยิ่งใหญ”
ทําใหเมืองมอสโควกลายเปนศูนยกลางทางการคา และศูนยกลางทางการเมืองแทนเมืองเคียฟ

69. ความเสื่อมของระบอบฟวดัลในยุโรป ทําใหเกิดสิ่งใดขึ้น


ก. ศาสนาไดรับการเชิดชูเพิ่มมากขึ้น ข. ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยรุงเรืองขึ้น
ค. ประชาชนหันพึ่งพิงผูมีอํานาจขุนนาง ง. บานเมืองเกิดความแตกแยก
ตอบ ข. – ความเสื่อมของระบอบฟวดัลในยุโรป ทําใหระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยเจริญรุงเรือง กษัตริย
กลายเปนผูมีอํานาจในการปกครอง ยุคสมบูรณาญาสิทธิราชยจึงมีลักษณะที่เปนเอกลักษณของการเริ่มตนยุคใหม
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 19

70. แนวคิด ฌอง โบแดง ไดสนับสนุนอํานาจเด็ดขาดของกษัตริยวาอยางไร


ก. อํานาจของกษัตริยเปนอํานาจอันชอบธรรมเพราะไดรับจากพระเจา
ข. อํานาจของกษัตริยจะทําใหสังคมมีระเบียบ และความมั่นคง
ค. อํานาจกษัตริยถูกจํากัดโดยจารีตประเพณีและหลักปฏิบัติ
ง. อํานาจของกษัตริยตองอยูภายใตหลักของศีลธรรม
ตอบ ก. – ฌอง โบแดง อํานาจของกษัตริยชอบธรรมเพราะไดรับจากพระเจา
- โทมัส ฮอบส อํานาจกษัตริยถูกจํากัดโดยจารีตประเพณีและหลักปฏิบัติที่เรียกวา “กฎของพระเจา”

71. ระบบราชาธิปไตยฃองฝรั่งเศสรุงเรืองมากที่สุดในรัชกาลใด
ก. พระเจาหลุยสที่ 13 ข. พระเจาหลุยสที่ 14
ค พระเจาหลุยสที่ 15 ง. พระเจาหลุยสที่ 16
ตอบ ข. – ราชาธิปไตยมีความหมายคลายคลึงกับสมบูรณาญาสิทธิราชย วาดวยเรื่องพระราชอํานาจและ
สถานภาพของกษัตริยที่ทรงเปนประมุขของรัฐ ราชาธิปไตยเฟองฟูในระหวางคริสตศตวรรษที่ 17-18 ดังนี้
1. พระเจาเฮนรีที่8 แหงอังกฤษ ค.ศ.1509-1547
2. พระนางเจาอลิซาเบธที่1 แหงอังกฤษ ค.ศ.1559-1603
3. พระเจาหลุยสที่14 แหงฝรั่งเศส ค.ศ.1643-1715
4. พรเจาซารปเตอรที่1 แหงรัสเซีย ค.ศ.1682-1725
5. พระเจาเฟรดเดอริก วิลเลียมที่2 แหงปรัสเซีย ค.ศ.1740-1786

72. สนธิสัญญาทอรเดชิลลัส มีความสําคัญอยางไร


ก. สงบศึกจากสงครามรอยประหวางอังกฤษกับฝรั่งเศส
ข. สงบศึกจากสงครามกลางเมืองในอังกฤษ
ค. ขอตกลงเรื่องการกําหนดเขตการเดินเรือของสเปนและโปรตุเกส
ง. ขอตกลงในการนับถือศาสนาในฝรั่งเศส
ตอบ ค. – สเปนและโปรตุเกสเปนชาติที่ริเริ่มบุกเบิกการสํารวจทางทะเล แตมีความขัดแยงเรื่องเสนทางเดินเรือที่
ทับซอนกัน พระสันตะปาปาจึงโปรดใหชาติทั้งสองตกลงกําหนดเขตการเดินเรือดวยสนธิสัญญาทอรเดซิลลัส ( Treaty of
Tordesillas) ค.ศ.1494 กําหนดให
1. โปรตุเกสเดินเรือไปทางดานตะวันออก
2. สเปนเดินเรือไปทางดานตะวันตก
แตดวยเพราะโลกกลม เมื่อสเปนเดินเรือผานมหาสมุทรแปซิฟกถึงหมูเกาะฟลิปปนส จึงไดพบกับพอคาชาวโปรตุเกส
ที่ทําการคาอยูในเอเชียตะวันออกเฉียงใต จึงเปนเหตุใหสองชาติขัดแยงกันอีก พระสันตะปาปาจึงโปรดใหทําสนธิสัญญาซา
รากอสสา ค.ศ.1529 เพื่อตกลงเรื่องการแบงเขตการเดินเรือใหม
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 20

73. การสํารวจและการคนพบเสนทางเดินเรือ มีสวนกระตุน ใหเกิดเหตุการณีใดขึ้นในยุโรป


ก. การปฏิวัติอุตสาหกรรม ข. การปฏิวัติทางการคา
ค. อุตสาหกรรมการเดินเรือ ง. การยายถิ่นไปยังดินแดนใหม
ตอบ ข. – การสํารวจทางทะเลของชาวยุโรปในระหวางคริสตศตวรรษที่15-17 มีผลสําคัญทําใหเกิดการพัฒนา
เสนทางการคาทางทะเล

74. บุคคลกลุมแรกที่เดินทางไปยังอเมริกาเหนือคือกลุมใด
ก. อังกฤษ ข. ฝรั่งเศส
ค. ไวกิงส ง. อินเดียแดง
ตอบ ค. – เสนทางการคาทางทะเลระหวางยุโรปกับอเมริกา ประกอบดวย 2 เสนทาง
1. เสนทางสายแรก จากยุโรปไปยังทวีปอเมริกาใต ผูบุกเบิก ไดแก สเปน
2. เสนทางสายที่สอง จากยุโรปไปยังอเมริกาเหนือ บุคคลกลุมแรก ไดแก พวกไวกิ้งส (Vikings)

75. ตามความคิดของ โธมัส ศอบบ กษัตริยจะมีอํานาจปกครองประเทศไดเมื่อใด


ก. กษัตริยองคกอนสวรรคต ข. ประชาชนยินยอมพรอมใจกันมอบอํานาจให
ค. ไดรับการรับรองจากรัฐสภา ง. ศาสนาจักรใหการรับรอง
ตอบ ข. – การเปลี่ยนแปลงสังคมยุโรปยุคใหมที่สําคัญประการหนึ่ง คือ “การเปลี่ยนแปลงทางความคิด” การ
สรางอารยธรรมมนุษยในชวงระหวางคริสตศตวรรณที่16-18 นักปราชญจึงเรียกวา “ยุคแหงเหตุผล” หรือ “ยุคภูมิธรรม”
แนวคิดยุคภูมิธรรม มีผลกระทบตอพระราชอํานาจของกษัตริย ซึ่งอางที่มาของอํานาจจากพระเจาที่ประชาชนขัดขืนไมได แต
นักปราชญอางวาอํานาจของกษัตริยตองมาจากประชาชน ซึ่งมีนักปราชญคนสําคัญ เชน
1. เรอเน เดสคารตส มีแนวคิดวา ความรูแทจริงตองมีความชัดเจนแนนอน ดวยการใชเหตุผล
2. โทมัส ฮอบส ปราชญชาวอังกฤษ การตกลงรวมกันระหวางองคอธิปตยกับประชาชน เรียกวา สัญญาประชาคม
คือ ประชาชนยินยอมพรอมใจกันมอบอํานาจให
3. จอหน ล็อก ปราชญชาวอังกฤษมีแนวคิดคลายโทมัส ฮอบส ในเรื่องสัญญาประชาคม แตปฏิเสธอํานาจ
สมบูรณาญาสิทธิราชย และใหความคิดเรื่อง สิทธิทางธรรมชาติ คือ ประชาชนมีเสรีภาพและครอบครองทรัพยสินที่เปนของ
ตนเอง
4. ชารล เดอ มองเตสกิเออร ปราชญชาวฝรั่งเศส ไดรับอิทธิจากแนวคิดของ จอห ล็อก มีความเห็นวารัฐเปนสิ่งชั่ว
รายที่จําเปนตองมี เพื่อกําจัดอํานาจของกษัตริยใหอยูภายใตรัฐสภา แนวคิดไดเสนอไวในหนังสือเรื่อง เจตนารมณแหง
กฎหมาย (The Spirit of Laws) เกี่ยวกับการปกครองแบบประชาธิปไตย
5. วอลแตร ปราชญชาวฝรั่งเศส ชอบเขียนหนังสือเสียดสีโจมตีอยูเสมอ ไดเขียนกลอนลอเลียนผูสําเร็จราชการ
แผนดินของพระเจาหลุยสที่15 จึงถูกสงเขาคุกบาสตีย
6. ฌอง ฌาครุสโซ ปราชญชาวฝรั่งเศส มีความคิดดังนี้
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 21

(1.) มนุษยมีธรรมชาติที่ดี เพราะมนุษยเกิดมาดีโดยธรรมชาติ แตสังคมทําใหมนุษยกลายเปนคนไมดี ซึ่งตางจาก


แนวคิดในคริสตศาสนาที่เชื่อวา มนุษยเกิดมาพรอมกับบาปกําเนิด ที่ติดตัวมาจากมนุษยคูแรกของโลก คือ อาดัม และ อีฟ ที่
ทําผิดตอพระเจา
(2.) มนุษยมีสิทธิมาแตกําเนิด

76. ความคิดของนักปรัชญาการเมืองชาวยุโรประหวางคริสตศตวรรษที่ 17-18 ที่สําคัญคืออะไร


ก. สนับสนุนเรื่องความมีสิทธิเสรีภาพ ข. อํานาจของกษัตริยมาจากการสืบสายโลหิต
ค. ศาสนาไมควรแยกจากการเมือง ง. ประชาชนตองมอบความไวใจใหผูปกครอง
ตอบ ก. – ความคิดของนักปราชญการเมืองชาวยุโรป ระหวางศตวรรษที่17-18 คือ สนับสนุนเรื่องสิทธิเสรีภาพ
และมีแนวคิดวาอํานาจของกษัตริยมาจากประชาชน จึงมีลักษณะ สัญญาประชาคม

77. ผลของการปฏิวัติฝรั่งเศสกอใหเกิดผลอยางไร
ก. เกิดความรูสึกชาตินิยม ข. เกิดการปกครองแบบประชาธิปไตย
ค. แจกจายที่ดินกวางขวางขึ้น ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. – ผลจากการปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ.1789 ทําใหประชาชนมีสิทธิเสรีภาพ เกิดการปกครองแบบประชาธิปไตย
เกิดความรูสึกชาตินิยม มีการแจกจายที่ดินกวางขวางขึ้น

78. ดินแดนที่ไมสามารถกอตั้งเปนรัฐชาติในยุโรปยุคใหมไดสําเร็จ ระหวางคริสตศตวรรษที่ 15-17 คือรัฐใด


ก. ฝรั่งเศส ข. เยอรมนี
ค. สเปน ง. อังกฤษ
ตอบ ข. – ดินแดนที่มีการเคลื่อนไหวเพื่อกอตั้งเปนรัฐชาติในยุโรปไดสําเร็จ ระหวางคริสตศตวรรษที่ 15-17 คือ
1. สเปน คริสตศตวรรษที่15 ไดแก แควนคาสตีล และแควนอารากอน โดยระยะแรกเกิดจากการอภิเษกสมรส
ระหวางพระนางอิสเบลลาแหงแควนคาสตีล กับพระเจาเฟอรดินานดแหงแควนอารากอน เพื่อปองกันการโจมตีของพวกมัวร
2. ฝรั่งเศส ปลายคริสตศตวรรษที่15 เมื่อสงครามรอยป ระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศสสิ้นสุดลง อังกฤษเปนฝายถอน
กองทัพออกจากฝรั่งเศส ค.ศ.1453
3. อังกฤษ เมื่อเหตุการณสงครามรอยปสิ้นสุดลง อังกฤษเกิดสงครามกลางเมือง เรียกวา “สงครามดอกกุหลาบ”
เปนการสูรบระหวางตระกูลยอรกใชดอกกุหลาบสีขาวเปนสัญลักษณ , กับตระกูลแลงคาสเตอรใชดอกกุหลาบสีแดงเปน
สัญลักษณ เพื่อแยงชิงบัลลังกอังกฤษ ผลัดกันแพชนะ นาน 30 ป กระทั่งป1485 เจาชายเฮนรี ทิวดอร สังหารกษัตริยอังกฤษ
แหงราชวงศยอรกไดสําเร็จ ครองราชยเปนพระเจาเฮนรีที่7 ทรงดําเนินนโยบายสมานฉันทกับตระกูลยอรก ดวยการอภิเษก
สมรสกับเจาหญิงแหงตระกูลแลงคาสเตอร ทําใหรัฐชาติอังกฤษมีความมั่นคง
4. รัสเซีย ตั้งอยูทางดานยุโรปตะวันออก โดยเจาชายอีวานที่3 แหงมอสโคว ดํารงตําแหนงเปน “เจาชายผูยิ่งใหญ”
ทําใหเมืองมอสโควกลายเปนศูนยกลางทางการคา และศูนยกลางทางการเมืองแทนเมืองเคียฟ
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 22

79. เหตุการณใดเกิดขึ้นจากความเสื่อมของระบอบฟวดัล ในยุโรป


ก. ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยรุงเรืองขึ้น ข. ศาสนาไดรับการยอมรับและเชิดชูเพิ่มมากขึ้น
ค. ประชาชนหันพึ่งพิงขุนนางที่มีอํานาจในชนบท ง. บานเมืองเกิดความแตกแยกในหลายรัฐ
ตอบ ก. – ความเสื่อมของระบอบฟวดัลในยุโรป ทําใหระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยเจริญรุงเรือง กษัตริย
กลายเปนผูมีอํานาจในการปกครอง ยุคสมบูรณาญาสิทธิราชยจึงมีลักษณะที่เปนเอกลักษณของการเริ่มตนยุคใหม

80. แนวคิดที่สนับสนุนอํานาจเด็ดขาดของกษัตริยวา อํานาจของกษัตริยเปนอํานาจอันชอบธรรมเพราะไดรับจากพระเจา


เปนแนวความคิดของใคร
ก. โทมัส ฮอบส ข. ฌองโบแดง
ค. จอหนล็อก ง. วอลแตร
ตอบ ข. – ฌอง โบแดง อํานาจของกษัตริยชอบธรรมเพราะไดรับจากพระเจา
- โทมัส ฮอบส อํานาจกษัตริยถูกจํากัดโดยจารีตประเพณีและหลักปฏิบัติที่เรียกวา “กฎของพระเจา”

81. ระบบราชาธิปไตยฃองปรัสเชียรุงเรืองมากที่สุดใน รัชกาลใด


ก. พระเจาชารปเตอรที่ 1 ข. พระเจาหลุยสที่ 14
ค. พระเจาเฟรดเดอริก วิลเลียมที่ 2 ง. พระนางแคทเธอรินที่ 2
ตอบ ค. – ราชาธิปไตยมีความหมายคลายคลึงกับสมบูรณาญาสิทธิราชย วาดวยเรื่องพระราชอํานาจและ
สถานภาพของกษัตริยที่ทรงเปนประมุขของรัฐ ราชาธิปไตยเฟองฟูในระหวางคริสตศตวรรษที่ 17-18 ดังนี้
1. พระเจาเฮนรีที่8 แหงอังกฤษ ค.ศ.1509-1547
2. พระนางเจาอลิซาเบธที่1 แหงอังกฤษ ค.ศ.1559-1603
3. พระเจาหลุยสที่14 แหงฝรั่งเศส ค.ศ.1643-1715
4. พรเจาซารปเตอรที่1 แหงรัสเซีย ค.ศ.1682-1725
5. พระเจาเฟรดเดอริก วิลเลียมที่2 แหงปรัสเซีย ค.ศ.1740-1786

82. สาเหตุที่ทําใหโปรตุเกสมิความเจริญดานการเดินเรือ กอนชาติยุโรปอื่นๆ คืออะไร


ก. โปรตุเกสอยูติดทะเล มีกระแสน้ําที่เหมาะสมตอ การออกเดินเรือ
ข. พระมหากษัตริยของโปรตุเกสใหการสนับสนุน
ค. โปรตุเกสเปนชาติที่รํ่ารวยและมีความพรอมมาก ที่สุด
ง. โปรตุเกสเห็นประโยชนของการคนหาดินแดน
ตอบ ง. – การสํารวจทางทะเลของชาวยุโรปในระหวางคริสตศตวรรษที่15-17 มีผลสําคัญทําใหเกิดการพัฒนา
เสนทางการคาทางทะเล โปรตุเกสเห็นประโยชนของการคนหาดินแดน
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 23

83. กษัตริยจะมีอํานาจปกครองประเทศไดก็ตอเมื่อ ประชาชนยินยอมพรอมใจกันมอบอํานาจให แนวคิดดงกลาวเปนของ


ใคร
ก. วอลแตร ข. โธมัส ฮอบบ
ค. ฌองโบแดง ง. จอหนล็อก
ตอบ ข. – การเปลี่ยนแปลงสังคมยุโรปยุคใหมที่สําคัญประการหนึ่ง คือ “การเปลี่ยนแปลงทางความคิด” การ
สรางอารยธรรมมนุษยในชวงระหวางคริสตศตวรรณที่16-18 นักปราชญจึงเรียกวา “ยุคแหงเหตุผล” หรือ “ยุคภูมิธรรม”
1. เรอเน เดสคารตส มีแนวคิดวา ความรูแทจริงตองมีความชัดเจนแนนอน ดวยการใชเหตุผล
2. โทมัส ฮอบส ปราชญชาวอังกฤษ การตกลงรวมกันระหวางองคอธิปตยกับประชาชน เรียกวา สัญญาประชาคม
คือ ประชาชนยินยอมพรอมใจกันมอบอํานาจให
3. จอหน ล็อก ปราชญชาวอังกฤษมีแนวคิดคลายโทมัส ฮอบส ในเรื่องสัญญาประชาคม แตปฏิเสธอํานาจ
สมบูรณาญาสิทธิราชย และใหความคิดเรื่อง สิทธิทางธรรมชาติ คือ ประชาชนมีเสรีภาพและครอบครองทรัพยสินที่เปนของ
ตนเอง
4. ชารล เดอ มองเตสกิเออร ปราชญชาวฝรั่งเศส ไดรับอิทธิจากแนวคิดของ จอห ล็อก มีความเห็นวารัฐเปนสิ่งชั่ว
รายที่จําเปนตองมี เพื่อกําจัดอํานาจของกษัตริยใหอยูภายใตรัฐสภา แนวคิดไดเสนอไวในหนังสือเรื่อง เจตนารมณแหง
กฎหมาย (The Spirit of Laws) เกี่ยวกับการปกครองแบบประชาธิปไตย
5. วอลแตร ปราชญชาวฝรั่งเศส ชอบเขียนหนังสือเสียดสีโจมตีอยูเสมอ ไดเขียนกลอนลอเลียนผูสําเร็จราชการ
แผนดินของพระเจาหลุยสที่15 จึงถูกสงเขาคุกบาสตีย
6. ฌอง ฌาครุสโซ ปราชญชาวฝรั่งเศส มีความคิดดังนี้
(1.) มนุษยมีธรรมชาติที่ดี เพราะมนุษยเกิดมาดีโดยธรรมชาติ แตสังคมทําใหมนุษยกลายเปนคนไมดี ซึ่งตางจาก
แนวคิดในคริสตศาสนาที่เชื่อวา มนุษยเกิดมาพรอมกับบาปกําเนิด ที่ติดตัวมาจากมนุษยคูแรกของโลก คือ อาดัม และ อีฟ ที่
ทําผิดตอพระเจา
(2.) มนุษยมีสิทธิมาแตกําเนิด

84. สาขาวิชาใดที่นับเปนจุดเปลี่ยนของการปฏิวัติภูมิปญญาทางวิทยาศาสตร
ก. เคมี ข. ชีววิทยา
ค. ดาราศาสตร ง. วิทยาศาสตรประยุกต
ตอบ ค. – คริสตศตวรรษที่17 เปนตนมา การคนควาทางวิทยาศาสตรกอใหเกิดความรูใหม โดยเฉพาะดานดารา
ศาสตร จึงนําไปสูจุดการปฏิวัติภูมิปญญาทางวิทยาศาสตร

85. การปฏิวัติอุตสาหกรรมเริ่มตนที่ประเทศใด
ก. อังกฤษ ข. ฝรั่งเศส
ค. สหรัฐอเมริกา ง. เยอรมนี
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 24

ตอบ ก. – การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะที่1 (ค.ศ.1760-1870) เริ่มขึ้นในประเทศอังกฤษ โดยการนําเทคโนโลยีมา


ใชพัฒนาเครื่องจักรกลแทนแรงงานมนุษยและสัตวในการผลิต

86. ขอใดเปนสาเหตุของการปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะที่ 1
ก. พระมหากษัตริยใหการสนับสนุน ข. เกิดการปฏิวัติทางการคา
ค. การคนพบดินแดนโพนทะเล ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ข. – สาเหตุที่กอใหเกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะที่ 1 คือ
1. การสํารวจทางทะเล และการปฏิวัติการคา
2. วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
3. แนวคิดเสรีนิยมทางเศรษฐกิจ
4. เสรีภาพทางการเมือง
5. การเพิ่มขึ้นของประชากร

87. ผลงานการประดิษฐที่นับวาเปนจุดเริ่มตนของการใชพลังงานแบบใหมคืออะไร
ก. เครื่องทอผา ข. เครื่องจักรกล
ค. เครื่องจักรไอนํ้า ง. เครื่องปนดาย
ตอบ ค. – ความตองการเพิ่มผลิตกระตุนใหเกิดประดิษฐคิดคนเครื่องจักรขึ้น โดย ธอมัสนิวคอแมน (ค.ศ.1664-
1729) ไดคิดคนเครื่องจักรไอน้ํา และเจมสวัตต (ค.ศ.1735-1819) ผูพัฒนาเครื่องจักรไอน้ําของ ธอมัสนิวคอแมนใหมี
ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น อันเปนจุดเริ่มตนการเปลี่ยนสูระบบอุตสาหกรรมการใชพลังงานแบบใหม

88. นักวิทยาศาสตรทานใดที่เปนผูคิดคนเครื่องจักรไอนํ้า
ก. ธอมัสนิวคอแมน ข. ลีโอนารโด ดา วินชี
ค. เจมส วัตต ง. เจมส ฮารกรีฟส
ตอบ ก. - ธอมัสนิวคอแมน (ค.ศ.1664-1729) ไดคิดคนเครื่องจักรไอน้ํา
- เจมสวัตต (ค.ศ.1735-1819) ผูพัฒนาเครื่องจักรไอน้ําของธอมัสนิวคอแมนใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

89. การสรางเครื่องจักรไอนํ้ามีประโยชนอยางไรต อวงการปฏิวัติอุตสาหกรรม


ก. เครื่องจักรไอนํ้าทําใหอุตสาหกรรมขยายตัว
ข. เครื่องจักรไอนํ้าเปนจุดเริ่มตนของการเกิดโรงงาน อุตสาหกรรม
ค. เครื่องจักรไอน้ําถูกนํามาใชประโยชนในการคมนาคมขนสงสินคา
ง. เครื่องจักรไอนํ้ามีประโยชนเฉพาะกับอุตสาหกรรมขนาดเล็ก
ตอบ ก. – อารโนลด เจ ทอยนบี นักประวัติศาสตรชาวอังกฤษเปนผูริเริ่มใชคําวา “การปฏิวัติอุตสาหกรรม”
เครื่องจักรไอนํ้าทําใหอุตสาหกรรมขยายตัว เพิ่มผลผลิต
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 25

90. ขอใดเปนสาเหตุของการปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะที่ 2
ก. การพัฒนาของเทคโนโลยี ข. เกิดการปฏิวัติทางการคา
ค. การพัฒนาดานเกษตรกรรม ง. ความตองการบริโภคสินคาที่กวางขวาง
ตอบ ง. – การเพิ่มขึ้นของความตองการบริโภคสินคา (อุปสงค) และความตองการขายสินคา (อุปทาน) ผลักดันให
เกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะที่2 (ค.ศ.1870-1914)

91. การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะที่ 2 (ค.ศ. 1870-1914) หรือเรียกยุคนี้วาอะไร


ก. ยุคแหงเครื่องยนต ข. ยุคแหงการพัฒนา
ค. ยุคยุโรปใหม ง. ยุคลาอาณานิคม
ตอบ ก. – เมื่อความตองการสินคามีมากขึ้น นักอุตสาหกรรมไดเล็งเห็นผลกําไรที่จะเพิ่มขึ้น จึงมีการคิดคนพัฒนา
เทคโนโลยีจักรกลการผลิต เรียกวา ยุคแหงเครื่องยนต (Motorized Age)

92. การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะที่ 2 กอใหเกิดการพัฒนา ดานใด


ก. การประดิษฐเครื่องยนตที่ใชนํ้ามันเปนเชื้อเพลิง ข. การนําถานหินและเชื้อเพลิงธรรมชาติมาใชงาน
ค. การปฏิวัติเกษตรกรรมแบบใหม ง. การประดิษฐเครื่องจักรไอน้ําใชในโรงงาน
อุตสาหกรรม
ตอบ ก. – ยุคแหงเครื่องยนต (Motorized Age) มีการพัฒนาดานตางๆดังนี้
1. การประดิษฐเครื่องยนตที่ใชน้ํามันเปนเชื้อเพลิง
2. พัฒนาการดานการคมนาคมขนสง
3. การขยายตัวและความกาวหนาของการผลิตสารสังเคราะหทางเคมี
4. พัฒนาการของระบบทุนนิยมอุตสาหกรรมและระบบทุนนิยมการเงิน

93. การเพิ่มขึ้นของประชากรในชวงของการปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะที่ 2 มาจากปจจัยในขอใด


ก. เมืองขยายตัวอยางรวดเร็วทาใหประชากรเพิ่มตามไปดวย
ข. สังคมเมืองเกิดการเปลี่ยนแปลงในทุกๆ ดาน
ค. ประชากรมีอาหารการกินอุดมสมบูรณขึ้น
ง. คนจากประเทศอันอพยพเขามาเพิ่มมากขน
ตอบ ค. – ปจจัยภายในและปจจัยภายนอกที่เอื้อตอการสรางความเจริญทางเศรษฐกิจ ในชวงการปฏิวัติ
อุตสาหกรรมระยะที่2 (ค.ศ.1870-1914) การมีสาธารณสุขที่ดี มีโรงพยาบาล และยารักษา โรคเพิ่มขึ้น , ประชากรมีอาหาร
การกินที่อุดมสมบูรณมากยิ่งขึ้น , ความคิดเรื่องเชื้อชาติและความตองการกําลังคน เพิ่มขึ้น
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 26

94. ขอใดเปนสาเหตุของการปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะที่ 1
ก. มีการพัฒนาของเทคโนโลยี ข. เกิดการปฏิวัติทางการคา
ค. การพัฒนาดานเกษตรกรรม ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. – สาเหตุที่กอใหเกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะที่ 1 คือ
1. การสํารวจทางทะเล และการปฏิวัติการคา
2. วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
3. แนวคิดเสรีนิยมทางเศรษฐกิจ
4. เสรีภาพทางการเมือง
5. การเพิ่มขึ้นของประชากร

95. “ยุคแหงเครื่องยนต” หมายถึงสมัยใด


ก. การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะที่ 1 ข. การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะที่ 2
ค. จักรวรรดินิยม ง. ขอมูลขาวสาร
ตอบ ข. – การเพิ่มขึ้นของความตองการบริโภคสินคา (อุปสงค) และความตองการขายสินคา (อุปทาน) ผลักดัน
ใหเกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะที่2 (ค.ศ.1870-1914) ยุคแหงเครื่องยนต (Motorized Age)

96. การเพิ่มของประชากรอยางรวดเร็วในชวงการปฏิวัติ อุตสาหกรรมระยะที่ 2 เปนผลมาจากปจจัยใด


ก. การมีสาธารณสุขที่ดี มีโรงพยาบาล และยารักษา โรคเพิ่มขึ้น
ข. การปฏิวัติการคา ทําใหประชากรมีอาหารการกิน อุดมสมบูรณขึ้น
ค. ความคิดเรื่องเชื้อชาติและความตองการกําลังคน เพิ่มขึ้น
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. – ปจจัยภายในและปจจัยภายนอกที่เอื้อตอการสรางความเจริญทางเศรษฐกิจ ในชวงการปฏิวัติ
อุตสาหกรรมระยะที่2 (ค.ศ.1870-1914) การมีสาธารณสุขที่ดี มีโรงพยาบาล และยารักษา โรคเพิ่มขึ้น , ประชากรมีอาหาร
การกินที่อุดมสมบูรณมากยิ่งขึ้น , ความคิดเรื่องเชื้อชาติและความตองการกําลังคน เพิ่มขึ้น

97. สถาปตยกรรมใดที่เกิดขึ้นในสมัยราชวงศโมกุล
ก. สุสานทัซมาฮัล ข. สถูปที่เมืองสัญจี
ค. เมืองเปชลาร ง. มหาวิทยาลัยนาลันทา
ตอบ ก. – สมัยพระเจาซารเจฮาน (Shah Jehan)ไดยายเมืองหลวงไปอยูที่เมืองเดลฮีในค.ศ.1648 ทรงสราง
สุเหรามุก (Pearl Mosque) และทัชมาฮัล (Taj Mahal)ขึ้นที่เมืองอัครา ริมฝงแมน้ํายมุนา
สุสานทัชมาฮัล มีชื่อเสียงที่สุด สรางขึ้นเพื่อระลึกถึงพระมเหสีของพระองค คือ พระนางมุมทัช มาฮัล สรางโดย
สถาปนิก ไอสา (Ustad Isa)ชางชาวอินเดีย
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 27

98. อินเดียสมัยราชวงศโมกุลมีลักษณะอารยธรรมที่เดนอยางไร
ก. อารยธรรมมุสลิมมีความเจริญที่สุด ข. อินเดียมีการติดตอกับตางชาติมากที่สุด
ค. พอคาและนักบวชจากจีนเดินทางเขามา ง. อินเดียขยายอาณาเขตกวางขวางที่สุด
ตอบ ก. – อารยธรรมของมุสลิมเจริญถึงสูงสุดในสมัยราชวงศโมกุล (ค.ศ.1526-1707) คือ จักรพรรดิอัคบาร แมวา
ราชวงศโมกุลจะมีความยิ่งใหญแตก็เสื่อมลง เพราะนโยบายกดขี่ทางดานเชื้อชาติและศาสนา เกิดสงครามระหวางรัฐอยูบอย
สุดทายก็ถูกอังกฤษยึดครอง

99. วัตถุประสงคแรกของการเขามาของโปรตุเกสในอินเดีย คืออะไร


ก. คาขาย ข. เผยแผศาสนา
ค. ยึดครอง ง. เปนทางผาน
ตอบ ข. – ชาติตะวันตกชาติแรกที่เขามาในอินเดีย คือ โปรตุเกส วัตถุประสงคแรกเพื่อเผยแผคริสตศาสนา
ภายหลังก็เพื่อการคาขาย

100. ราชวงศสุดทายกอนที่จีนเปลี่ยนผานสูสมัยใหมคือ ราชวงศใด


ก. ราชวงศหมิง ข. ราชวงศชิง
ค. ราชวงศชง ง. ราชวงศโจว
ตอบ ข. – การเปลี่ยนผานสูสมัยใหมเริ่มเกิดขึ้นในสมัยราชวงศหมิง เมื่อสิ้นราชวงศหมิง ราชวงศชิงหรือ ราชวงศ
แมนจู จึงเปนราชวงศสุดทายกอนจีนกลายเปนสาธารณรัฐ หรือเปลี่ยนผานสูสมัยใหมอยางแทจริง

101. การคาขายของตะวันตกกับจีนมีลักษณะอยางไร
ก. ตองคาขายโดยผานพอคาคนกลางซึ่งเปนขุนนางจีน ข. ไมยอมคาขายกับตะวันตกไมวาจะกรณีใดๆ
ค. เปดเมืองใหคาขายเพียงเมืองเอหมึงเทานั้น ง. ชาติตะวันตกตองถวายบรรณาการกับจักรพรรดิจีน
ตอบ ง. – เนื่องจากจีนถือวาเปนประเทศใหญและมีความเจริญมาตั้งแตสมัยโบราณ การคาขายกับจีนตองปฏิบัติ
ตามระเบียบที่จีนกําหนด เรียกวา การคาในระบบบรรณาการ คือ ทุก 3 ป จึงจะอนุญาตใหทําการคากับจีนได

102. ชวงปลายสมัยโทะกุงะวะ สภาพของญี่ปนมีลักษณะ อยางไร


ก. พัฒนาดานการทหาร ข. เกิดสถาบันทางการเมือง
ค. ปดประเทศ ง. พัฒนาดานการศึกษา
ตอบ ค. – ญี่ปุนปลายสมัยโทะกุงะวะหรือสมัยเอะโดะ มีการปดประเทศ จากการเดินทางของพอคามาพรอมกับ
มิชชันนารี ทําใหชาวญี่ปุนเปลี่ยนมานับถือคริสตศาสนามาก จึงมีการสั่งหามชาวตางชาติทุกคนเขาประเทศญี่ปุน ยกเวน
พอคาชาวฮอลันดา เนื่องจากฮอลันดามีวิทยาการที่ทันสมัยและฮอลันดาไมสนใจการเผยแผศาสนา
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 28

103. ชาติตะวันตกที่เขามาติดตอคาขายกับญี่ปนเปนชาติ แรกคือชาติใด


ก. ฮอลันดา ข. อังกฤษ
ค. ฝรั่งเศส ง. โปรตุเกส
ตอบ ง. – ชาติตะวันตกที่เขามาในญี่ปุนในคริสตศตวรรษที่16 มีวัตถุประสงค 2 ประการ คือ เพื่อเผยแผศาสนา
และเพื่อการคาขาย โดยโปรตุเกสเปนชาติแรกที่มาติดตอกับญี่ปุนที่เกาะทะเนะงะซิมะ ทางใตของเกาะคิวชู ในค.ศ.1543
และชาติตอมา คือ สเปน (ค.ศ.1592) และฮอลันดา (ค.ศ.1600) และตามดวยอังกฤษ

104. คริสตศตวรรษที่ 15-18 มีศาสนาใหมที่เขามาเผยแผ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต คือศาสนาใด


ก. ศาสนาคริสต ข. ศาสนาอิสลาม
ค. ศาสนาฮินดู ง. ศาสนาพุทธนิกายเถรวาท
ตอบ ข. – ในคริสตศตวรรษที่ 15-18 มีศาสนาใหมเขามาเผยแผในเอเชียตะวันออกเฉียงใต คือ ศาสนาอิสลาม ซึ่ง
เผยแผในคาบสมุทรมลายูและหมูเกาะอินโดนีเซีย สวนคริสตศาสนาเผยแผในฟลิปปนสและเวียดนาม

105. พอคาเอเชียที่เดินทางเขามาติดตอคาขายกับชาวเอเชียตะวันออกเฉียงใตในชวงคริสตศตวรรษที่ 15-18 คือ ชาติใด


ก. จีน ญี่ปน อินเดีย ข. เกาหลี จีน ญี่ปน
ค. อิหราน อินเดีย เปอรเซีย ง. จีน ญี่ปน เปอรเซีย
ตอบ ก. – เอเชียตะวันออกเฉียงใตคริสตศตวรรษที่15-18 มีคนตางชาติเขามาคาขายกันมาก ไดแก จีน อินเดีย
ญี่ปุน และคนในยุโรป คือ โปรตุเกส สเปน ดัตช และอังกฤษ

106. เทคโนโลยีที่ชาวเอเชียตะวันออกเฉียงใต ในชวงคริสต ศตวรรษที่ 15-18 ไดรับจากการคาขายกับตางชาติคือ เรื่องใด


ก. เทคโนโลยีดานอาวุธจากญี่ปน ข. เทคโนโลยีดานการตอเรือจากจีน
ค. เทคโนโลยีดานการทําเหมืองแรจากโปรตุเกส ง. เทคโนโลยีดานการถลุงเหล็กจากอังกฤษ
ตอบ ข. – เทคโนโลยีที่ชาวเอเชียตะวันออกเฉียงใตไดรับ คือ
1. เทคนิคการตอเรือสําเภาแบบจีน
2. เทคโนโลยีอาวุธปน จาก จีน ตะวันออกกลาง และยุโรป

107. ราชวงศสุดทายของจีนกอนการเปลี่ยนผานสูสมัยใหม คือราชวงศใด


ก. ราชวงศหมิง ข. ราชวงศชง
ค. ราชวงศโจว ง. ราชวงศแมนจู
ตอบ ง. – การเปลี่ยนผานสูสมัยใหมเริ่มเกิดขึ้นในสมัยราชวงศหมิง เมื่อสิ้นราชวงศหมิง ราชวงศชิงหรือ ราชวงศ
แมนจู จึงเปนราชวงศสุดทายกอนจีนกลายเปนสาธารณรัฐ หรือเปลี่ยนผานสูสมัยใหมอยางแทจริง
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 29

108. อังกฤษตอตานฝรั่งเศสจนเกิดสงครามชิงราชสมบัติสเปน เพราะเกรงกลัวในเรื่องใด


ก. ถากษัตริยฝรั่งเศส และสเปนเปนองคเดียวกันจะทําใหนิกายโรมันคาทอลิกเขมแข็งมาก
ข. อาณานิคมของสเปน จะตกเปนของฝรั่งเศสทําใหฝรั่งเศสจะกลายเปนเจาทางทะเล
ค. ฝรั่งเศสจะสามารถคาขายในอาณานิคมของสเปนได
ง. ฝรั่งเศสและสเปนจะรวมกันรุกรานอาณานิคมของอังกฤษ
ตอบ ข. – ค.ศ.1702-1713 สงครามเกิดจากความขัดแยงระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศส เพราะอังกฤษเกรงวาฝรั่งเศส
จะกลายเปนเจาทะเล

109. สงคราม 7 ป ระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศสสิ้นสุดดวยการทําสนธิสัญญาปารีสใน ค.ศ. 1763 ฝรั่งเศสตองยกดินแดน


อาณานิคมที่ใดใหอังกฤษ
ก. ที่ราบโอไฮโอ ข. ปากแมนํ้าเชนตลอวเรนซในแคนาดา
ค. ฟลอริดา ง. เมืองปอนดีเชอรี ที่อินเดีย
ตอบ ข. – สงครามเจ็ดป ค.ศ.1756-1763 จากความขัดแยงระหวางชาติมหาอํานาจในยุโรป และการสูรบระหวาง
ฝรั่งเศสกับอังกฤษ เรียกวา สงครามพระเจาจอรจ ฝรั่งเศสเปนฝายแพอังกฤษในทุกสมรภูมิ จึงยอมทําสนธิสัญญาปารีส
(Paris Convention) เมื่อค.ศ.1763 ทําใหฝรั่งเศสตองยกดินแดนบริเวณปากน้ําเซนตลอวเรนซ(ในแคนาดาปจจุบัน)
ใหอังกฤษ และดินแดนลุมน้ํามิสซิสซิปป(ในประเทศสหรัฐอเมริกาปจจุบัน)ใหสเปน เพื่อทดแทนดินแดนฟลอริดาที่สเปนตอง
ยกใหอังกฤษ
สําหรับดินแดนในเอเชีย ฝรั่งเศสตองยกอาณานิคมในอินเดียใหอังกฤษ แตอังกฤษตองยอมใหฝรั่งเศสตั้งสถานี
การคาที่เมืองปอนดิเซอรี และจันทรนครที่ตั้งอยูทางดานชายฝงตะวันออกของอินเดีย

110. วิธีการที่พระนางแคทเธอริน แหงรัสเชีย แยงดินแดนในทะเลดํา คือขอใด


ก. การทําสงครามกับตุรกี ข. การทําสงครามกับฝรั่งเศส
ค. การทําสงครามกับอังกฤษ ง. การสนับสนุนศาสนานิกายกรีกออรโธดอกซ
ตอบ ก. – ชวงเวลากอนคริสตศตวรรษที่18 พระเจาปเตอรที่1และพระนางแคทเธอรีนมหาราชินี ทําใหรัสเซียกาว
เปนชาติมหาอํานาจ โดยการแยงดินแดนในทะเลดําไปสูทะเลเมดิเตอรเรเนียนทางตะวันออกไดสําเร็จ ดวยการทําสงคราม
กับตุรกี

111. ความคิดที่เกี่ยวกับ “ภาระของคนผิวขาว”มีอิทธิพลตอ คนกลุมใด ในการแสวงหาอาณานิคม เพื่อชวยเหลือคนดอย


พัฒนา
ก. ขาราชการกระทรวงอาณานิคม ข. นักการทหาร
ค. พอคา นักธุรกิจ ง. มิชชันนารี
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 30

ตอบ ง. – ความคิดเรื่องเกียรติภูมิของชาติทําใหชาวยุโรปมีความคิดเกี่ยวกับ “ภาระของคนผิวขาว” ( White


Man’s Burden) ที่เชื่อวาเผาพันธุคนขาวมีสติปญญาและความเจริญ คนผิวขาวตองชวยเหลือคนที่ดอยกวา แนวคิดนี้
มีอิทธิพลตอมัชชันนารีและขาราชการในอาณานิคมบางคนที่เชื่อวาตนไดทําความดีในฐานะเปนนักมนุษยธรรม
(Hunanities)

112. ชาติตางๆ ในยุโรปตระหนักถึงความสําคัญของการ แสวงหาอาณานิคมเพิ่มในปลายคริสตศตวรรษที่ 19 เกิดจาก


ปจจัยขอใด
ก. จักรพรรดินโปเลียนแพสงคราม
ข. การประชุมนานาชาติที่เบอรลิน
ค. พระเจาเลโอโปลดที่ 2 แหงเบลเยียม ทรงประกาศตั้งรัฐอิสระคองโก
ง. ความตระหนักในเกียรติภูมิของเชื้อชาติตน
ตอบ ค. – แนวคิดเรื่องผลประโยชนและเกียรติภูมิหรือลัทธิชาตินิยมแบบใหม เปนปจจัยที่กอใหเกิดการแสวงหา
อาณานิคม แตชนวนที่ทําใหตะวันตกเกิดความตื่นตัวมุงแสวงหาอาณานิคมอยางจริงจังเปนผลจากการที่พระเจาเลโอโปลด
ที่2 แหงเบลเยียม สงคณะนักสํารวจไปสํารวจบริเวณลุมน้ําคองโกในแอฟริกา เมื่อ ค.ศ.1876 แลวทําสนธิสัญญากับหัวหนา
เผาชาวพื้นเมือง เพื่อใหไดสิทธิในการปกครองดินแดนแลวตั้งเปนรัฐเสรีคองโก

113. ชาวแคนาดาเชื้อสายอังกฤษ และชาวแคนาดาเชื้อสายฝรั่งเศส ยุติปญหาการขัดแยงกันดวยเหตุการณ ใด


ก. สหรัฐอเมริกาประกาศเอกราชจากอังกฤษ ข. ฝรั่งเศสแพสงคราม 7 ป
ค. สหรัฐอเมริกาประกาศวาทะมอนโร
ง. อังกฤษประกาศวาแคนาดาเปนอาณาจักรของ อังกฤษ
ตอบ ค. – ประเทศสหรัฐอเมริกา ประธานาธิปดีเจมส มอนโร (James Monroe)ค.ศ.1817-1825 ได
ประกาศวาทะมอนโร เมื่อค.ศ.1823 เพื่อไมยอมรับการแทรากแซงของมหาอํานาจยุโรป และเพื่อหยุดยั้งการยึดครองดินแดน
ของชาวยุโรปในอเมริกา

114. ชาติใดในยุโรปที่ปกครองดินแดนอาณานิคมในอเมริกากลางและอเมริกาใตมากที่สุด
ก. ฝรั่งเศส ข. อังกฤษ
ค. สเปน ง. โปรตุเกส
ตอบ ค. – ดินแดนอเมริกาใตมีทองคําและพืชผลตางๆ เชน ออย มันฝรั่ง โกโก ยาสูบ เปนแรงจูงใจใหชาวยุโรป
เดินทางมายังอเมริกาใตมากขึ้น เชน โปรตุเกส อังกฤษ และฮอลันดา เขามาปกครองดินแดน แตสเปนยังคงเปนชาติยุโรปที่
ปกครองดินแดนในอเมริกาใตมากที่สุด
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 31

115. กอนคริสตศตวรรษที่ 19 ดินแดนที่ ชาวยุโรปยึดครอง ในเอเชียคือดินแดนใด


ก. ที่ดินริมทะเล ข. ที่ดินบนภูเขาสูง
ค. ที่ราบลุมปากแมนํ้า ง. ที่ราบเชิงเขา
ตอบ ก. -ในคริสตศตวรรษที่18 อังกฤษขยายอํานาจยึดดินแดนในคาบสมุทรมลายูตอนลางและเมืองทาชายฝง
ทะเลประเทศพมาไวได เพราะสามารถใชเปนเสนทางเชื่อมระหวางอินเดียบริเวณอาวเบงกอลมายังคาบสมุทรมลายู ที่มี
สินคาวัตถุดิบเปนที่ตองการของชาวยุโรป คือ ขาว น้ําตาล ยางพารา ดีบุก และไมเนื้อแข็ง

116. ชองแคบมะละกา มีความสําคัญตอการเดินเรือของ อังกฤษ เพราะอังกฤษตองการติดตอคาขายกับชาติ ใด


ก. ฟลิปปนส ข. จีน
ค. เวียดนาม ง. อินโดนีเซีย
ตอบ ข. – จีนพายแพอังกฤษในสงครามฝน ระหวาง ค.ศ.1839-1842 จีนถูกบังคับใหเปดเมืองทาบาง เพื่อติดตอ
คาขายกับอังกฤษ โดยผานชองแคบมะละกา

117. ดินแดนในเอเชียตะวันออกเฉียงใตตกเปนอาณานิคมของชาติจักรวรรดินิยมตะวันตกมาตั้งแตคริสตศตวรรษที่ 16 ชาติ


ใดเปนชาติจักรวรรดินิยมใหมใน คริสตศตวรรษที่19
ก. อังกฤษ ข. ฝรั่งเศส
ค. สเปน ง. สหรัฐอเมริกา
ตอบ ง. – ศตวรรษที่16 – 19 ชาติจักรวรรดินิยมตะวันตก ที่เขามาปกครองในดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต มี
ทั้งชาติที่ปกครองตอเนื่องมาตั้งแตคริสตศตวรรษที่16 ไดแก ฮอลันดา และอังกฤษ จนถึงเขามาปกครองใหม คือ ฝรั่งเศส โดย
มีสหรัสอเมริกาเขามาในชวงคริสตศตวรรษที่19

118. เหตุใดอังกฤษจึงตอตานฝรั่งเศสเมื่อพระเจาหลุยสที่ 14 ทรงแตงตั้งพระราชนัดดาไปเปนกษัตริยสเปน


ก. ปญหาการแตกตางระหวางนิกายอังกฤษกับนิกายโรมันคาทอลิก
ข. ปญหาฝรั่งเศสจะไดปกครองดินแดนสเปน
ค. ปญหาอาณานิคมสเปนจะตกเปนของฝรั่งเศสทําใหฝรั่งเศสเปนเจาทางทะเล
ง. ปญหาฝรั่งเศสสนับสนุนกษัตริยอังกฤษที่นับถือนิกายโรมันคาทอลิก
ตอบ ค. – ค.ศ.1702-1713 สงครามเกิดจากความขัดแยงระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศส เพราะอังกฤษเกรงวาฝรั่งเศส
จะกลายเปนเจาทะเล

119. ผลจากสนธิสัญญาปารีสที่ฝรั่งเศสแพสงคราม7 ปตออังกฤษตองยกดินแดนอาณานิคมในอินเดียใหอังกฤษยกเวนเมือง


ใด
ก. เมืองมุมไบ ข. เมืองมัทราท
ค. เมืองปอนดิเชอริ . ง. เมืองกัลกัตตา
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 32

ตอบ ค. – สงครามเจ็ดป ค.ศ.1756-1763 จากความขัดแยงระหวางชาติมหาอํานาจในยุโรป และการสูรบระหวาง


ฝรั่งเศสกับอังกฤษ เรียกวา สงครามพระเจาจอรจ ฝรั่งเศสเปนฝายแพอังกฤษในทุกสมรภูมิ จึงยอมทําสนธิสัญญาปารีส
(Paris Convention) เมื่อค.ศ.1763 ทําใหฝรั่งเศสตองยกดินแดนบริเวณปากน้ําเซนตลอวเรนซ(ในแคนาดาปจจุบัน)
ใหอังกฤษ และดินแดนลุมน้ํามิสซิสซิปป(ในประเทศสหรัฐอเมริกาปจจุบัน)ใหสเปน เพื่อทดแทนดินแดนฟลอริดาที่สเปนตอง
ยกใหอังกฤษ
สําหรับดินแดนในเอเชีย ฝรั่งเศสตองยกอาณานิคมในอินเดียใหอังกฤษ แตอังกฤษตองยอมใหฝรั่งเศสตั้งสถานี
การคาที่เมืองปอนดิเซอรี และจันทรนครที่ตั้งอยูทางดานชายฝงตะวันออกของอินเดีย

120. จักรวรรดิรัสเชียมีทางออกทางทะเลบอลติกและทะเลดําสูทะเลเมดิเตอรเรเนียนในสมัยใด
ก. จักรพรรดิปเตอรมหาราช. ข. พระเจาชารนิโคสัส
ค. พระนางอลิชาเบธที่ 1 ง. พระนางแคทเธอรีนมหาราชินี
ตอบ ง. – ชวงเวลากอนคริสตศตวรรษที่18 พระเจาปเตอรที่1และพระนางแคทเธอรีนมหาราชินี ทําใหรัสเซียกาว
เปนชาติมหาอํานาจ โดยการแยงดินแดนในทะเลดําไปสูทะเลเมดิเตอรเรเนียนทางตะวันออกไดสําเร็จ ดวยการทําสงคราม
กับตุรกี

121. มิชชันนารีที่ทํางานเผยแผศาสนาอยางจริงจังและอุทิศตนเพื่อชวยเหลือเพื่อนมนุษยใหมืสภาพชีวิตที่ดิขึ้นเปนเพราะมิ
ความคิดในเรื่องใด
ก. ภาระของคนผิวขาว ข. ลัทธิพาณิชยนิยม
ค. ลัทธิเสรีนิยม ง. ลัทธิลังคมนิยม
ตอบ ก. – ความคิดเรื่องเกียรติภูมิของชาติทําใหชาวยุโรปมีความคิดเกี่ยวกับ “ภาระของคนผิวขาว” ( White
Man’s Burden) ที่เชื่อวาเผาพันธุคนขาวมีสติปญญาและความเจริญ คนผิวขาวตองชวยเหลือคนที่ดอยกวา แนวคิดนี้
มีอิทธิพลตอมัชชันนารีและขาราชการในอาณานิคมบางคนที่เชื่อวาตนไดทําความดีในฐานะเปนนักมนุษยธรรม
(Hunanities)

122. การตั้งรัฐอิสระคองโก เปนรัฐสวนพระองคของกษัตริยพระองคใดในยุโรป


ก. พระนางแคทเธอรีนมหาราชินี ข. พระเจาเฟรดเดอริกมหาราช
ค. จักรพรรดินโปเลียน ง. พระเจาเลโอโปลดที่ 2
ตอบ ง. – แนวคิดเรื่องผลประโยชนและเกียรติภูมิหรือลัทธิชาตินิยมแบบใหม เปนปจจัยที่กอใหเกิดการแสวงหา
อาณานิคม แตชนวนที่ทําใหตะวันตกเกิดความตื่นตัวมุงแสวงหาอาณานิคมอยางจริงจังเปนผลจากการที่พระเจาเลโอโปลด
ที่2 แหงเบลเยียม สงคณะนักสํารวจไปสํารวจบริเวณลุมน้ําคองโกในแอฟริกา เมื่อ ค.ศ.1876 แลวทําสนธิสัญญากับหัวหนา
เผาชาวพื้นเมือง เพื่อใหไดสิทธิในการปกครองดินแดนแลวตั้งเปนรัฐเสรีคองโก
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 33

123. ประกาศวาทะมอนโรของสหรัฐอเมริกา ถือวาการแทรกแซงของชาติใดเปนอันตรายตอความมั่นคงของสหรัฐอเมริกา


ก. เม็กซิโก ข. มหาอํานาจยุโรป
ค. แคนาดา ง. รัสเชีย
ตอบ ข. – ประเทศสหรัฐอเมริกา ประธานาธิปดีเจมส มอนโร (James Monroe)ค.ศ.1817-1825 ไดประกาศ
วาทะมอนโร เมื่อค.ศ.1823 เพื่อไมยอมรับการแทรากแซงของมหาอํานาจยุโรป และเพื่อหยุดยั้งการยึดครองดินแดนของชาว
ยุโรปในอเมริกา

124. กอนคริสตศตวรรษที่ 19 ชาวยุโรปมักจะยึดที่ดินริมทะเลในบริเวณเอเชียไมยึดครองทั้งประเทศเพราะอะไร


ก. เพื่อเอาใจชนบทพื้นเมือง ข. เลือกที่ที่อุดมสมบูรณที่สุด
ค. เพื่อตั้งเปนสถานที่การคา ง. เพื่อตั้งสถานที่ทดลองทางวิทยาศาสตร
ตอบ ค. - ดินแดนในเอเชีย ฝรั่งเศสตองยกอาณานิคมในอินเดียใหอังกฤษ แตอังกฤษตองยอมใหฝรั่งเศสตั้งสถานี
การคาที่เมืองปอนดิเซอรี และจันทรนครที่ตั้งอยูทางดานชายฝงตะวันออกของอินเดีย

125. วัตถุดิบใดในคาบสมุทรมลายู เปนที่ตองการของโรงงานอุตสาหกรรมในอังกฤษ


ก. ยางพารา ข. ดีบุก
ค. ฝาย ง. ยางพารา และดีบุก
ตอบ ง. -ในคริสตศตวรรษที่18 อังกฤษขยายอํานาจยึดดินแดนในคาบสมุทรมลายูตอนลางและเมืองทาชายฝง
ทะเลประเทศพมาไวได เพราะสามารถใชเปนเสนทางเชื่อมระหวางอินเดียบริเวณอาวเบงกอลมายังคาบสมุทรมลายู ที่มี
สินคาวัตถุดิบเปนที่ตองการของชาวยุโรป คือ ขาว น้ําตาล ยางพารา ดีบุก และไมเนื้อแข็ง

126. เหตุใดการรวมกลุมเปนพันธมิตรจึงนําไปสูการเกิด สงครามโลกครั้งที่ 1


ก. แตละกลุมตางสนับสนุนฝายตนใหทําสงคราม
ข. แตละฝายตางแสวงหาผลประโยชนจนขัดแยงกัน
ค. การรวมกลุมเปนพันธมิตรทําใหเกิดความตองการผลประโยชน
ง. การรวมกลุมเปนพันธมิตรทําใหเกิดความตองการ ทําสงคราม
ตอบ ข. – สงครามโลกครั้งที่1 เกิดขึ้นระหวางค.ศ.1914-1918 ปญหาความขัดแยงแสวงหาผลประโยชน ระหวาง
สมาชิกของพันธมิตร 2 ฝาย คือ
1. ฝายไตรพันธมิตร ประกอบดวย เยอรมัน ออสเตรีย ฮังการี และอิตาลี
2. ฝายไตรภาคี ประกอบดวย อังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย

127. ความรูสึกเรื่องชาตินิยมรุนแรงในยุโรปเปนสาเหตุที่กอใหเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 ไดอยางไร


ก. ชาตินิยมรุนแรง ทําใหเกิดความคิดวาชาติตนดีที่สุด
ข. ชาตินิยมรุนแรง ทําใหเกิดพฤติกรรมที่กาวราวตอชาติอื่น
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 34

ค. ชาตินิยมรุนแรง ทําใหเกิดการประณามชาติตางๆ
ง. ชาตินิยมรุนแรง ทําใหเกิดความเกลียด ความกลัว ระหวางชาติ
ตอบ ง. – ชาตินิยมรุนแรงปรากฎเดนชัดตั้งแตคริสตศตวรรษที่19 นําไปสูความตึงเครียด และความเกลียด ความ
กลัว ความหวาดระแวงระหวางชาติ

128. การที่มกุฎราชกุมารแหงจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ถูกลอบปลงพระชนม เปนชนวนสงครามไดอยางไร


ก. เนื่องจากฝายออสเตรีย-ฮังการี มีพันธมิตรจํานวนมาก ข. เนื่องจากฝายเชอรเบียมีพันธมิตรจํานวนมาก
ค. เนื่องจากฝายเชอรเบียมีรัสเชียสนับสนุน ง. เนื่องจากฝายออสเตรีย-ฮังการีมีฝรั่งเศสสนับสนุน
ตอบ ค. – ออสเตรียตองการทําลายแผนการของเซอรเบียซึ่งมีรัสเซียสนับสนุน จึงอาศัยเหตุชนวนการลอบปลง
พระชนมมกุฎราชกุมารแหงออสเตรีย

129. อังกฤษเขารวมทําสงครามโลกครั้งที่ 1 เพราะเหตุผล ใดเปนสําคัญ


ก. เยอรมนีละเมิดความเปนกลางของเบลเยียม ข. ฝรั่งเศสทําสงครามกับเยอรมนี
ค. เยอรมนีทําสงครามกับรัสเชีย ง. รัสเชียละเมิดความเปนกลางของโปแลนด
ตอบ ก. – เบลเยียมไดรับการประกันความเปนกลางจากอังกฤษ เมื่อเยอรมนีไมเคารพความเปนกลางของ
เบลเยียม จึงทําใหอังกฤษประกาศสงครามกับเยอรมนีในวันที่ 4 สิงหาคม ค.ศ.1914

130. ผลจากสงครามโลกครั้งที่ 1 กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลง อยางมากเกี่ยวกับชาติรัฐในยุโรปคือเรื่องใด


ก. ชาติตางๆ ไดดินแดนกลับคืน ข. การอพยพเคลื่อนยายของพลเมือง
ค. การเปลี่ยนแปลงพรมแดนประเทศตางๆ ง. ชาติตางๆ เปลี่ยนแปลงผูนําประเทศ
ตอบ ค. – ภายหลังสงครามโลกครั้งที่1 ยุติลงฝายสัมพันธมิตรซึ่งเปนผูชนะไดจัดใหมีการประชุมสันติภาพที่กรุง
ปารีส ประเทศฝรั่งเศส ค.ศ.1919-1920 โดยดําเนินการตามสนธิสัญญาฉบับตางๆ และการจัดตั้งองคกรสันนิบาตร ผล
กอใหเกิดการเปลี่ยนพรมแดนประเทศตางๆ ภายหลังไดเกิดการเปลี่ยนแปลงผูนําตางๆตามมา

131. สนธิสัญญาแวรซายสมีสวนผลักดันใหเกิดสงครามโลก ครั้งที่ 2 อยางไร


ก. เยอรมนีถือวาเปนสนธิสัญญาที่ไมเปนธรรม
ข. สนธิสัญญาแวรชายสเอื้อประโยชนตอผูชนะ
ค. ผลของสนธิสัญญากระทบตอเศรษฐกิจของชาติ ผูแพ
ง. ฝรั่งเศสเปนผูไดประโยชนจากสนธิสัญญาแวรชายส
ตอบ ก. – สนธิสัญญาแวรซายสเปนสนธิสัญญาสําคัญที่สุดที่ฝายสัมพันธมิตรบังคับใหเยอรมนีลงนาม โดยมี
จุดมุงหมายเพื่อลดอํานาจเยอรมนีและปองกันไมใหเยอรมนีกอสงครามอีก แตฝายเยอรมนีเห็นวาสนธิสัญญาแวรซายสไม
เปนธรรม เพราะทําใหประเทศเยอรมนีถูกลดฐานะความเปนมหาประเทศ ทําใหเกียรติภูมิของชาติลดลง ตองสูญเสียอาณา
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 35

นิคมทั้งหมด ตองถูกจํากัดกําลังรบ ตองเสียดินแดน ทรัพยสิน และแหลงทรัพยากรมากมาย ทําใหชายเยอรมนีไมพอใจ


สนธิสัญญานี้เปนอยางมาก

132. เรื่องใดที่สะทอนใหเห็นวาโปแลนดมิความสําคัญตอ เยอรมนี ฝรั่งเศส และอังกฤษ


ก. เยอรมนี ฝรั่งเศส และอังกฤษโจมตีโปแลนด
ข. ฝรั่งเศส และอังกฤษชวยโปแลนดถาถูกเยอรมนีโจมตี
ค. โปแลนดไดรับความชวยเหลือจากเยอรมนี อังกฤษ และฝรั่งเศส
ง. เยอรมนีจะชวยโปแลนดถาถูกฝรั่งเศสและอังกฤษโจมตี
ตอบ ข.

133. ตัวแปรสําคัญที่ทําใหฝายลมพันธมิตรไดเปรียบฝายอักษะจนเปนฝายชนะในสงครามโลกครั้งที่ 2 คือ อะไร


ก. ฝายอักษะมีทหารลมตายจํานวนมาก ข. ฝายลมพันธมิตรไดอาวุธและเสบียงเพิ่มเติม
ค. การที่เรือดํานํ้าเยอรมนีถูกทําลายจนหมด ง. การที่สหรัฐอเมริกาเขารวมสงคราม
ตอบ ง.

134. ความทรงจําจากสงคราม เชนระเบิดปรมาณูกอใหเกิดผลตอมนุษยชาติในปจจุบันอยางไร


ก. การสูญเสียชีวิตของมนุษยชาติจํานวนมาก ข. การสูญเสียผูนํามือํานาจแบบเผด็จการมากเกินไป
ค. ความยากไรและหิวโหยของคนจํานวนมาก ง. สงครามคือความโหดรายตอมนุษยชาติ
ตอบ ง.

135. ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ชาติรัฐตางๆ ในยุโรปได รับผลกระทบอยางมากในเรื่องใด


ก. ชาติตางๆ เปลี่ยนแปลงผูนําประเทศ ข. ชาติตางๆ ไดดินแดนกลับคืน
ค. การอพยพเคลื่อนยายของพลเมือง ง. การเปลี่ยนแปลงพรมแดนประเทศตางๆ
ตอบ ก. – ภายหลังสงครามโลกครั้งที่1 ยุติลงฝายสัมพันธมิตรซึ่งเปนผูชนะไดจัดใหมีการประชุมสันติภาพที่กรุง
ปารีส ประเทศฝรั่งเศส ค.ศ.1919-1920 โดยดําเนินการตามสนธิสัญญาฉบับตางๆ และการจัดตั้งองคกรสันนิบาตร ผล
กอใหเกิดการเปลี่ยนพรมแดนประเทศตางๆ ภายหลังไดเกิดการเปลี่ยนแปลงผูนําประเทศเปนผลกระทบอยางมาก

136. เยอรมนี ฝรั่งเศส และอังกฤษ เห็นความสําคัญของโปแลนดซึ่งเห็นไดจากกรณีใด


ก. โปแลนดไดรับความชวยเหลือจากเยอรมนีอังกฤษ และฝรั่งเศส
ข. ฝรั่งเศส และอังกฤษชวยโปแลนด ถาถูกเยอรมนีโจมตี
ค. เยอรมนี ฝรั่งเศส และอังกฤษโจมตีโปแลนด
ง. เยอรมนีจะชวยโปแลนดถาถูกฝรั่งเศสและอังกฤษโจมตี
ตอบ ข.
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 36

137. เพราะเหตุใดที่ฝายสมพันธมิตรชนะฝายอักษะใน สงครามโลกครั้งที่ 2


ก. การที่สหรัฐอเมริกาเขารวมสงคราม ข. การที่เรือดํานํ้าเยอรมนีถูกทําลายจนหมด
ค. ฝายสัมพันธมิตรไดอาวุธและเสบียงเพิ่มเติม ง. ฝายอักษะมีทหารลมตายจํานวนมาก
ตอบ ก.

138. สงครามเย็น (Cold War) เกิดจากความขัดแยงใน เรื่องใดเปนสําคัญ


ก. การที่ชาติตางๆ ขาดแคลนอาวุธในการทําสงคราม
ข. สหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียตตองการทําสงครามตอไป
ค. ลัทธิชาตินิยมยังมีอิทธิพลอยูในยุโรป
ง. ความขัดแยงเรื่องอุดมการณทางการเมืองของชาติมหาอํานาจ
ตอบ ง.

139. เหตุใดสหรัฐอเมริกาจึงขยายอิทธิพลไปทั่วโลกในชวงครึ่งหลังคริสตศตวรรษที่ 20
ก. เนื่องจากเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาตกตํ่า ข. อังกฤษขอใหสหรัฐอเมริกาปองกันลัทธิคอมมิวนิสต
ค. ชาติใหมที่เกิดขึ้นหลังสงครามโลกมีกําลังมากขึ้น ง. เพื่อสกัดกั้นอิทธิพลของสหภาพโซเวียต
ตอบ ง. – สหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียดเปนประเทศมหาอํานาจภายหลังสงครามโลกครั้งที่2 ทั้งสองชาติตาง
แขงขันกันเพื่อเปนผูนําทางการเมืองและเศรษฐกิจ ทําใหโลกอยูในสภาวะสงครามเย็น

140. สหภาพโซเวียตทําสงครามตัวแทนในเวียดนามกับชาติ ใด
ก. สหรัฐอเมริกา ข. จีน
ค. รัสเชีย ง. ญี่ปุน
ตอบ ก. – สหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียดเปนประเทศมหาอํานาจภายหลังสงครามโลกครั้งที่2 ทั้งสองชาติตาง
แขงขันกันเพื่อเปนผูนําทางการเมืองและเศรษฐกิจ ทําใหโลกอยูในสภาวะสงครามเย็น

141. การรวมกลุมประเทศโลกที่สามมีเหตุผลสําคัญคือ เรื่องใด


ก. ปองกันประเทศที่เศรษฐกิจดีกวาเขาแทรกแซง
ข. เพื่อขอกําลังจากชาติมหาอํานาจปกปองกลุมของตน
ค. รวมมือกันในการขยายบทบาทในเวทีโลก
ง. ใชกําลังทหารเพื่อยึดดินแดนชาติอื่น
ตอบ ก. – ประเทศโลกที่สามมีปญหาตางๆ คือ ปญหาดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ซึ่งเปน
ชองทางปองกันไมใหใหประเทศมหาอํานาจ หรือประเทศที่มีเศรษฐกิจดีกวาเขาแทรกแซง หรือแสวงหาผลประโยชน
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 37

142. ผลจากการตั้งประเทศอิสราเอล ทําใหเกิดปญหาในตะวันออกกลางคือเรื่องใด


ก. ทําใหมีคนในการเพาะปลูกลดลง ข. ประชาชนชาวอาหรับเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว
ค. เกิดความขัดแยงในกลุมชาวยิวที่มาจากประเทศตางๆ ง. ความขัดแยงระหวางเชื้อชาติและศาสนา
ตอบ ง. – การกอตั้งประเทศอิสราเอลชัดเจนเมื่อปลายคริสตศตวรรษที่19 เกิดจากแรงผลักดันของกระแสตอตาน
ชาวยิว หรือกลุมเซเมติก และเกิดความขัดแยงในเชื้อชาติศาสนา

143. กลุมสันนิบาตอาหรับไมสามารถทําสงครามจนชนะอิสราเอลไดคือเรื่องใด
ก. ไมชํานาญภูมิประเทศ ข. การขาดเอกภาพในกลุมอาหรับ
ค. ขาดอาวุธที่ทันสมัยในการรบ ง. อิสราเอลที่พันธมิตรในตะวันออกกลาง
ตอบ ข. – สันิบาตรอาหรับ (Arab league)เกิดขึ้นเมื่อ 22 มีนาคม ค.ศ.1945 เพื่อตอตานลัทธิไซออนนิสต
และลัทธิจักรวรรดินิยมตะวันตก

144. การปฏิวัติอิสลามมีผลตออิหรานอยางไร
ก. อิมามโคมัยนิเปนผูนําอิหรานที่มีอํานาจเด็ดขาด
ข. ทําใหอิหรานกลายเปนประเทศโดดเดี่ยว
ค. อิหรานเปนประเทศที่ปกครองดวยหลักการของศาสนาอิสลาม
ง. ประเทศอิหรานไดปกครองในระบอบสาธารณรัฐ
ตอบ ค. – การปฏิวัติอิสลามในอิหราน เกิดขึ้นเมื่อ ค.ศ.1979 โดย อยาตุลเลาะห โคมัยนี หรือรูจักในนาม อิมาม
โคมัยนี เพื่อขจัดอิทธิพลของชาติตะวันตกที่เขามามีอิทธิพลในอิหราน

145. ผลกระทบจากสงครามอาวเปอรเซียตออิรักคือ เรื่องใด


ก. อิรักมีชื่อเสียงในดานการทําสงครามอยางกลาหาญ
ข. ทําใหอิรักขาดพันธมิตรที่ชวยรวมรบในสงครามกับสหรัฐอเมริกา
ค. ดินแดนอาวเปอรเซียตกอยูภายใตการปกครอง ของอิรัก
ง. อิรักไดสิทธิในการขุดเจาะนํ้ามันในอาวเปอรเชีย
ตอบ ข. -

146. ความสําเร็จในการสรางชาติของญี่ปุนเกิดจากเรื่องใด
ก. ญี่ปุนมีพื้นฐานในการพัฒนาชาติและไดรับความชวยเหลือจากสหรัฐอเมริกา
ข. เนื่องจากญี่ปุนเปนชนชาติที่มีเทคโนโลยีสูงกวาชาติอื่น
ค. เกิดจากความขยันของคนญี่ปุนและมีพลเมืองจํานวนมาก
ง. เนื่องจากญี่ปุนเปนชาติที่มีทรัพยากรจํานวนมาก
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 38

ตอบ ก.
147. การลมสลายของสหภาพโชเวียตสงผลกระทบตอโลก อยางไร
ก. ลดการเผชิญหนาระหวางคอมมิวนิสตกับประชาธิปไตย
ข. ทําใหโลกเสียดุลอํานาจทางการเมือง
ค. การเปดเสรีทางการคาในยุโรปตะวันออก
ง. ชาวโลกติดตอกับสหภาพโซเวียตไดงายขึ้น
ตอบ ข.

148. ภาพรวมของกลุมประเทศตางๆ ในคริสตศตวรรษที่ 20 มีจุดมุงหมายสําคัญคือเรื่องใด


ก. การแขงขันทางดานเศรษฐกิจและการทหาร ข. ยอมรับความเปนมหาอํานาจของสหรัฐอเมริกา
ค. เนนเรื่องการเมืองและการผูกขาดทางการคา ง. ความรวมมือทางเศรษฐกิจและรักษาสันติภาพ
ตอบ ง.

149. เนื่องจากความขัดแยงทางอุดมการณและเศรษฐกิจ ทําใหสหรัฐอเมริกาตองจํากัดอิทธิพลของชาติใดมากที่สุด


ก. ชาติใหมที่เกิดขึ้นหลังสงครามโลกมีกําลังมากขึ้น ข. เพื่อสกัดกั้นอิทธิพลของสหภาพโซเวียต
ค. อังกฤษขอใหสหรัฐอเมริกาปองกันลัทธิคอมมิวนิสต ง. เนื่องจากเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาตกตํ่า
ตอบ ข.

150. การที่อิหรานประสบความสําเร็จในการปฏิวัติอิสลามโดยอิมามโคมัยนี มีผลอยางไร


ก. อิหรานเปนประเทศที่ปกครองดวยหลักการของศาสนาอิสลาม
ข. ประเทศอิหรานไดปกครองในระบอบสาธารณรัฐ
ค. ทําใหอิหรานกลายเปนประเทศโดดเดี่ยว
ง. อิมาม,โคมัย,นิเปนผูนําอิหรานที่มีอํานาจเด็ดขาด
ตอบ ก. – การปฏิวัติอิสลามในอิหราน เกิดขึ้นเมื่อ ค.ศ.1979 โดย อยาตุลเลาะห โคมัยนี หรือรูจักในนาม อิมาม
โคมัยนี เพื่อขจัดอิทธิพลของชาติตะวันตกที่เขามามีอิทธิพลในอิหราน

151. อิรักไดรับผลกระทบจากสงครามอาวเปอรเซียตอคือ เรื่องใด


ก. ดินแดนอาวเปอรเซียตกอยูภายใตการปกครองของอิรัก
ข. อิรักมีชื่อเสียงในดานการทําสงครามอยางกลาหาญ
ค. อิรักไดสิทธิในการขุดเจาะนํ้ามันในอาวเปอรเซีย
ง. ทําใหอิรักขาดพันธมิตรที่ชวยรวมรบในสงครามกับสหรัฐอเมริกา
ตอบ ง.
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 39

152. การที่สหภาพโซเวียตไมสามารถตอตานสหรัฐอเมริกา ไดสงผลกระทบตอโลกอยางไร


ก. ทําใหโลกเสียดุลอํานาจทางการเมือง ข. ชาวโลกติดตอกับสหภาพโซเวียตไดงายขึ้น
ค. ลดการเผชิญหนาระหวางคอมมิวนิสตกับประชาธิปไตย ง. การเปดเสรีทางการคาในยุโรปตะวันออก
ตอบ ก.

153. จุดมุงหมายในการรวมกลุมประเทศตางๆ ในปลาย คริสตศตวรรษที่ 20 คือเรื่องใดเปนสําคัญ


ก. ยอมรับความเปนมหาอํานาจของสหรัฐอเมริกา ข. การแขงขันทางดานเศรษฐกิจและการทหาร
ค. เพื่อความรวมมือทางเศรษฐกิจและรักษาสันติภาพ ง. เนนเรื่องการเมืองและการผูกขาดทางการคา
ตอบ ค.

154. โรแลนด โรเบิรตสัน (Roland Robertson) ใหความหมายของคําวาโลกาภิวัตนไววาอยางไร


ก. เปนทั้งแนวคิดเกี่ยวกับการบีบอัดของพื้นที่และเวลาและสํานึกตอโลกโดยรวม
ข. การติดตอระหวางสังคมภายใตมิติของเวลาและพื้นที่ที่ถูกบีบอัดจนเล็กลง
ค. ปรากฏการณของกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่ทําใหโลกเชื่อมโยงถึงกันอยางไรพรมแดน
ง. การพัฒนาในที่แหงใดแหงหนึ่งของโลก ซึ่งอาจสงกระทบตอภูมิภาคที่อยูไกลออกไป
ตอบ ก. – โลกาภิวัตน (Globalization) หมายถึง การแพรกระจายไปทั่วโลกฯ
1. เจมส มิตเตลมาน (Jame Mittelman) การติดตอระหวางสังคมภายใตมิติของเวลาและพื้นที่
2. โรแลด โรเบิรตสัน (Roland Robertson) เปนทั้งแนวคิดเกี่ยวกับการบีบอัดของพื้นที่และเวลา
3. กวัลชิต สิงห (Kavaljit Singh)โลกซึ่งมีกระบวนการดานเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมอันซับซอน
4. เกรียงศักดิ์ เจริญวงศศักดิ์ ปรากฎการณของกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่ทําใหโลกเชื่อมโยงถึงกันอยางไรพรมแดน

155. ลักษณะสําคัญของโลกาภิวัตน มีองคประกอบใดบาง


ก. กระบวนการที่ครอบคลุมสังคมเพียงดานสังคมเทานั้น ข. กอใหเกิดปฎิสัมพันธระหวางเครือขายทางสังคม
ค. ผลสะทอนของปรากฏการณที่โลกเสมือนขยายตัวขึ้น ง. เกิดจากกระบวนการทางดานจิตใจกอนดานวัตถุ
ตอบ ข. – เปนกระบวนการที่ครอบคลุมสังคมในทุกมิติ
- กอใหเกิดเครือขายสังคม
- เปนผลสะทอนของปรากฎการณที่โลกเสมือนลดขนาดลง
- ไมไดมีผลกระทบเฉพาะดานวัตถุ
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 40

156. แนวความคิดกลุมนักโลกาภิวัตนนิยม กลาววาการเกิดโลกากิวัตนเกิดจากอะไร


ก. เกิดจากความตองการเชื่อมเศรษฐกิจและการเมืองเขาดวยกัน
ข. เปนอุดมการณไปสูเ ปาหมายที่ตั้งไว
ค. เปนวาทกรรม หรือสิ่งที่ถูกสรางขึ้นอยางตั้งใจ
ง. เกิดขึ้นโดยอิสระ และสัมพันธกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร
ตอบ ง. – การเกิดโลกาภิวัติน มี 2 กลุม
1. กลุมนักโลกาภิวัตินนิยม เกิดขึ้นโดยอิสระ และสัมพันธกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร
2. กลุมผูที่สงสัย เปนอุดมการณไปสูเปาหมายที่ตั้งไว

157. พิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol) มีสาระสําคัญในการเรียกรองเรื่องใด


ก. ประเทศอุตสาหกรรมลดการปลอยกาชเรือนกระจกลง
ข. สหรัฐอเมริกาชดใชคาเสียหายจากการทั้งระเบิดปรมาณู
ค. ลดการเผชิญหนาระหวางคอมมิวนิสตกับประชาธิปไตย
ง. เกิดการเปดเสรีการคากับประเทศคอมมิวนิสต
ตอบ ก. – อนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ มีสาระสําคัญ คือ ประเทศ
อุตสาหกรรมตองลดการปลอยกาชเรือนกระจกภายใน 10 ป (1990-2000) แตก็ไมไดมีการปฏิบัติตามอยางจริงจัง ในค.ศ.
1997 จึงทําขอตกลงขึ้นใหมชื่อวา “พิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol)” ขยายเวลาดําเนินการไปถึง ค.ศ.2010 แตใน
ค.ศ.2001 สหรัฐอเมริกาถอนตัว เนื่องจากสงผลกระทบตอความเติบโตทางเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา

158. เหตุการณ 11 กันยายน ค.ศ. 2001 กอใหเกิดเหตุการณ ใดตามมา


ก. สงครามอาวเปอรเซีย ข. สงครามตอตานการกอการราย
ค. สงครามศาสนา ง. สงครามเย็น
ตอบ ข. – การกอการราย (Terrorism) เปนประเด็นปญหาทางการเมือง นับแตเหตุการณเครื่องบิน 3 ลํา พุง
ชนตึกเวิลดเทรดเซ็นเตอรและตึกเพนตากอนในสหรัฐอเมริกา เมื่อ 11 กันยาน ค.ศ.2001 หรือ 9/11

159. หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 กลุมประเทศในยุโรปใหความ สําคัญของความรวมมือเศรษฐกิจ จึงไดมีการดําเนินเรื่องใด


ก. จัดตั้งประชาคมถานหินและเหล็กกลาแหงยุโรป ข. จัดตั้งเขตการคาเสรี
ค. ใหมีการใชเงินสกุลเดียว คือเงินยูโร ง. ดําเนินนโยบายเปดเสรีทางการคาและการลงทุน
ตอบ ก. – หลังสงครามโลกครั้งที่2 กลุมประเทศในยุโรปเริ่มเห็นความสําคัญของความรวมมือเศรษฐกิจ จึงได
ดําเนินการจัดตั้ง “ประชาคมถานหินและเหล็กกลาแหงยุโรป (European Coal and Steel Community :
ECSE)” ขึ้นในค.ศ.1950 โดยอาศัยแนวทางและรูปแบบที่เยอรมนีเคยใช
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 41

160. เหตุการณและปญหาที่เกิดขึ้นที่เมืองอุรุมฉีมาจากสาเหตุใด
ก. การเรียกรองคาแรงเพิ่มจากรัฐบาล ข. ความขัดแยงดานอุดมการณทางการเมือง
ค. เรียกรองใหเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ง. ความขัดแยงทางเชื้อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม
ตอบ ง. – กรกฏาคม ค.ศ.2009 เกิดการจลาจลในเมืองอุรุมซี (Urumqi) เขตปกครองตอนเองซินเกียง ประเทศ
จีน ระหวางชนกลุมนอยชาวอุยเกอรกับชาวฮั่น เรื่องความขัดแยงทางเชื้อชาติและศาสนา วัฒนธรรม
- ชาวอุยเกอร นับถือศาสนาอิสลาม
- ชาวฮั่น เปนชาวจีนแท หลากหลายเชื้อชาติ

161. การพัฒนาที่ยั่งยืน เปนแนวทางที่เกิดขึ้นจากการ ตระหนักถึงปญหาในดานใดเปนสําคัญ


ก. เศรษฐกิจ ข. สิ่งแวดลอม
ค. ความสงบสุข ง. ความเทาเทียมกัน
ตอบ ข. – รากฐานแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development)เริ่มค.ศ.1972 เมื่อองคการ
สหประชาชาติไดจัดการประชุมวาดวยสิ่งแวดลอมของมนุษย ณ กรุงสตอกโฮลม ประเทศสวีเดน

162. พุทธเศรษฐศาสตร คืออะไร


ก. การนําหลักทางพุทธศาสนามาเปนแนวในการดําเนินชีวิตประจําวัน
ข. การดําเนินธุรกิจตามแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจ ที่ยั่งยืน
ค. การรักษาสิงแวดลอมทางธรรมชาติ และการมีธรรมาภิบาล
ง. การดําเนินธุรกิจตามแนวทางพุทธศาสนา
ตอบ ก. – อี.เอฟ. ชูมาเกอร (E.F. Schumacher ค.ศ.1911-1977) ไดเขียนหนังสือ เล็กนั้นงาม (Small
is Beautiful)เมื่อค.ศ.1973 ชูมาเกอรไดเขียนถึงพุทธศาสตร (Buddhist Economics) ชาวพุทธในประเทศพมา
ดํารงอยูบนสมดุลระหวางโลกธรรมและโลกวัตถุ ไมมีความขัดแยงระหวางความเชื่อทางศาสนากับความกาวหนาทาง
เศรษฐกิจ
สรุป พุทธเศรษฐศาสตร คือ แนวคิดและการปฏิบัติที่อิงกับหลักธรรมทางพุทธศาสนา โดยยึดหลักสําคัญ 2 ประการ
1. บริโภคเทาที่จําเปน
2. ตระหนักถึงผลเสียที่จะเกิดขึ้น

163. ทองถิ่นนิยม เปนแนวความคิดที่ใหความสําคัญกับรากฐานทางดานใด


ก. ทรัพยากร ข. ภูมิปญญา
ค. พัฒนาการ ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. – เมื่อเขาสูคริสตศตวรรษที่21 สังคมโลกมีลักษณะเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน แนวความคิดทองถิ่นนิยม
(Localism) ก็ไดรับความสนใจมากที่มีความสําคัญกับรากฐานทาง ทรัพยากร ภูมิปญญา พัฒนาการและประวัติศาสตร
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 42

164. เจมสมิตเตลมาน (James Mittelman) ใหความหมายของคําวาโลกาภิวัตนไววาอยางไร


ก. เปนทั้งแนวคิดเกี่ยวกับการบีบอัดของพื้นที่เวลา และสํานึกตอโลกโดยรวม
ข. การติดตอระหวางสังคมภายใตมิติของเวลาและพื้นที่ที่ถูกบีบอัดจนเล็กลง
ค. ปรากฏการณของกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่ทําใหโลกเชื่อมโยงถึงกันอยางไรพรมแดน
ง. การพัฒนาในที่แหงใดแหงหนึ่งของโลก ซึ่งอาจสงกระทบตอภูมิภาคที่อยูไกลออกไป
ตอบ ข. – โลกาภิวัตน (Globalization) หมายถึง การแพรกระจายไปทั่วโลกฯ
1. เจมส มิตเตลมาน (Jame Mittelman) การติดตอระหวางสังคมภายใตมิติของเวลาและพื้นที่
2. โรแลด โรเบิรตสัน (Roland Robertson) เปนทั้งแนวคิดเกี่ยวกับการบีบอัดของพื้นที่และเวลา
3. กวัลชิต สิงห (Kavaljit Singh)โลกซึ่งมีกระบวนการดานเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมอันซับซอน
4. เกรียงศักดิ์ เจริญวงศศักดิ์ ปรากฎการณของกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่ทําใหโลกเชื่อมโยงถึงกันอยางไรพรมแดน

165. แนวความคิดที่กลาววา โลกาภิรัตนเกิดขึ้นโดยอิสระ และสัมพันธกับพัฒนาการทางประวัติศาสตรคือนักคิดกลุมใด


ก. กลุมสายกลาง ข. กลุมตอตานโลกาภิวัตน
ค. กลุมนักโลกาภิวตั นนิยม ง. กลุมสนับสนุนโลกาภิวัตน
ตอบ ค. – การเกิดโลกาภิวัตน มี 2 กลุม
1. กลุมนักโลกาภิวัตนนิยม เกิดขึ้นโดยอิสระ และสัมพันธกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร
2. กลุมผูที่สงสัย เปนอุดมการณไปสูเปาหมายที่ตั้งไว

166. ทองถิ่นนิยมเปนแนวความคิดที่ใหความสําคัญกับรากฐานทางดานใด
ก. เศรษฐกิจแบบใหม ข. แนวคิดทางสายกลาง
ค. ประวัติศาสตรของทองถิ่น ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ค. – เมื่อเขาสูคริสตศตวรรษที่21 สังคมโลกมีลักษณะเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน แนวความคิดทองถิ่นนิยม
(Localism) ก็ไดรับความสนใจมากที่มีความสําคัญกับรากฐานทาง ทรัพยากร ภูมิปญญา พัฒนาการและประวัติศาสตร

167. จริยศาสตรมีซื่อเรียกอีกอยางหนึ่งวา
ก. ปรัชญาศีลธรรม ข. ปรัชญาจิตวิทยา
ค. ปรัชญาศาสนา ง. ปรัชญาชีวิต
ตอบ ก. – จริยศาสตร เปนวิชาอยูในสาขาปรัชญาที่เรียกวา “คุณวิทยา” หรือทฤษฎีคุณคา ( Axiology-axios
เปนคําภาษากรีก แปลวา คุณคา) จริยศาสตรนั้นเปนวิชาที่ศึกษาเหตุผลของศีลธรรมและเนื้อหาของวิชาจริยศาสตร ก็คือ
ศีลธรรม ดังนั้น จริยศาสตรจึงมีชื่อเรียกอีกอยาวา “ปรัชญาศีลธรรม” (moral philosophy)
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 43

168. ในบรรดาคําตางๆ ที่เกี่ยวของกับวิชาจริยศาสตร คําคําใดที่บงชี้ถึงสภาพของจิตใจที่ดีมากกวาสภาพของการกระทํา


ของรางกาย
ก. จริยธรรม ข. ศีลธรรม
ค. คุณธรรม ง. เสวนาธรรม
ตอบ ค. – ปญหาเรื่องมาตรฐานการตัดสินความดีชั่วของการกระทําของมนุษย อริสโตเติลใชคุณธรรมเปน
มาตรฐานตัดสินคนดี คือ คนที่มีคุณธรรม

169. การรับรูเชิงจริยธรรมเรื่มเกิดชี้นมาเมื่อใด
ก. เมื่อเกิดมีมนุษยพรอมดวยมโนธรรมในจิตใจ
ข. เมื่อเกิดศาสนาที่นับถือเทพเจาขึ้นมา
ค. เมื่อเกิดจารีตประเพณีขึ้นมาเปนกฎเกณฑของหมูคณะ
ง. เมื่อผูปกครอง เชน กษัตริยสรางกฎเกณฑความประพฤติของสังคม คือ กฎหมายขึ้นมา
ตอบ ก. – วิวัฒนาการของการรับรูทางจริยธรรม เปนการศึกษาในแงประวัติศาสตร วามนุษยเริ่มมีการรับรูเกี่วกับ
พฤติกรรมดี ชั่ว มาแตเมื่อใดนั้น ก็เปนการแสดงถึงปรากฎตัวขึ้นมาของมโนธรรม

170. วิวัฒนาการของปรัชญาศีลธรรมชวงสมัยใหมนั้น มีนักคิดสมัยใหมใหแนวทางในการดําเนินชีวิตอยางเปนอิสระจาก


การยึดถือในคําสอนของศาสนา ขอใดไมไชแนวทางที่นักคิดสมัยใหมไดเสนอไวใหเปนหลักยึด
ก. ความสํานึกในหนาที่ ข. ผลประโยชนสวนตัวในความเพลิดเพลินทางกาย
ค. ผลประโยชนสวนรวมจํานวนมาก ง. ความเสมอภาค
ตอบ ง. – ในวงการของศีลธรรมชวงสมัยใหมนั้น มนุษยอยูรวมกันในสังคมไดอยางสันติ มี 4 แนวทาง คือ
1. ใชความสํานึกในหนาที่
2. ใชผลประโยชนสวนตัว
3. ใชหลักประโยชนสวนรวม
4. ใชจารีตประเพณี วัฒนธรรม และสังคม

171. การรับรูดานอารมณ ความคิดสรางสรรคของมนุษย ดวยอยูกับการทํางานของสมองสวนใด


ก. กานสมองซีกซาย ข. กานสมองซีกขวา
ค. สมองใหญซีกซาย ง. สมองใหญซีกขวา
ตอบ ง. –สมองสวนควบคุมการคิด (cerebrum) จะอยูบริเวณตอนบนของศรีษะเปนสมองใหญ แบง 2 ซีก
1. สมองซีกขวา ควบคุมการเคลื่อนไหวรางกายดานซาย การรับรูดานอารมณ ความคิดสรางสรรค จินตนาการ
2. สมองซีกซาย ควบคุมการเคลื่อนไหวรางกายดานขวา การรับรูที่เปนเหตุเปนผล การคิดวิเคราะห การพูด การ
คํานวณ การใชภาษา
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 44

172. การใชภาษาเปนสื่อในการแสดงออกทางความคิดของมนุษยมีรูปแบบใดที่เกี่ยวของโดยตรงกับการใชเหตุผล
ก. การอธิบาย ข. การบรรยาย
ค. การพรรณนา ง. การบอกเลา
ตอบ ก. – การแสดงออกทางความคิดมี 4 รูปแบบ
1. การพรรณนา แสดงอารมณและความรูสึก
2. การบรรยาย การนําเสนอขอมูลตามขอเท็จจริง
3. การอธิบาย การแสดงใหผูอื่นเขาใจในสิ่งที่ตนไดพิจารณาวิเคราะห จนเปนความรู ความเขาใจ
4. การชวนใหเชื่อ การแสดงใหผูอื่นเชื่อถือและยอมรับในสิ่งที่ตนเองเชื่อ

173. ชาวกรีกโบราณสามารถพัฒนาความรูดานการใชเหตุผลอยางเปนระบบดวยปจจัยสําคัญอยางไร
ก. สังคมกรีกมีความเชื่อในอํานาจคักดิ์สิทธิ์ของเทพเจา
ข. การอธิบายธรรมชาติโดยอาศัยสิ่งเหนือธรรมชาติ
ค. ความรูที่ควรแสวงหาคาอะตอมตามแนวคิดสะสารนิยม
ง. เชื่อวาโลกนี้คือจักรวาลที่มีระบบสามารถรู ไดดวย สติปญญาของมนุษย
ตอบ ง. – การพบเอกภาพของความรู ชาวกรีกสมัยปรัชญาไดสังเกตเห็นความเปนไปของสรรพสิ่งในธรรมชาติ
เชื่อวาโลกนี้ คือ จักรวาลที่มีระบบสามารถรับรูไดดวยสติปญญาของมนุษย

174. การใชเหตุผลแบบนิรนัยมีลักษณะสําคัญอยางไร
ก. การนิรนัยเปนการอางจากสิ่งเฉพาะไปลสื่งทั่วไป
ข. การนิรนัยอางหลักฐานจากสื่งที่ยอมรับอยูแลววาจริงเปนความรูเดิม
ค. การนิรนัยหาหลักฐานความถูกตองจากขอเท็จจริง
ง. ขอสรุปของนิรนัยเปนความรูทั่วไปที่มักจะเกิดจากขออาง
ตอบ ข. – การใชเหตุผลแบบนิรนัย มีลักษณะอาศัยขออางจากความรูเดิม
- การใชเหตุผลแบบอุปนัย มีลักษณะหาขอสรุป
- การใชเหตุผลแบบวิทยาศาสตร เปนวิธีการอุปนัยแบบหนึ่ง โดยใชอุปนัยแสวงหาความรูใหม และใชการนิรนัย
ตรวจสอบความรูที่ไดมา

175. ตนสนทุกชนิด เปนสิ่งที่มีใบสีเขียว ฉัตรฟา เปนสนชนิดหนึ่ง จากการอางเหตุผลแบบรูปนิรนัยดังกลาวจงหาขอสรุปที่


สมเหตุผล
ก. เพราะฉะนั้นฉัตรฟาเปนสื่งที่มีใบสีเขียว ข. เพราะฉะนั้นฉัตรฟาเปนสวนหนึ่งของตนสน
ค. เพราะฉะนั้นฉัตรฟานาจะเปนชนิดหนึ่งของตนสน ง. เพราะฉะนั้นฉัตรฟามีแนวโนมที่จะมีสําตนสีเขียว
ตอบ ก. – การใชเหตุผลแบบนิรนัย มีลักษณะอาศัยขออางจากความรูเดิม
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 45

176. ความรูทางวิทยาศาสตรมีลักษณะอยางไร
ก. เปนความรูที่ไดมาจากการคิดใชเหตุผล ข. เปนความรูที่ชัดเจนถึงแนนอนตายตัว
ค. เปนความรูที่ใหพลังงานจึงมีประโยชน ง. เปนความรูที่เปนสาธารณะไมใชเรื่องที่จะรูเฉพาะตัว
ตอบ ง. – ความทางวิทยาศาสตรมีพื้นฐานอยูบนวิธีการอุปนัย คือ
1. ไดมาจากประสาทสัมผัส
2. เปนความรูที่ไมตายตัว
3. ใหพลังงานความรูและใชในการทํานายอนาคต
4. เปนความรูที่เปนสาธารณะ

177. ปรัชญาศีลธรรม เปนอีกชื่อหนึ่งของวิชา


ก. สุนทรียศาสตร ข. ศาสนา
ค. จิตวิทยา ง. จริยศาสตร
ตอบ ง. – จริยศาสตร เปนวิชาอยูในสาขาปรัชญาที่เรียกวา “คุณวิทยา” หรือทฤษฎีคุณคา ( Axiology-axios
เปนคําภาษากรีก แปลวา คุณคา) จริยศาสตรนั้นเปนวิชาที่ศึกษาเหตุผลของศีลธรรมและเนื้อหาของวิชาจริยศาสตร ก็คือ
ศีลธรรม ดังนั้น จริยศาสตรจึงมีชื่อเรียกอีกอยาวา “ปรัชญาศีลธรรม” (moral philosophy)

178. ในบรรดาคําตางๆ ที่เกี่ยวของกับวิชาจริยศาสตร คําคําใดมีความหมายคลายกันและแทนกันไดในวงการ วิชาการทาง


ตะวันตก
ก. จริยธรรม - ศีลธรรม ข. คุณธรรม-จริยธรรม
ค. คุณธรรม - ศีลธรรม ง. ศีลธรรม – มโนธรรม
ตอบ ก.

179. ในวิวัฒนาการ การรับรูเชิงจริยธรรมนั้นจริยศาสตรเกิด ขึ้นเมื่อ


ก. เมื่อเกิดศาสนาที่นับถือเทพเจา
ข. เมื่อมีนักปรัชญาใชเหตุผลหากฎเกณฑความประพฤติโดยไมอิงศาสนา
ค. เมื่อเกิดจารีตประเพณีขึ้นมาเปนกฎเกณฑของหมูคณะ
ง. เมื่อผูปกครองสรางกฎหมายขึ้นมาปกครองสังคม
ตอบ ข.
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 46

180. วิวัฒนาการของปรัชญาศีลธรรมชวงสมัยใหมนั้น มีนักคิดสมัยใหมใหแนวทางในการดําเนินชีวิตอยางเปนอิสระจาก


การยึดถือในคําสอนของศาสนา ขอใดเปน แนวทางอยางหนึ่งที่นักคิดสมัยใหมไดเสนอไวใหเปน หลักยึด
ก. ความยุติธรรม ข. ความเมตตา
ค. ผลประโยชนสวนรวมจํานวนมาก ง. ความเสมอภาค
ตอบ ค. – ในวงการของศีลธรรมชวงสมัยใหมนั้น มนุษยอยูรวมกันในสังคมไดอยางสันติ มี 4 แนวทาง คือ
1. ใชความสํานึกในหนาที่
2. ใชผลประโยชนสวนตัว
3. ใชหลักประโยชนสวนรวม
4. ใชจารีตประเพณี วัฒนธรรม และสังคม

181. สมองสวนควบคุมการคิด ซีกขวาของมนุษยจะทําหนาที่อยางไร


ก. ควบคุมการหายใจ ข. ควบคุมการไหลเวียนของโลหิต
ค. การรับรูดานอารมณ ง. การรับรูที่เปนเหตุเปนผล
ตอบ ค. – สมองสวนควบคุมการคิด (cerebrum) จะอยูบริเวณตอนบนของศรีษะเปนสมองใหญ แบง 2 ซีก
1. สมองซีกขวา ควบคุมการเคลื่อนไหวรางกายดานซาย การรับรูดานอารมณ ความคิดสรางสรรค จินตนาการ
2. สมองซีกซาย ควบคุมการเคลื่อนไหวรางกายดานขวา การรับรูที่เปนเหตุเปนผล การคิดวิเคราะห การพูด การ
คํานวณ การใชภาษา

182. ภาษาที่มนุษยใชสื่อแสดงออกถึงการคิดเหตุผลไดแก รูปแบบในขอใด


ก. การบอกเลา ข. การชวนใหเชื่อ
ค. การบรรยาย ง. การพรรณนา
ตอบ ข. – การแสดงออกทางความคิดมี 4 รูปแบบ
1. การพรรณนา แสดงอารมณและความรูสึก
2. การบรรยาย การนําเสนอขอมูลตามขอเท็จจริง
3. การอธิบาย การแสดงใหผูอื่นเขาใจในสิ่งที่ตนไดพิจารณาวิเคราะห จนเปนความรู ความเขาใจ
4. การชวนใหเชื่อ การแสดงใหผูอื่นเชื่อถือและยอมรับในสิ่งที่ตนเองเชื่อ

183. ความเชื่อของชาวกรีกโบราณที่วา “โลกนี้คือจักรวาล ที่มีความเกี่ยวของสัมพันธกันอยางมีเอกภาพสามารถ เขาถึงได


ดวยสติปญญาของมนุษย ”คําอธิบายดังกลาว สัมพันธกับขอใดมากที่สุด
ก. การพบเอกภาพของความรูเปนปจจัยในการพัฒนาระบบความรู
ข. การอธิบายปรากฏการณธรรมชาติดวยปฐมธาตุของจักรวาล
ค. การแสวงหาความรูเพื่อตอบสนองการดํารงชีวิตอยางมีความสุข
ง. การสนทนาโตแยงอยางเสรีดวยเหตุผลจึงมีสังคมที่รักเหตุผล
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 47

ตอบ ก. – การพบเอกภาพของความรู ชาวกรีกสมัยปรัชญาไดสังเกตเห็นความเปนไปของสรรพสิ่งในธรรมชาติ


เชื่อวาโลกนี้ คือ จักรวาลที่มีระบบสามารถรับรูไดดวยสติปญญาของมนุษย

184. การนิรนัยมีลักษณะที่สําคัญเดนชัดอยางไร
ก. เปนการอางหลักฐานจากขอเท็จจริงที่ปรากฏ
ข. เปนการอางที่ทําใหไดขอสรุปที่ไมแนนอนเปนความนาจะเปน
ค. เปนการอางจากความจริงของสื่งยอยไปสูหลักการใหญ
ง. เปนการอางตามหลักเหตุผลเนนความสมเหตุสมผล
ตอบ ง. – การใชเหตุผลแบบนิรนัย มีลักษณะอาศัยขออางจากความรูเดิม
- การใชเหตุผลแบบอุปนัย มีลักษณะหาขอสรุป
- การใชเหตุผลแบบวิทยาศาสตร เปนวิธีการอุปนัยแบบหนึ่ง โดยใชอุปนัยแสวงหาความรูใหม และใชการนิรนัย
ตรวจสอบความรูที่ไดมา

185. ถาหยาดพิรุณทํายอดจําหนายไดมาก เธอจะไดรับรางวัลพิเศษ หยาดพิรุณทํายอดจําหนายไดมาจากการอางเหตุผล


แบบเงื่อนไขดังกลาวจงหาขอสรุปที่สมเหตุสมผล
ก. เพราะฉะนั้นหยาดพิรุณเปนตัวแทนจําหนายที่ดี
ข. เพราะฉะนั้นหยาดพิรุณจะไดรับรางวัลพิเศษ
ค. เพราะฉะนั้นหยาดพิรุณจะไดรับรางวัลพนักงานดีเดน
ง. เพราะฉะนั้นหยาดพิรุณจะไดการแตงตั้งเปนผูจัดการ
ตอบ ข.

186. ขอใดที่มิใชลักษณะของความรูทางวิทยาศาสตร
ก. เปนความรูที่เปนสาธารณะ ข. เปนความรูที่ชัดเจนถึงแนนอนตายตัว
ค. เปนความรูที่ไดมาจากประสาทสัมผัส ง. เปนความรูที่ใหพลังใชในการทํานายอนาคต
ตอบ ข. – ความทางวิทยาศาสตรมีพื้นฐานอยูบนวิธีการอุปนัย คือ
1. ไดมาจากประสาทสัมผัส
2. เปนความรูที่ไมตายตัว
3. ใหพลังงานความรูและใชในการทํานายอนาคต
4. เปนความรูที่เปนสาธารณะ

187. อารยธรรมตะวันตกยุคใหมที่ขยายอิทธิพลไปยังดินแดนตางๆ ทั่วโลกโดยใชอะไรเปนเครื่องมือ


ก. ศาสนา ข. เศรษฐกิจ
ค. สังคม ง. การเมือง
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 48

ตอบ ค. - อรชุน อัปปาดูไร (Arjun Appadurai) ที่เห็นวา โลกในสังคมยุคโลกาภิวัฒนเปนยุคที่วัฒนธรรมมี


การเคลื่อนไหวผานพื้นที่ทางสังคม

188. อารยธรรมโลกยุคโลกาภิวัตนเกิดจากอิทธิพลใด
ก. การเคลื่อนยายของประชากร ข. กระแสเงินตรา
ค. กระแสความคิด ง. การพัฒนาระบบสารสนเทศ
ตอบ ง.

189. ความแตกตางทางวัฒนธรรมนั้น ในทางมานุษยวิทยาใชคําวาอะไร


ก. กลุมชาติพันธ ข. ความหลากหลายของวัฒนธรรม
ค. การขามวัฒนธรรม ง. อารยธรรมโลก
ตอบ ก.

190. แนวคิดขามพรมแดนทางอารยธรรมสังคมโลกยุคโลกาภิวัตนใหความสําคัญกับปจจัยใด
ก. การหยุดการเคลื่อนยายของประชากร ข. กระแสเงินตราหรือธนาทัศน
ค กระแสจารีตประเพณีทองถิ่น ง. ศาสนาประยุกต
ตอบ ข. – แนวคิดขามพรมแดนทางวัฒนธรรม (อารยธรรม) ในยุคโลกาภิวัฒนมีปจจัยดังการเสนอของ อรชุน อัป
ปาดูไร (Arjun Appadurai) ที่เห็นวา โลกในสังคมยุคโลกาภิวัฒนเปนยุคที่วัฒนธรรมมีการเคลื่อนไหวผานพื้นที่ทาง
สังคม 5 กระแส คือ
1. กระแสเคลื่อนยายประชากร หรือมนุษยทัศน (Ethnoscapes)
2. กระแสเงินตรา หรือธนาทัศน (Financescape)
3. กระแสเทคนิควิทยา หรือวิทยาทัศน (Technoscape)
4. กระแสสื่อทัศน (Mediascape)
5. กระแสความคิด หรืออุดมการณทัศน (Ideoscape)

191. ถาวัฒนธรรม 2 กลุมถูกผสมรวมกันเปนชุดเดียวกันเรียกการกระทําในลักษณะดังกลาวนี้วาอะไร


ก. ความขัดแยงทางวัฒนธรรม ข. การยอมรับวัฒนธรรม
ค. การผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรม ง. การแพรกระจายของวัฒนธรรม
ตอบ ค. – การผสมผสานทางวัฒนธรรม หรือการสังสรรคทางวัฒนธรรม เปนกระบวนการติดตอของกลุมที่ตาง
วัฒนธรรมกัน เปนผลใหกลุมหนึ่งรับวัฒนาธรรมอีกกลุมหนึ่งมาใช หรือทั้ง 2 กลุมอาจเปนทั้งฝายรับและฝายใหแลกเปลี่ยนก็
ได ถาวัฒนธรรม 2 กลุมถูกผสมรวมกันเปนชุดเดียวก็จะเปนการผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรม
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 49

192. ประเทศที่เกิดขึ้นใหมมักจะเปนรัฐพหุวัฒนธรรม เพราะอะไร


ก. เกิดการเคลื่อนยายของประชากรกลุมชาติพันธุตางๆ เขาไปตั้งถิ่นฐาน
ข. คนกลุมนอยไปอาศัยอยูกับคนกลุมใหญก็จะรับเอาวัฒนธรรมคนกลุมใหญ
ค. การไมมืวัฒนธรรมเปนของตนเองตองนําวัฒนธรรมจากที่อื่นมาปรับใช
ง. การตั้งประเทศเกิดจากการสนับสนุนของประเทศใหญ
ตอบ ก. – ประเทศที่เกิดขึ้นใหมมักจะเปนพหุวัฒนธรรม เพราะมีการเคลื่อนยายของประชากรกลุมชาติพันธตาง
เขาไปตั้งถิ่นฐาน เชน สหรัฐอเมริกา มีชาวอินเดียนแดงเผาตางๆเปนกลุมคนดั้งเดิม

193. ทฤษฎีที่จะทําใหสังคมปรับตัวใหทันกับการเปลี่ยนแปลงของโลกยุคโลกาภิวัตนควรศึกษาจากทฤษฎีใด
ก. ทฤษฎีการแยกขั้ว ข. ทฤษฎีการผสมผสานทางวัฒนธรรม
ค. ทฤษฎีการกลายเปนเนื้อเดียวกัน ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. – ทฤษฎีกระแสโลกาภิวัฒนมี 3 ทฤษฎี คือ
1. ทฤษฎีการกลายเปนเนื้อเดียวกัน (Homogenization) ทําใหเกิดความเหมือนและความคลายคลึงกัน
ทางดานวัฒนธรรม
2. ทฤษฎีการแยกขั้ว (Polarization) สามารถนําไปสูความขัดแยง และสงครามทางวัฒนธรรม
3. ทฤษฎีการผสมผสานหรือทฤษฎีพันทาง (Hybridization) ทําใหเกิดการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมกัน

194. ทฤษฎีการกลายเปนเนื้อเดียวกัน (Homogenization)เปนกระบวนการโลกาภิวัตนทําใหเกิดอะไร


ก. ความขัดแยงและสงครามทางวัฒนธรรม
ข. การแลกเปลี่ยนและหยิบยืมองคประกอบทางวัฒนธรรมระหวางกัน
ค. ความเหมือนและความคลายคลึงกันทางดานวัฒนธรรม
ง. กระบวนการผสมผสานทางวัฒนธรรม
ตอบ ค. – ทฤษฎีกระแสโลกาภิวัฒนมี 3 ทฤษฎี คือ
1. ทฤษฎีการกลายเปนเนื้อเดียวกัน (Homogenization) ทําใหเกิดความเหมือนและความคลายคลึงกัน
ทางดานวัฒนธรรม
2. ทฤษฎีการแยกขั้ว (Polarization) สามารถนําไปสูความขัดแยง และสงครามทางวัฒนธรรม
3. ทฤษฎีการผสมผสานหรือทฤษฎีพันทาง (Hybridization) ทําใหเกิดการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมกัน

195. การขับเคลื่อนโดยกลไกทางสังคมที่มืความสัมพันธเกี่ยวเนื่องกัน ตองคํานึงถึงเรื่องใดเปนสําคัญ


ก. เสรีภาพในการแสดงออก ข. สิทธิมนุษยชน
ค. ความเสมอภาคในสังคม ง. ภราดรภาพของประเทศ
นครสยาม www.nakonsiam.com แนวขอสอบชุดวิชา อารยธรรมมนุษย 10121 50

ตอบ ก. – กระบวนการขับเคลื่อนทางวัฒนธรรมอาศัยกลไกทางสังคม 3 ประการคือ


1. พลังการตอรองความหมายทางวัฒนธรรมระหวางรัฐ
2. พื้นที่ทางความคิดและสังคม
3. การสื่อสาร
การขับเคลื่อนโดยกลไกทางสังคมยอมมีความสัมพันธเกี่ยวเนื่องกัน แตตองคํานึงถึงความมีเสรีภาพในการ
แสดงออก

196. ขอใดไมไชของหลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี
ก. หลักนิติธรรม ข. หลักประโยชนนิยม
ค. หลักความโปรงใส ง. หลักการมีสวนรวม
ตอบ ข. – หลักการบริหารกิจการบานเมืองระดับภาครัฐและระดับองคกร ประกอบดวย
1. หลักนิติธรรม 2. หลักคุณธรรม 3. หลักความโปรงใส 4. หลักความมีสวนรวม 5. หลักความรับผิดชอบ 6. หลัก
ความคุมคา

197. โลกยุคโลกาภิวัตนเปนผลของการพัฒนาในดานใด
ก. การศึกษา ข. การสื่อสาร
ค. ความคิด ง. การเมือง
ตอบ ข.

198. การขับเคลื่อนโดยกลไกทางสังคมที่มืความสัมพันธเกี่ยวเนื่องกัน ตองคํานึงถึงเรื่องใดเปนสําคัญ


ก. สิทธิของพลเมือง ข. เสรีภาพในการแสดงออก
ค. ความเสมอภาคในสังคม ง. ภราดรภาพของประชาชน
ตอบ ข.

199. ขอใดคือของหลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี
ก. หลักลัมพันธนิยม ข. หลักประโยชนนิยม
ค. หลักความโปรงใส ง. หลักประชานิยม
ตอบ ค. – หลักการบริหารกิจการบานเมืองระดับภาครัฐและระดับองคกร ประกอบดวย
1. หลักนิติธรรม 2. หลักคุณธรรม 3. หลักความโปรงใส 4. หลักความมีสวนรวม 5. หลักความรับผิดชอบ 6. หลัก
ความคุมคา
https://www.facebook.com/nakonsiam

You might also like