You are on page 1of 49

การบริหารราชการไทย

33201
หน่ วยที่ 1 แนวคิดและหลักการเกีย่ วกับการบริหารราชการ
การบริหารราชการ เป็นการจัดทําบริ การสาธารณะเพื่อแก้ปัญหาความเดือดร้อนของ
ประชาชนทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม และตอบสนองความต้องการและข้อเรี ยกร้องของ
ประชาชนโดยรัฐได้จดั ตั้งองค์การภาครั ฐและเจ้าหน้าที่ของรัฐเป็ นผูด้ าํ เนินการตามนโยบายที่
รัฐบาลเป็นผูก้ าํ หนดโดยยึดหลักการจัดระเบียบบริ หารราชการ 3 หลักการ ได้แก่
1 หลักการรวมอานาจ เป็ นหลักที่วางระเบียบการบริ หาราชการโดยรวมอํานาจไว้ที่
ราชการส่วนกลาง อันได้แก่กระทรวง ทบวง กรม มีเจ้าหน้าที่ราชการส่ วนกลางซึ่ง
ขึ้นต่อกันตามลําดับชั้นของสายการบังคับบัญชา
2 หลักการแบ่ งอานาจ เป็นหลักการที่ราชการส่ วนกลางมอบอํานาจในการวินิจฉัยสัง่
การในการดําเนินการบางส่วนให้แก่เจ้าหน้าที่ที่เป็นผูแ้ ทนของราชการส่ วนกลาง
ซึ่งส่ งไปประจําปฏิบตั ิงานตามส่ วนภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศ เจ้าหน้ าที่เหล่านั้น
เป็นข้าราชการที่ส่วนกลางแต่งตั้งทั้งสิ้ น
3 หลักการกระจายอานาจ เป็นวิธีการที่รัฐโอนอํานาจในการบริ หารกิจการบาง
ประเภทให้แก่องค์การบริ หารที่อยูใ่ นเขตพื้นที่ต่าง ๆ ไปดําเนิ นการโดยตรงโดยมีอิสระไม่
ต้องอยูใ่ นบังคับบัญชาจากส่ วนกลาง
ระบบราชการประกอบด้วยส่ วนสําคัญ 2 ส่ วนคือ องค์กรภาครัฐ และบุคลากรภาครัฐ
กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริ หาราชการแผ่นดิน แบ่งการบริ หารออกเป็น 3 ส่ วน คือ
1 การบริ หารราชการส่วนกลาง
2 การบริ หารราชการส่วนภูมิภาค
3 การบริ หารราชการส่วนท้องถิ่น รวมทั้งรัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน และองค์กร
อิสระของรัฐตามรัฐธรรมนูญ ปี 40
พันธกิจของระบบราชการคือ การจัดทําบริ การสาธารณะเพื่อแก้ไขปัญหาและ
ตอบสนองความต้องการและข้อเรี ยกร้องของประชาชน

1
กระบวนการบริ หาราชการประกอบด้วย
1 การวางแผนในระบบราชการ
2 การจัดองค์การในภาคราชการ
3 กระบวนการจัดคนเข้าทํางานและให้บริ การภาครัฐ
4 การอํานวยการ
5 การควบคุมการบริ หารราชการ
คุณค่าของการบริหาร
1 ประหยัด ทําอย่างไรจะจ่ายแต่นอ้ ยแต่คุม้ ค่า
2 มีประสิทธิภาพ หมายถึงการดําเนิ นการที่คุม้ ค่ากับการลงทุน
3 มีประสิทธิผล หมายถึง ทํางานบรรลุเป้ าหมายที่วางไว้
4 เกิดความเป็ นธรรม หมายถึง การบริ หารอย่างเสมอหน้ากันทุกคนมีโอกาสที่
เท่ากัน
5 มีความซื่อสัตย์และมีเกียรติ หมายถึงการทํางานที่ถูกต้องตามระเบียบแบบแผน
ธรรมเนียม ปราศจากการตุกติก หรื อเห็นแก่อมิสสิ นจ้าง
ประเภทภารกิจของระบบราชการ
1 ประเภทบริ การสังคม เช่น การศึกษา การป้ องกันประเทศ การรักษาความสงบ
เรี ยบร้อย การสาธารณสุข เป็ นต้น
2 ประเภทควบคุมและจัดระเบียบ มีวตั ถุประสงค์เพื่อเข้าแทรกแซงกิจการในตลาด
ภาคเอกชน เพื่อรักษาความเป็นธรรมในการแข่งขัน เช่น การจดทะเบียน
ผูป้ ระกอบการ
3 ประเภทงานสนับสนุน เช่น การบริ หารบุคลการในภาพรวม การจัดหารายได้
(สรรพากร)เป็ นต้น
4 ประเภทงานสงเคราะห์และช่วยเหลือ เช่น งานสวัสดิการสังคม งานพัฒนาชุมชน
เป็ นต้น

2
ข้อควรคํานึงในการดําเนินการของราชการ ซึ่ งจะทําให้เกิดความพึงพอใจแก่
ผูใ้ ช้บริ การ
1 ความเท่าเทียมกัน ในการได้รับการบริ การ
2 เวลาที่เหมาะสม เป็นการดําเนิ นการที่ทนั ต่อเวลาทันต่อเหตุการณ์
3 ประมาณที่เหมาะสม
4 มีความต่อเนื่ อง
5 มีความทันสมัย
ส่ วนประกอบของราชการ
1 การบริ หาราชการส่ วนกลาง แบ่งอกเป็น 4 ส่ วนคือ
1.1 สํานักนายกรัฐมนตรี มีฐานะเป็นกระทรวง อยูใ่ ต้การบังคับบัญชาชอง
นายกรัฐมนตรี
1.2 กระทรวง ทั้งหมด 19 กระทรวง อยูภ่ ายใต้การดูแลของรัฐมนตรี
1.3 ทบวงซึ่งสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี หรื อกระทรวง
1.4 กรม หรื อส่ วนราชการอย่างอื่นที่มีฐานนะเป็นกรม ซึ่งมีอยู่ 9 หน่วยงาน คือ
สํานักราชเลขาธิการ สํานักพระราชวัง สํานักงานพระพุทธศาสนา
สํานักงานคณะกรรมการพืเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดําริ สํานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่ งชาติ ราชบัณฑิตยสถาน
สํานักงานตํารวจแห่ งชาติ สํานักงานป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
สํานักงานอัยการสูงสุด
2 การบริ หารราชการส่วนภูมิภาค (จังหวัดและอําเภอ)
จังหวัด เป็นนิติบุคคล ประกอบด้วยอําเภอต่าง ๆ การจัดตั้งและยุบและเปลี่ยนแปลงเขต
จังหวัดให้ตราเป็ นพระราชบัญญัติ
อําเภอ การจัดตั้งและยุบรวมและเปลี่ยนแปลงอําเภอให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา
หมายเหตุ ตําบลและหมู่บา้ นเป็นองค์กรการปกครองตามกฎหายว่าด้วยลักษณะ
การปกครองท้องที่
ตําบล สามารถยกฐานะได้โดยประกาศกระทรวงมหาดไทย และประกาศในพระราชกิจจา
นุเบกษา
3
หมู่บา้ น
3 การบริ หารราชการส่วนท้องถิ่น
องค์การบริ หารส่ วนจังหวัด
เทศบาล
องค์การบริ หารส่ วนตําบล
องค์การบริ หารงานส่ วนท้องถิ่นรู ปแบบพิเศษ มี 2 หน่วยงานคือ
กรุ งเทพมหานคร
เมืองพัทยา
บุคลากรของรัฐ คือบุคคลหรื อเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบตั ิหน้าที่อยูใ่ นระบบราชการไทย
อันหมายรวมถึงข้าราชการทุกประเภท ลู กจ้างของส่ วนราชการ พนักงานในราชการ
บริ หารงานส่วนท้องถิ่น องค์การมหาชน องค์กรอิสระภาครัฐจัดตั้งตามบทบัญญัติของ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 องค์กรภาครัฐที่ไม่ใช่ส่วนราชการและ
หมายรวมถึงพนักงานรัฐวิสาหกิจด้วย
ประเภทบุคลากรของรัฐ
1 ข้าราชการ ประกอบด้วย
1 ข้าราชการการเมือง
2 ข้าราชการทหาร
3 ข้าราชการพลเรื อน
4 ข้าราชการฝ่ ายตุลาการ
5 ข้าราชการศาลยุติธรรม
6 ข้าราชการฝ่ ายอัยการ
7 ข้าราชการครู
8 ข้าราชการพลเรื อนในมหาวิทยาลัย
9 ข้าราชการตํารวจ
10 ข้าราชการฝ่ ายรัฐสภา
11 ข้าราชการกรุ งเทพมหานครข้าราชการส่ วนจังหวัด

4
12 พนักงานเทศบาล
13 พนักงานส่วนตําบล
14 พนักงานบริ หารพิเศษพนักงานรัฐวิสาหกิจ
15 ลูกจ้างของส่วนราชการ ฯลฯ
กระบวนการบริหาราชการ
การวางแผนของระบบราชการไทยใช้วิธีการจากบนลงล่าง คือเริ่ มจากหน่วยงาน
ระดับชาติแล้วมอบหมายให้หน่วยงานระดับล่างลงมาวางแผนให้สอดคล้องกัน
การจัดองค์การในระบบราชการหรื อแบ่งส่ วนราชการมีหลักเบื้องต้นต้องให้มีรูปแบบ
เหมาะสมกับความมุ่งหมาย ครอบคลุมภาระกิจหน้าที่ สัมพันธ์และสอดคล้องกัน คํานึ งถึง
ปริ มาณและคุณภาพของงาน
การควบคุมการบริ หารราชการ
1 การควบคุมภายในวงราชการ
การควบคุมตามสายการบังคับบัญชา
กาควบคุมโดยหน่วยงานต่าง ๆ ของรัฐ เช่น สตง . เป็ นต้น
2 การควบคุมจากภายนอกราชการ
การควบคุมโดยกลุ่มผลประโยชน์
การควบคุมโดยสื่ อมวลชน
การควบคุมโดยพรรคการเมือง
การควบคุมโดยรัฐสภา
การควบคุมโดยตรงจากประชาชน

5
หน่ วยที่ 2
ประวัติและพัฒนาการของการบริหารราชการไทย
การบริหารราชการสมัยสุ โขทัย
สมัยสุโขทัย มีการบริ หารแบบพ่อปกครองลูก พระมหากษัตริ ยอ์ ยูใ่ นฐานะพ่อ และ
ผูป้ กครองต่าง ๆ อยูใ่ นฐานะลูก เป็นลักษณะการปกครองแบบครอบครัว
สภาพเศรษฐกิจ เน้นการประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม มีการค้าเครื่ องสังคโลกเป็น
หลัก
สภาพสังคม มีการแบ่งชั้นกันอย่างหลวม ๆ เพียงเพื่อให้แต่ละคนมีหน้าที่รับผิดชอบ
ในสังคมเท่านั้น
โครงสร้างการบริ หารราชการไทยสมัยกรุ งสุ โขทัย จะแบ่งออกเป็นชั้น ๆ คือ
1 ราชธานี (เมืองหลวง) ปกครองโดยพระมหากษัตริ ย ์
2 เมืองอุปราช ปกครองโดยอุปราช ซึ่ งเป็นผูท้ ี่จะดํารงตําแหน่งพระมหากษัตริ ย ์
ต่อไป เมืองลูกหลวงหรื อเมืองหน้าด่าน จะตั้งอยูร่ อบราชธานีท้ งั 4 ทิศ ใช้เวลา
เดินเท้า 2 วัน หรื อ ระยะทาง 50 กม. มีเชื้ อพระวงศ์ปกครอง
3 เมืองพระยามหานคร เป็นหัวเมืองชั้นนอก หรื อหัวเมืองใหญ่ ๆ มีเชื้ อพระวงศ์หรื อ
ขุนนางผูใ้ หญ่ เป็นผูป้ กครอง
4 เมืองประเทศราช เมืองที่อยูน่ อกราชอาณาจักร และมีชาวเมืองเป็นชาวต่างชาติ
หลักการบริ หารราชการสมัยสุโขทัย
1 การใช้อาํ นาจบริ หาร มี 2 ลักษณะคือ
ในราชธานีหรื อหัวเมืองชั้นใน ใช้การบริ หารแบบรวมอํานาจ คือรวมอํานาจไว้ที่
ส่วนกลาง
เมืองพระยามหานคร และเมืองประเทศราช ใช้การบริ หารแบบการกระจายอํานาจ
2 นโยบายในการบริ หาร ใช้หลักสําคัญ ๆ ดังนี้
การใช้ประโยชน์จากลัทธิวิญญาณนิ ยมหรื อการนับถือผี กล่าวคือ การนับถือผีจะทําให้
คนมีความเชื่อร่ วมกันทําให้ประชาชนมีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
การใช้พระพุทธศาสนาเป็นเครื่ องช่วยในการปกครอง ใช้ศาสนาในการอบรมสัง่ สอนซึ่ ง
ศาสนาจะมีความเป็ นเหตุเป็ นผลมากกว่าการนับถือผี
6
การใช้หลักการ ธรรมราชา เป็นเครื่ องช่วยในการปกครอง กล่าวคือเป็นหลักการที่เน้น
เกี่ยวกับการพระพุทธศาสนา เช่นการสร้างพระพุทธรู ป เป็นต้น
นโยบายการเอาใจใส่ต่อหัวเมืองต่าง ๆ
นโยบายการสร้างเมืองหน้าด่านให้มนั่ คงแข็งแรง
ชนชั้นทางสังคม
1 ชนชั้นปกครอง พระมาหากษัตริ ย ์ พระบรมวงศ์ศานุวงศ์ ขุนนาง ข้าราชการ
2 ชนชั้นใต้ปกครอง ไพร่ พวกข้า หรื อทาส
3 พวกนักบวชทางศาสนา
ความสัมพันธ์ระหว่างชนชั้นในสังคม
1 ความสัมพันธ์ในกลุ่มชนชั้นปกครอง ใช้ระบบเครื อญาติในการปกครอง ทําให้
ความสัมพันธ์แน่นแฟ้ น
2 ความสัมพันธ์ระหว่างชนชั้นปกครองกับชนชั้นใต้ปกครอง จะยึดถือคําสัง่ ชนชั้น
ปกครองอย่างเคร่ งครัดเฉพาะในช่วงศึกสงคราม ในยามปกติจะปฏิบตั ิตนในฐานะพลเมืองดี
ของประเทศ
3 ความสัมพันธ์ระหว่างพวกนักบวชทางศาสนากับชนชั้นปกครองและชนชั้นใต้
ปกครอง พวกนักบวชอยูใ่ นฐานะตัวเชื่ อมความสัมพันธ์ของทั้งสองชนชั้น
การบริ หารราชการไทยในสมัยกรุ งศรี อยุธยา
ลักษณะการบริ หาร เป็นแบบเทวสิ ทธิ์ เทวราชา ความสัมพันธ์อยูใ่ นรู ปแบบเจ้ากับข้า
หรื อนายกับบ่าว โดยได้แนวความคิดตามคติขอม ซึ่งได้มาจากอินเดียอีกต่อหนึ่ง
สภาพเศรษฐกิจ ขึ้นอยูก่ บั การทําเกษตร การทํานา และพืชผลต่าง ๆ
สภาพสังคม เป็นสังคมที่มีกฎเกณฑ์มากมาย ประชาชนทุกคนต้องมีนาย มีการแบ่งชน
ชั้นทางสังคม หรื อ ระบบ ศักดินา (การใช้ที่ดินเป็ นเกณฑ์การวัดทางสังคม)ศักดินา หมายถึง
อํานาจเหนือนา
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ มีเพื่อนบ้านที่สาํ คัญคือ พม่า เขมร ญวน มลายู ส่วน
ใหญ่ความสัมพันธ์ในรู ปของการทําสงคราม โดยเฉพาะกับพม่า
โครงสร้างของการบริ หารราชการไทยสมัยอยุธยา มีการเปลี่ยนแปลงสําคัญ ๆ 3 ครั้ง ครั้ง
สําคัญคือ
7
ครั้งสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงยกเลิกจตุสดมภ์ ยกเลิกเมืองลูกหลวงเป็น
หัวเมืองชั้นใน หัวเมืองชั้นนอก
หลักการการบริ หาราชการไทยในสมัยกรุ งศรี อยุธยา (มีดว้ ยกัน 3 ลักษณะ คือ)
1 แบบรวมอํานาจ ใช้กบั ราชธานี และหัวเมืองชั้นใน มีพระมหากษัตริ ยท์ รง
ดําเนินการบริ หารราชการ
2 แบบแบ่งอํานาจ ใช้กบั หัวเมืองชั้นนอก(เมืองพระยามหานคร)
ชนชั้นทางสังคม
ชนชั้นทางสังคมในสมัยกรุ งศรี อยุธยา
1 พระมหากษัตริ ย ์
2 ชนชั้นมูลนาย
3 ชนชั้นพิเศษ (สมณะชี พราหมณ์และชาวต่างประเทศที่เป็นพ่อค้า)
4 ชนชั้นไพร่ และทาส (ไพร่ หลวง ไพร่ สม)
การบริ หารราชการไทยในสมัยกรุ งรัตนโกสิ นทร์
การบริ หารราชการไทยในสมัยกรุ งรัตนโกสิ นทร์ตอนต้นยังคงเป็ นแบบสมัยกรุ งศรี
อยุธยา จนสมัยกระทัง่ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั (รัชกาลที่ 5) ได้มีการ
ปฏิรูประบบราชการใหม่ตามแบบประเทศตะวันตก เพื่อความเป็นปึ กแผ่นและมัน่ คงของ
ประเทศชาติ
โครงสร้างการบริ หารราชการไทยในสมัยกรุ งรัตนโกสิ นทร์ ได้มีการเปลี่ยนแปลงอย่าง
มากในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยแยกการบริ หารราชการทหารกับพลเรื อนออกจากกัน และจัด
ระเบียบการบริ หารราชการส่ วนกลางออกเป็นกระทรวงตามลักษณะงาน จัดราชการส่ วน
ภูมิภาคเป็นมณฑลเทศาภิบาล เพื่อควบคุมดูแลการบริ หารหัวเมืองให้ใกล้ชิดยิง่ ขึ้น
หลักการบริ หารราชการในสมัยรัตนโกสิ นทร์ใช้วิธีการบริ หารแบบรวมอํานาจใน
ราชการส่ วนกลาง แบบแบ่งอํานาจในราชการส่วนภูมิภาค และแบบกระจายอํานาจใน
ราชการส่ วนท้องถิ่น โดยให้ประชาชนมีส่วนช่วยในการบริ หารราชการด้วย ส่ วนพฤติ
กรมการบริ หารราชการมุ่งพัฒนาประเทศให้เจริ ญ และเป็นการสร้างความมัน่ คงให้กบั
ประเทศชาติ

8
ลักษณะทัว่ ไปของการบริ หารราชการไทยในสมัยรัชกาลที่ 5
เหตุในการปฏิรูปในสมัยรัชกาลที่ 5
1 ปัญหาการคุกคามและความมัน่ คงอธิปไตย
2 ปัญหาการล้าหลังของระบบราชการ
3 ปัญหาการจัดภาษีอากรและการคลัง
4 ปัญหาการล้าสมัยของระบบกฎหมายและการศาล
5 ปัญหาการขาดประสิ ทธิภาพของระบบทหารแบบเดิม
6 ปัญหาการควบคุมกําลังคนในระบบไพร่
7 ปัญหาการมีทาส
8 ปัญหาด้านการศึกษาและการพัฒนาคน
ลักษณะการบริ หารราชการ
1 การบริ หารราชการส่วนกลาง
2 การบริ หารราชการส่วนภูมิภาค จัดให้มีการบริ หารงานแบบเทศาภิบาล
3 การบริ หารราชการส่วนท้องถิ่น จัดให้มีการบริ หารงานแบบสุ ขาภิบาล
สภาพเศรษฐกิจ
อาศัยธรรมชาติและยึดเกษตรกรรมเป็ นหลัก
สภาพสังคม
รัชกาลที่ 5 ได้ทรงยกเลิกระบบทาสและไพร่ มีการจัดการศึกษาอย่างกว้างขวาง
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
มีการสร้างความสัมพันธ์กบั ต่างประเทศอย่างกว้างขวาง
โครงสร้างของกรบริ หารราชการในสมัยกรุ งรัตนโกสิ นทร์ (สมัยรัชกาลที่ 5 )
1 จัดตั้งสภาที่ปรึ กษาพระมหากษัตริ ย ์ มี 2 สภาคือ
สภาที่ปรึ กษาราชการแผ่นดิน
สภาที่ปรึ กษาในพระองค์
2 การบริ หารราชการส่วนกลาง แบ่งออกเป็นกระทรวงทั้งหมด 12 กระทรวง
3 การบริ หารราชการส่วนภูมิภาค
4 การบริ หารราชการส่วนท้องถิ่น
9
5 แยกการบริ หารรากชการทหารกับพลเรื อนออกจากกัน โดยการจัดตั้ง
กระทรวงกลาโหมดูแลทหาร และกระทรวงมหาดไทยดูแลหัวเมืองต่าง ๆ
ลักษณะทัว่ ไปของการบริ หารราชการไทยตามรัฐธรรมนูญปั จจุบนั
พระมหากษัตริ ยท์ รงใช้อาํ นาจนิติบญั ญัติร่วมกับสภาผูแ้ ทนราษฎร ทรงใช้อาํ นาจ
บริ หารร่ วมกับคณะกรรมการราษฏร และทรงใช้อาํ นาจตุลาการทางศาล
สภาพเศรษฐกิจ มีการจัดทําแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติข้ ึน
นโยบายการบริ หารราชการแผ่นดินไทยสมัยพ.ต.ท.ทักษิณ ชนวัตร มีดงั นี้
1 ด้านการปฏิรูปการเมือง
2 ด้านการบริ หารราชการ
3 ด้านการกระจายอํานาจ
4 ด้านการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ต
5 ด้านการพัฒนากระบวนการยุติธรรมและการปฏิรูปกฎหมาย

10
หน่ วยที่ 3
ปัจจัยแวดล้อมทางสังคมที่มีอทิ ธิพลต่ อการบริหารราชการไทย
ปั จจัยแวดล้อมที่มีผลต่อการบริ หารแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
1 ปัจจัยแวดล้อมภายนอก
ปัจจัยทางสังคม
ปัจจัยทางเศรษฐกิจ
ปัจจัยทางการเมือง
2 ปัจจัยแวดล้อมภายใน
คน
โครงสร้างและระบบงาน (วิธีการทํางาน การจัดองค์กร การอํานวยการ การควบคุม )
งาน (ลักษณะงานที่องค์กรทํา)
เทคโนโลยี(เครื่ องจักร วิทยาการต่าง ๆ ที่องค์กรใช้
ความสัมพันธ์ของสังคมกับการบริ หารราชการไทย
ปัจจัยทางสังคมที่มีต่อการบริ หารราชการไทย เนื่องจากการบริ หารราชการเป็ นเพียง
ลักษณะหนึ่งของสังคมและดําเนิ นงานอยูภ่ ายใต้สิ่งแวดล้อมทางสังคม
การศึกษาเรื่ องปัจจัยแวดล้อมทางสังคมจะมีประโยชน์ก็ต่อเมื่อ
1 เข้าใจ ความแตกต่างของสังคม
2 อธิ บาย ได้วา่ อะไรคือเหตุและผล ของปรากฎการณ์ ว่ามาจากสาเหตุใด ส่ งผลต่อ
ระบบราชการ สังคม ประชาชน ประเทศชาติอย่างไร
3 วางแผน เพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสอดคล้องกับการ
เปลี่ยนแปลงของปัจจัยภายในและภายนอก
4 พัฒนา คือการพัฒนาไปสู่สิ่งที่ดีกว่า และเพื่อความเจริ ญของสังคม
ค่านิยม คือ สิ่ งที่กลุ่มสังคมหนึ่ ง ๆ เห็นว่าเป็นสิ่ งที่มีคุณค่าควรแก่การกระทํา น่ายกย่อง
หรื อเห็นว่าถูกต้อง ค่านิยมเป็นตัวกําหนดพฤติกรรมของคนในสังคม ค่านิ ยมที่มีผลต่อการ
บริ หารราชการของไทยคือ ความเอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่ ให้อภัยกันง่าย ลืมง่าย นิ ยมคุณความดี
การศึกษา เน้นความสัมพันธ์แบบผูอ้ ุปถัมภ์และบริ วาร รักสนุ กสนาน อิสระนิยม

11
วัฒนธรรม คือสิ่ งที่มนุษย์สร้างขึ้น กําหนดขึ้น และยอมรับว่าเป็นสิ่ งที่ดีงาม มีแนวทางและ
ยึดถือปฏิบตั ิสืบต่อกันมา วัฒนธรรมกับสมาชิ กในสังคม
1 วัฒนธรรมทําหน้าที่กาํ หนดพฤติกรรมของบุคคลในสังคม
2 วัฒนธรรมทําหน้าที่กาํ หนดค่านิยมของบุคคลในสังคม
3 วัฒนธรรมเป็ นแนวทางที่มนุ ษย์ใช้ในการเลี้ยงดูเด็ก
4 วัฒนธรรมเป็นเครื่ องมือที่มนุษย์ใช้ในการติดต่อสัมพันธ์กนั
5 วัฒนธรรมทําหน้าที่ในการควบคุมสังคม
6 วัฒนธรรมมีส่วนในการกําหนดเป้ าหมายในการพัฒนาชี วิต
กลุ่มทางสังคมกับการบริ หารราชการไทย
กลุ่มปฐมภูมิ เป็นกลุ่มที่เน้นความสัมพันธ์แบบเผชิญหน้า ที่ถือว่าเป็นด่านแรกของ
การอบรมขัดเกลาสมาชิกในสังคม และมีความใกล้ชิดกันมากที่สุด เน้นความสัมพันธ์ส่วนตัว
และความพอใจ เป็นความสัมพันธ์ที่แนบแน่น และไม่เป็นทางการ เช่น กลุ่มครอบครัว
ครอบครัวเดี่ยว ประกอบด้วย พ่อ แม่ และลูก และมีแนวโน้มที่จะมากขึ้นเรื่ อย ๆ
ครอบครัวขยาย เป็ นครอบครัวที่ประกอบด้วย ครอบครัวเดี่ยวและญาติ ๆ
ครอบครัวที่มีสามีหรื อภรรยาหลายคนในขณะเดียวกัน ประกอบด้วยสามี 1 คนและภรรยา
อีกหลายคน
กลุ่มเพื่อน มีความสําคัญต่อการอบรม ดังนี้
1 สอนอํานาจที่ไม่ใช่ของใครโดยเฉพาะ เป็ นการเรี ยนรู้กฎเกณฑ์ต่าง ๆ การมีส่วน
ร่ วม
2 ช่วยให้ทดลองกฎเกณฑ์ของผูใ้ หญ่วา่ จะเอาจริ งแค่ไหน
3 ถ่ายทอดระเบียบวิธีและคุณค่าที่ผใู ้ หญ่ตอ้ งการหรื อไปในทางตรงข้าม
กลุ่มทุติยภูมิ มีความสัมพันธ์ที่เป็ นทางการ ไม่ยดึ ความผูกพันส่วนตัว มุ่งประโยชน์
บางอย่างมากกว่าความสัมพันธ์ส่ วนตัว
ศาสนากับการบริ หารราชการไทย ความสําคัญของศาสนาต่อการบริ หารราชการไทย
1 ช่วยปกป้ องคุม้ ครองและเพิ่มพูน
2 เป็นพื้นฐานของกฎศิลธรรมของสังคม
3 เป็นพื้นฐานสําคัญของอํานาจรัฐ
12
4 เป็นแหล่งที่ก่อให้เกิดการสมาคม และนันทนาการในหมู่ประชาชน
5 ก่อให้เกิดพฤติกรรมที่เป็นประโยชน์ในมวลมนุษย์
6 ทําหน้าที่เสมือนเป็ นกลไกสําคัญในการควบคุมสังคม

13
หน่ วยที่ 4
ปัจจัยแวดล้อมทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีที่มีอทิ ธิพลต่ อการบริหารราชการไทย
ระบบเศรษฐกิจ ประกอบด้วยกลุ่มทางเศรษฐกิจซึ่งจะกระทําพฤติกรรมคล้ายคลึงกัน
แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ
1 ระบบเศรษฐกิจแบบเสรี นิยม เป็นระบบที่ให้เอกชนมีกรรมสิ ทธิ ในทรัพย์สินและ
ปัจจัยการผลิตเกือบทุกประเภท โดยเอกชนจะมีสิทธิ เสรี ภาพในการเลือกอาชีพหรื อ
ดําเนินกิจกรรมต่าง ๆ ตราบเท่าที่ไม่ผิดกฎหมาย
2 ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม หมายถึงระบบเศรษฐกิจที่รัฐบาลมีกรรมสิ ทธิ์ หรื อ
เป็ นเจ้าของเข้าไปดําเนินการในบางส่ วนหรื อทั้งหมดของทุนหรื อปั จจัยการผลิต ที่
มีอยูใ่ นระบบเศรษฐกิจ
3 ระบบเศรษฐกิจแบผสมผสาน เป็นการเลือกเอาข้อดีของระบบเศรษฐกิจทั้ง 2 อย่าง
มาผสมผสานเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด
หน่วยต่าง ๆ ในระบบเศรษฐกิจ
1 ครัวเรื อน มีการร่ วมกันตัดสิ นใจในการใช้ทรัพยากรหรื อปัจจัยทางการเงิน เพื่อให้
เกิดประโยชน์และสวัสดิการแก่กลุ่มของตนมากที่สุด
2 ธุรกิจ บุคคลหรื อกลุ่มคนที่ทาํ หน้าที่นาํ เอาปัจจัยต่าง ๆ มาผลิตเป็นสิ นค้าสําเร็ จรู ป
และสิ นค้าบริ การ และนําไปขายให้ผบู้ ริ โภคที่อยูใ่ นหน่วยงานอื่น ๆ
3 หน่วยงานของรัฐ เป็นหน่ วยงานที่จดั ตั้งขึ้นเพื่อดําเนินการทางด้านเศรษฐกิจของ
รัฐ
เป้ าหมายพื้นฐานทางด้านเศรษฐกิจ
1 ความเจริ ญเติบโตหรื อความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ หมายถึงการเพิ่มขึ้นของผลผลิต
ในแง่ของการลงทุน การผลิต และการบริ โภค
2 ความมีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
3 ความยุติธรรมหรื อความเท่าเทียมกันทางเศรษฐกิจ
4 เสรี ภาพทางเศรษฐกิจ หมายถึงเสรี ภาพในการเลือกอุปโภคบริ โภค

14
การเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจ สามารถพิจารณาได้จากผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ หรื อ
GDP จะมากน้อยขึ้นอยูก่ บั C I G และ (X-M)
การบริ โภค C ( Consumption) การบริ โภค จะขึ้นอยูก่ บั ราคาสิ นค้า การเพิ่มภาษี การ
ใช้เครดิต อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก
การลงทุน (Investment หรื อ I ) คือผลที่คาดหวังในอนาคต ซึ่งขึ้นอยูก่ บั ปริ มาณการ
ลงทุน ผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับ อัตราดอกเบี้ย และต้นทุนของสิ นค้าประเภททุน
การใช้จ่ายของรัฐบาลทั้งหมดในการซื้อสิ นค้าและบริ การ (Governmentหรื อ G )ขึ้นอยู่
กับภาวะเงินเฟ้ อ ปัญหาของประเทศ
มูลค่าการส่งสิ นค้าออกสุทิ (Export – Import หรื อ X-M) ขึ้นอยูก่ บั ระดับราคาสิ นค้า
ภายในประเทศ และอัตราแลกเปลี่ยนของเงิน
การจัดสรรการใช้ทรัพยากรของสังคม ควรดําเนิ นการในลักษณะต่อไปนี้
1 คํานึงถึงความต้องการของประชาชนต่อสิ นค้าและบริ การนั้นเป็นความต้องการของ
คนส่วนใหญ่ในสังคมหรื อไม่
2 ความต้องการของประชาชนที่มีต่อสิ นค้าและบริ การต่าง ๆ นั้นเป็นสิ่ งที่มีการ
เปลี่ยนแปลงได้ง่าย ขึ้นอยูก่ บั ปัจจัยต่าง ๆ มากระทบความรู ้สึกนึ กคิดของ
ประชาชน
3 การวัดประสิ ทธิภาพของการผลิ ตของภาครัฐบางอย่างทําได้ยาก หรื อทําไม่ได้เลย
4 ในความเป็นจริ งเราไม่สามารถใช้ กลไกลตลาด เป็นเครื่ องมือเพื่อสะท้อนความ
ต้องการที่แท้จริ งของประชาชนที่มีต่อสิ นค้าและบริ การต่าง ๆ ถึงแม้วา่ จะเป็น
สิ นค้าของเอกชนก็ตาม
5 ประสิ ทธิภาพและความสามารถในการผลิตสิ นค้าและบริ การของรัฐและ
ภาคเอกชนมีความแตกต่างกัน
เพื่อให้เกิดการกระจายรายได้อย่างเป็นธรรม รัฐบาลควรดําเนิ นการ ใน 2 ด้าน คือ
1 ด้านรายได้ รัฐบาลควรจัดเก็บภาษีเพื่อความเป็นธรรม เช่น อัตราภาษีกา้ วหน้า เป็น
ต้น มีการบังคับใช้กฎหมายภาษีอย่างจริ งจัง ลดอัตราภาษีหรื อเพิ่มค่าลดหย่อน
ให้กบั ผูส้ งบได้นอ้ ย

15
2 ด้านรายจ่ายรัฐบาลควรจะเป็นรายจ่ายด้านสวัสดิการสังคมช่วยเหลือผูม้ ีรายได้นอ้ ย
รวมถึงการเพิม่ พูนความสามารถของคนที่มีรายได้นอ้ ย
การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจรัฐบาลควรจะดําเนิ นการดังนี้
1 หากเกิดการว่างงานรัฐควรดําเนินการเพิ่มการใช้จ่ายงานรวมของประเทศให้มาก
ขึ้น จนทําให้เกิดการจ้างงานในระดับสูง ภาวะว่างงานหมายถึง การที่บุคคลใด
บุคคลหนึ่งที่มีความประสงค์ที่จะทํางาน มีความสามารถที่จะทํางานได้ แต่ไม่มีงาน
ทํา
2 ในกรณี เกิดเงินเฟ้ อ รัฐจะต้องพยายามปรับระดับการใช้จ่ายของประเทศให้ลด
ตํ่าลงได้สดั ส่วนกับสิ นค้าและบริ การ
ภาวะเงินเฟ้ อ หมายถึง การที่ระดับราคาสิ นค้าและบริ การต่าง ๆเพิม่ ขึ้นอย่าง
รวดเร็ วและต่อเนื่อง
3 ในกรณี ที่่ระดับการจ้างงานของประเทศอยูใ่ นอัตราที่สูง และระดับราคาที่มี
เสถียรภาพ รัฐบาลจะต้องพยายามรักษาสถานการณ์น้ ีให้คงอยูต่ ่อไป
การปฏิรูประบบราชการ มี 7 ยุทธศาสตร์
1 การปรับเปลี่ยนกระบวนการและการทํางาน
2 การปรับปรุ งโครงสร้างการบริ หารราชการแผ่นดิน
3 การรื้ อปรับระบบการเงินและงบประมาณ
4 การสร้างระบบการบริ หารงานบุคคลและค่าตอบแทนใหม่
5 การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิ ยม
6 การสร้างเสริ มระบบราชการให้ทนั สมัย
7 การเปิ ดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่ วม
เทคโนโลยีสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศสร้างขึ้นมาเพื่อมีจุดมุ่งหมายพื้นฐานซึ่งคือการประมวลข้อมูล ให้เป็น
สารสนเทศอันจะนําๆไปสู่ ความรู้ที่จะช่วยแก้ปัญหาต่าง ๆ ของสังคมได้เพราะจะช่วยให้เกิด
สิ่ งต่าง ๆ ดังนี้
1 รายงานข้อมูลทั้งภายในและภายนอกที่จาํ เป็นแก่หน่วยงาน
2 จัดกระทําเกี่ยวกับข้อมูลเพื่อให้เป็นสารสนเทศที่พร้อมจะนําไปใช้ประโยชน์
16
3 จัดให้มีระบบการเก็บที่เป็นหมวดหมู่ สะดวกต่อการค้นหา และนําไปใช้
4 มีการปรับปรุ งข้อมูลอยูเ่ สมอ ให้อยูใ่ นสภาพที่ถูกต้องทันสมัยตลอดเวลา
ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกบั การบริ หารราชการไทย
แนวคิดเกี่ยวกับ e – Government เป็ นแนวทางการให้บริ การประชาชนโยอาศัย
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร เพื่อให้ประชาชนได้รับการบริ การที่สะดวกรวดเร็ ว
และทัว่ ถึงอย่างเป็นธรรม โดยการนํามาใช้จะต้องมีการปรับปรุ งแก้ไขกฎระเบียบต่าง ๆ มีการ
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารกับชี วิตประจําวัน และผูท้ ี่เข้าไม่ถึงสิ่ งเทคโนโลยีก็
สามารถเข้าถึงได้ e – Government มีเป้ าหมายในการให้บริ การของภาครัฐสู่ ประชาชนโดยมี
เป้ าหมายคือ ที่เดียว ทันใด ทัว่ ไทย ทุกเวลา และโปร่ งใส โดยมีมิติดาํ เนิ นการ 4 มิติดว้ ยกัน
คือ รัฐบาลกับประชาชน รัฐกับเอกชน รัฐกับข้าราชการ และพนักงานของรัฐ และรัฐกับรัฐ
โดยมีข้ นั การพัฒนาแบ่งได้ 5 ระดับ ซึ่งเริ่ มจากน้อยไปหามาก
ปัจจัยสําคัญที่ส่งผลต่อความสําเร็ จของ e – Government ได้แก่ ความพร้อมของผูน้ าํ
ความพร้อมเชิงโครงสร้างพื้นฐาน ความพร้อมของรัฐบาล และความพร้อมของประชาชน
และสิ่ งแวดล้อม ซึ่งปั จจัยทั้ง 4 ประการ จะมีความเกี่ยวเนื่องและสัมพันธ์กนั

17
หน่ วยที่ 5
ปัจจัยแวดล้อมทางการเมืองที่มีอทิ ธิพลต่ อการบริหารราชการไทย
การเมืองเป็นเรื่ องที่กาํ หนดนโยบาย เป็นการตัดสิ นใจเชิ งคุณค่า การบริ หาร เป็ นเรื่ อง
การปฏิบตั ิตามนโยบายเพื่อให้บรรลุเป้ าหมาย
ปัจจัยแวดล้อมทางการเมืองที่มีอิทธิพลต่อการบริ หาราชการไทย ที่สาํ คัญได้แก่ ปั จจัย
แวดล้อมทางการเมือง เช่น รัฐสภา พรรคการเมือง กับวัฒนธรรมทางการเมืองแบบมีส่วนร่ วม
สาระหน้าที่ของฝ่ายการเมืองได้แก่
1. มีหน้าที่ความรับผิดชอบในนโยบายอันเป็นส่ วนรวม
2. มีความรับผิดชอบต่อคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และประชาชน
3. มีอาํ นาจสัง่ การได้กว้างขวางและอยูใ่ นระดับสู ง
4. ควบคุมการปฏิบต ั ินโยบายและเป้ าหมายให้บรรลุ
แนวคิดเกี่ยวกับการบริ หาร
ฝ่ ายบริ หาร เป็ นผูที่มีหน้าที่ หรื อผูท้ ี่ได้รับนโยบายที่ วางไว้โดยฝ่ ายการเมืองมาปฏิบตั ิ
เพื่อให้บรรลุเป้ าหมาย หรื อคุณค่าสาระหน้าที่และความรับผิดชอบของฝ่ายบริ หารได้แก่
1. มีหน้าที่รับผิดชอบต่อฝ่ายการเมือง
2. มีหน้าที่รับผิดชอบต่อผลงาน ต่อการใช้คน เงิน วัสดุให้ถูกต้อง
ฝ่ายการเมืองกับฝ่ายบริ หาร
ฝ่ายการเมือง คือฝ่ายที่กาํ หนดนโยบาย
ฝ่ ายบริ หารเป็ นฝ่ ายที่นาํ นโยบายไปปฏิบตั ิให้บรรลุตามเป้ าหมาย
สาเหตุการแยกการเมืองออกจากการบริ หาร
1. สามารถควบคุมการถ่วงดุลอํานาจซึ่ งกันและกัน
2. นักการเมืองเข้ามาโดยการเลือกตั้งจาอประชาชน ข้าราชการเข้ามาโดยหลักการ
สอบแข่งขันตามหลักคุณธรรมและความสามารถ
3. ฝ่ ายบริ หารต้องการประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผล ฝ่ ายการเมืองต้องการนโยบาย
ไปสู่การปฏิบตั ิ จึงควรแยกการเมืองออกจากการบริ หาร
ข้อบกพร่ องของการบริ หารในประเทศไทย
1. การพัฒนาประชาธิ ปไตยไม่กา้ วหน้าเท่าที่ควร
18
2. ปัญหาในการสร้างมาตรการในอันที่จะปรับปรุ งการบริ หารให้มีประสิ ทธิภาพ ดั งนี้
a. การขาดความรับผิดชอบทางการเมือง
b. การขาดความรับผิดชอบทางศิลธรรมหรื อจริ ยธรรม
c. การขาดประสิ ทธิภาพ
ความหมายของสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองหมายถึง แบบแผนที่รวบรวมสะสมพฤติกรรมทางการเมือง ซึ่ง
แบบแผนดังกล่าวจะมีเกณฑ์และมีกิจกรรมขององค์กรทางการเมืองในสังคม โดยมีท้ งั ที่เป็น
องค์กรของภาครัฐและภาคเอกชนรวมกันอยูแ่ ละมีความเชื่ อมโยงซึ่งกันและกัน เช่น สถาบัน
พระมหากษัตริ ย ์ รัฐธรรมนูญ รัฐสภา รัฐบาล เป็ นต้น มีความสําคัญคือ เป็นการรวมกลุ่ม
ผลประโยชน์เพื่อหาแนวทางร่ วมกันในการกําหนดนโยบายและการนํานโยบายไปสู่ การ
ปฏิบตั ิตอ้ งผ่านระบบราชการและตรวจสอบการดําเนิ นงานของรัฐบาลทั้งจากประชาชน
สื่ อมวลชน และองค์กรอิสระต่าง ๆ
ประเภทของสถาบันทางการเมือง
1. สถาบันพระมหากษัตริ ย ์
2. รัฐธรรมนูญ เป็นกฎหมายสู งสุ ดที่กฎหมายอื่นจะละเมิดไม่ได้ เพรากฎหมาย
รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายที่วางข้อกําหนดกฎเกณฑ์เกี่ยวกับกลไกลของรัฐ
โดยทัว่ ไป
3. สถาบันนิ ติบญ
ั ญัติ รับผิดชอบต่อกระบวนการบัญญัติกฎหมาย
4. สถาบันทางการบริ หาร หมายถึงกลุ่มคนหรื อบุคคลหรื อคณะบุคคล ซึ่ งมีหน้าที่ใน
การจัดทํานโยบายไปใช้ให้บรรลุวตั ถุประสงค์ตามนโยบายนั้น ๆ ประกอบด้วย
นายกรัฐมนตรี เป็ นหัวหน้าคณะรัฐมนตรี และรัฐมนตรี อื่น ๆ นอกจาก
นายกรัฐมนตรี
5. สถาบันตุลาการ ฝ่ ายตุลาการหรื อศาล
ศาลรัฐธรรมนูญ เป็ นศาลที่มีหน้าที่หลักในการพิจารณาคดีรัฐธรรมนูญ
ศาลยุติธรรม มีหน้าที่หลักในการพิจารณาข้อพิพาทระหว่างรัฐกับเอกชน
ทั้งคดีแพ่งและอาญา
ศาลปกครอง มีหน้าที่พิจารณาทางการปกครอง
19
ศาลทหารมีหน้าที่พิจารณาพิพากษาคดีอาญาทหาร
6. สถาบันราชการ เป็นองค์กรของรัฐที่จะนํานโยบายไปปฏิบต ั ิให้บงั เกิดผลเป็น
รู ปธรรม เพื่อให้บรรละเป้ าหมายของนโยบายอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ซึ่งได้แก่ระบบ
ราชการ
7. กลุ่มผลประโยชน์และกลุ่มอิทธิ พล เป็นสถาบันทางการเมืองที่มีความสําคัญอย่าง
ยิง่ ต่อเสถียรภาพและการพัฒนาระบบการเมืองในระบอบประชาธิ ปไตยเพราะกลุ่ม
ผลประโยชน์จะเป็นองค์กรที่เปิ ดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่ วมในการกําหนด
นโยบายด้วยการเรี ยกร้องผลประโยชน์นอกรัฐสภาโดยมีกิจกรรมทางการเมืองคือ
การมีอิทธิพลทางการเมือง
8. พรรคการเมือง
9. สื่ อมวลชน
พฤติกรรมการมีส่วนร่ วมทางการเมืองของประชาชน
1. การกําหนดผูป ้ กครอง
2. การผลักดันการตัดสิ นใจของรัฐบาล
3. การวิพากษ์วิจารณ์ของรัฐบาล
4. การชุมนุมเคลื่อนไหวทางการเมือง
รู ปแบบการมีส่วนร่ วมตามบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540
1. การใช้สิทธิ ออกเสี ยงเลือกตั้ง
2. การออกเสี ยงประชามติ
3. การควบคุมตรวจสอบและวิพากษ์วิจารณ์การทํางานของรัฐบาล
4. การมีส่วนร่ วมในการปกครองท้องถิ่น
5. การมีกิจกรรมร่ วมกับพรรคการเมือง
6. การรวมตัวกันเป็นกลุ่ม ๆ
7. การเป็ นผูม ้ ีบทบาทในการชุมนุม

20
บทบาทของสถาบันการเมืองที่มีอิทธิพลต่อการบริ หารราชการไทย
1. การกําหนดนโยบายสาธารณะ ที่สาํ คัญ ๆ คือ นโยบายการศึกษา นโยบาย
สาธารณสุข นโยบายการรักษาความสงบเรี ยบร้อยภายในสังคม นโยบายการ
ป้ องกันประเทศ
2. การควบคุม กํากับ และตรวจสอบการทํางานของระบบบริ หาร
3. การส่ งเสริ มให้ประชาชนมีส่วนร่ วมทางการเมือง
อิทธิ พลของปัจจัยแวดล้อมทางการเมืองที่มีผลต่ อการบริ หารราชการไทย
1. สภาพของระบบราชการและข้าราชการไทย ระบบราชการไทยก่อนการปฏิรูปมี
จุดอ่อนหลายประการ เช่น กรขาดความคล่องตัวในการแก้ไขปั ญหา การใช้ระบบ
เส้นสาย เด็กฝาก ผูม้ ีอาํ นาจขาดคุณธรรม จุดอ่อนเหล่านี้ทาํ ให้การจัดทําบริ การ
สาธารณะด้อยประสิ ทธิภาพและเป็ นสาเหตุสาํ คัญที่นาํ ไปสู่ การปฏิรูประบบ
ราชการในปี 2545
2. การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ผลจากการใช้รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย
2540 ได้กาํ หนดให้ประชาชนมีสิทธิ เสรี ภาพในการแสดงความคิดเห็นสามารถ
วิพากษ์วิจารณ์การบริ หารงานของรัฐบาลและการปฏิบตั ิงานของข้าราชการและ
เจ้าหน้าที่ของรัฐได้
3. การเปลี่ยนแปลงทางสังคม เป็ นไปด้วยความรวดเร็ วโดยเฉพาะรู ปแบบการดําเนิ น
ชี วิต ทัศนคติ ค่านิยม วัฒนธรรม และประเพณี ทําให้เกิดช่องว่างระหว่างคนต่างรุ่ น
ต่างวัยในสังคม โดยเฉพาะอย่างยิง่ ช่องว่างระว่างสังคมเมืองกับสังคมชนบท
4. ข้าราชการไทยภายใต้รัฐธรรมนูญ จะต้องปรั บเปลี่ยนกระบวนทัศน์ใหม่ในการ
ให้บริ การประชาชนให้เป็นไปด้วยความรวดเร็ ว แบพลันทันต่อเหตุการณ์และความ
ต้องการของประชาชน
5. การพัฒนาระบบราชการไทย การปฏิรูประบบราชการไทยได้สร้างความมี
ประสิ ทธิภาพการทํางานของข้าราชการเพิ่มสูงขึ้น ลดขนาดของภาคราชการลงทํา
ให้ใช้จ่ายงบประมาณในส่ วนที่เป็นค่าตอบแทนลดลง มีการจูงใจให้คนดีคนเก่งเข้า
สู่ระบบราชการ พร้อมกันนี้ก็ได้สร้างกลไกลในการป้ องกันการแทรกแทรกแซง
จากฝ่ายการเมือง ซึ่งก่อให้เกิดความโปร่ งใสและการบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี
21
หน่ วยที่ 6
ความสัมพันธ์ ระหว่างอานาจนิติบัญญัติกบั การบริหารราชการไทย
แนวคิดเกี่ยวกับรัฐสภาและการบริ หารราชการแผ่นดิน
1. แนวคิดเกี่ยวกับรัฐสภา สภาเดี่ยวคือสภาที่มีเพียงสภาผูแ้ ทนราษฎร ส่ วนสภาคู่คือ
สภาที่มีท้งั สภาผูแ้ ทนราษฎรและวุฒิสภา ปั จจุบนั ทั้ง 2 สภา ต้องมาจากการเลือกตั้ง
โดยมีสภาผูแ้ ทนราษฎรจํานวน 500 คน(มาจากการเลือกตั้งโดยตรง 400 คน แบบ
บัญชีรายชื่อ 100 คน) และวุฒิสภาจํานวน200 คน
2. แนวคิดเกี่ยวกับการบริ หารราชการแผ่นดิน มีนายกรัฐมนตรี 1 คน รัฐมนตรี ไม่เกิน
35 คน นายกต้องมาจากสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรหรื อเคยเป็ นสมาชิกสภาผูแ้ ทน
ราษฎร
3. การบริ หาราชการแผ่นดินของไทย หมายถึ ง การบริ หารงานของหน่วยงานของรัฐ
และเจ้าหน้าที่ของรัฐ ทั้งในส่ วนกลาง ส่ วนภูมิภาค และส่ วนท้องถิ่น การบริ หาร
ราชการแผ่นดินในระดับชาติอยูใ่ นอํานาจหน้าที่ของคณะรัฐมนตรี ซึ่งมี
ความสัมพันธ์กบั ฝ่ายนิติบญั ญัติหรื อรัฐสภา
แนวคิดเกี่ยวกับการบริ หารราชการแผ่นดิน
1. แนวคิดการปกครองระบบประชาธิ ปไตยตามระบบรัฐสภาอันมีพระมหากษัตริ ย ์
เป็ นประมุข
2. แนวคิดอํานาจอธิ ปไตย
3. แนวคิดการบริ หารราชการแผ่นดินในรัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.
2540
4. แนวคิดการจัดระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน
5. แนวคิดการบริ หารราชการแผ่นดินโดยองค์กรทางการเมือง
แนวคิดทัว่ ไปในการเสนอร่ างพระราชบัญญัติ
มาได้จาก 3 ทางก็คือ
1. คณะรัฐมนตรี
2. สมาชิ กสภาผูแ้ ทนราษฎร มีผเู ้ สนอและมีผรู ้ ับรองไม่นอ ้ ยกว่า 20 คน

22
3. ผูม้ ีสิทธิเลือกตั้งไม่นอ้ ยกว่า 50,000 คน เข้าชื่ อขอต่อประธานรัฐสภาเพื่อให้สภา
พิจารณาร่ างพระราชบัญญัติได้แต่จะเสนอได้เฉพาะเรื่ องที่ เกี่ยวกับสิ ทธิ และ
เสรี ภาพของชนชาวไทยและเรื่ องนโยบายพื้นฐานแห่ งรัฐ
การพิจารณาร่ างพระราชบัญญัติมี 6 ขั้นตอน คือ
1. การพิจารณาร่ างพระราชบัญญัติของสภาผูแ้ ทนราษฎร ประกอบด้วย3 วาระคือ
พิจารณาและลงมติวา่ จะรับหลักการหรื อไม่
พิจารณาในรายละเอียด
ลงมติวา่ เห็นชอบหรื อไม่
2. การพิจารณาร่ างพระราชบัญญัติของวุฒิสภา ประกอบด้วย 3 วาระเหมือนกัน
3. กรณี วฒ ุ ิสภาเห็นชอบด้วยกับสภาผูแ้ ทนราษฎร ให้นายกนําขึ้นทูลเกล้าถวายเพื่อ
ทรงลงพระปรมาภิไธย เมื่อประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้เป็นกฎหมาย
ได้
4. กรณี วฒ ุ ิสภาไม่เห็นชอบด้วยกับสภาผูแ้ ทนราษฎร ให้ยบั ยั้งร่ างพระราชบัญญัติคืน
ไปยังสภาผูแ้ ทนราษฎรให้เสนอใหม่อีกหลังจาก 180 วัน ถ้าเป็นเรื่ องเกี่ยวกับ
การเงินสภาผูแ้ ทนราษฎรสามารถยกร่ างใหม่ได้ทนั ที ถ้าสภาผูแ้ ทนยืนยัน
เหมือนเดิมโดยมีเสี ยงมากกว่าครึ่ งหนึ่งเท่าที่ทีอยูข่ องสภา ให้นายกนําขึ้นทูลเกล้า
ต่อไป
5. กรณี วฒ ุ ิสภาแก้ไขเพิ่มเติม แล้วเสร็ จให้ส่งกลับไปยังสภาผูแ้ ทนแล้วนายกนํา
ทูลเกล้า
6. กรณี ที่พระมหากษัตริ ยไ์ ม่ทรงเห็นชอบ หรื อพระราชทานคืนมายังรัฐสภาเมื่อพ้น
90 วันไปแล้ว รัฐสภาต้องร่ างฉบับนั้นใหม่ หรื อถ้า เสี ยง 2ใน3 ของทั้ง 2 สภา
เห็นชอบให้นาํ ขึ้นทูลถวายอีกครั้งหากมิได้ทรงลงพระปรมาภิไธยพระราชทานคืน
มาใน 30 วัน ให้นายกนําร่ างประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษา ใช้บงั คับเป็นกฎหมาย
ได้ทนั ที

23
การประกาศใช้พระราชบัญญัติ
การประกาศใช้พระราชบัญญัติจะต้องประกาศลงในพระราชกิจจานุเบกษา เพื่อมีผล
บังคับใช้ต่อไป
ราชกิจจานุเบกษา หมายถึงหนังสื อของทางราชการที่ออกเป็ นรายสัปดาห์โดย
สํานักงานราชกิจจานุเบกษา สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี สําหรับลงประกาศเกี่ยวกับ
กฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ตลอดจนประกาศของกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ รวมทั้ง
ประกาศเกี่ยวกับการจดทะเบียนห้างหุ้นส่ วน บริ ษทั
การประกาศในราชกิจจานุเบกษาเพื่อบังคับใช้มีดว้ ยกัน 4รู ปแบบ
1. ให้ใช้พระราชบัญญัติน้ ี ต้งั แต่วนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
2. ให้ใช้พระราชบัญญัติน้ ี ต้งั แต่วนั เดือน ปี ใด เป็นต้นไป
3. พระราชบัญญัติน้ ี ให้ใช้บงั คับตั้งแต่วนั ถัดจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา
4. พระราชบัญญัติน้ ี ใช้บงั คับเมื่อพ้นกําหนดกี่วนั นับแต่วนั ประกาศในราชกิจจา
นุเบกษาเป็ นต้นไป
การควบคุมการบริ หารราชการแผ่นดินโยฝ่ายนิ ติบญั ญัติ
1. การแถลงนโยบายต่อรัฐสภา เป็นวิธีการหนึ่ งที่รัฐธรรมนูญให้เป็นการควบคุมการ
บริ หารราชการแผ่นดินของฝ่ายบริ หารหรื อคณะรัฐมนตรี โดยฝ่ายนิ ติบญั ญัติ ซึ่งเริ่ ม
ตั้งแต่เมื่อจะเข้าปฏิบตั ิหน้าที่คณะรัฐมนตรี จะต้องแถลงนโยบายต่อรัฐสภาก่อน
2. การตั้งกระทูถ้ าม หมายถึง คําถามในข้อเท็จจริ งหรื อนโยบายที่สมาชิกสภาผูแ้ ทน
ราษฎรหรื อสมาชิกวุฒิสภาตั้งขึ้นถามรัฐมนตรี หรื อนายกรัฐมนตรี ในเรื่ องใด ๆ ที่
เกี่ยวกับงานในหน้าที่โดยให้ตอบในที่ประชุมของสภาแห่ งนั้นหรื อตอบเป็น
หนังสื อในราชกิจจานุเบกษาก็ได้ กระทูม้ ี 2 ประเภท คือ กระทูถ้ ามทัว่ ไป และ
กระทูถ้ ามสด
3. การเปิ ดอภิปรายทัว่ ไปมีได้ 4 กรณี
การเปิ ดอภิปรายทัว่ ไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรี
การเปิ ดอภิปรายทัว่ ไปเพื่อลงมติไม่วางใจรัฐมนตรี เป็นรายบุคคล
การเปิ ดอภิปรายทัว่ ไปในวุฒิสภาโดยไม่มีการลงมติ
การเปิ ดอภิปรายทัว่ ไปในที่ประชุมร่ วมกันของรัฐสภา
24
4. การตั้งกรรมมาธิการสภา หมายถึงการที่สมาชิกรัฐสภามีอาํ นาจเลือกบุคคลผูเ้ ป็ น
สมาชิกของแต่ละสภาตั้งเป็น คณะกรรมาธิการสามัญ และมีอาํ นาจเลือกบุคคลผู ้
เป็นสมาชิ กหรื อมิได้เป็นสมาชิ กตั้งเป็น คณะกรรมาธิ การวิสามัญ เพื่อกระทํา
กิจการพิจารณาสอบสวนหรื อศึกษาเรื่ องใด ๆ อันอยูใ่ นอํานาจหน้ าที่ของสภาแล้ว
รายงานต่อสภา
5. การถอดถอนผูด้ าํ รงตําแหน่งทางการเมืองและผูด้ าํ รงตําแหน่งระดับสู งเป็น
การศึกษาถึงผูม้ ีอาํ นาจถอดถอนโดยสมาชิกมีสิทธิเข้าชื่อเพื่อขอให้ถอดถอนและ
วุฒิสภามีอาํ นาจถอดถอนอีกทั้งยังครอบคลุมถึงวิธีการถอดถอน

25
หน่ วยที่ 7
ความสัมพันธ์ ระหว่างอานาจบริหารกับการบริหารราชการไทย
แนวคิดเกี่ยวกับรัฐบาล ความสําคัญของรัฐบาล
1. การบังคับการให้เป็ นไปตามกฎหมาย
2. การกําหนดและดําเนินนโยบาย
3. การคุมกําลังทหาร
4. การดําเนินความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
5. อํานาจเนรเทศคนต่างด้าวออกนอกประเทศ
6. การปฏิบตั ิหน้าที่ตุลาการของรัฐบาล
ข้าราชการการเมืองและข้าราชการประจํา
ข้าราชการการเมืองคือผูว้ างนโยบาย ควบคุมการปฏิบตั ิงานให้เป็ นไปตามนโยบาย
งานของข้าราชการการเมืองมีลกั ษณะเป็นกิจการที่ตอ้ งการตัดสิ นใจในระดับสู ง เช่น
นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี ผดู้ าํ รงตําแหน่งทางการเมือง เป็นต้น
ข้าราชการประจํา เป็ นผูเ้ ข้าดํารงตําแหน่งโดยการสอบแข่งขันตามระบบคุณธรรม
ความแตกต่างระหว่างข้าราชการการเมืองกับข้าราชการประจํา
ข้าราชการการเมือง ข้าราชการประจํา
ด้นการดํารงตําแหน่ง - ผ่านการเลือกตั้งจาก ด้านการดํารงตําแหน่ง-เข้าทํางานโดยการ
ประชาชน สอบแข่งขันตามระบบคุณธรรม
ด้านระยะเวลาในการดํารงตําแหน่ง- มี ด้านระยะเวลาในการดํารงตําแหน่ง- ผูใ้ น
ระยะเวลาตามที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญ(4ปี ) ระบบราชการจนเกษียณอายุราชการ
และอํานาจพ้นจากตําแหน่งเมื่อมีการยุบสภา
ฯลฯ
ด้านความมัน่ คงในอาชี พ-มีความเสี่ ยงสู ง แต่ ด้านความมัน่ คงในอาชีพ – มีความเสี่ ยง
มีรายได้เงินเดือนสู งกว่าข้าราชการประจํา ค่อนข้างน้อย รายได้ขา้ ราชการประจําไม่พอ
อย่างมาก กับรายจ่ายทําให้เกิดการขาดความเชื่อมัน่ ใน
ด้านความมัน่ คงในอาชี พ

26
ความแตกต่างทางระดับวุฒิการศึกษา-การ ความแตกต่างทางระดับวุฒิการศึกษา-ผูท้ ี่มี
ดํารงตําแหน่งทางการเมือง วุฒิการศึกษาสู ง การศึกษาระดับสูงมักเลือกอาชีพรับราชการ
ไม่เป็นปัจจัยสําคัญในการเข้าดํารงตําแหน่ง เนื่ องด้วยมีหลักประกันความมัน่ คงในอาชี พ
ทางการเมือง
ด้านความชํานาญงาน-นักการเมืองส่วนใหญ่ ด้านความชํานาญงาน- เป็ นผูช้ าํ นาญการ
เป็นผูม้ ีความรู้ทวั่ ๆ ไปปัจจัยสําคัญที่ทาํ ให้ เฉพาะอย่าง เช่น นักเศรษฐศาสตร์ นัก
นักการเมืองมีความชํานาญน้อยกว่า ปกครอง นักนิติศาสตร์ ซึ่งจําเป็ นต้องอาศัย
ข้าราชการประจําเนื่องจากขาดความต่ อเนื่อง วิชาความรู้ในการบริ หารงาน
ในการดํารงตําแหน่งหน้าที่
ความสําคัญของการกําหนดนโยบายในการบริ หารราชการแผ่นดิน
1. เป็นเครื่ องมือในการกําหนดทิศทางการพัฒนาประเทศ
2. เป็ นเครื่ องมือของรัฐบาลในการตอบสนองความต้องการของประชาชน
3. เป็นเครื่ องมือของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาที่สาํ คัญของประชาชน
4. เป็นการใช้อาํ นาจของรัฐบาลเพื่อจัดสรรคุณค่าทางสังคม
5. เป็ นเครื่ องมือของรัฐบาลในการเสริ มสร้างความเป็ นธรรมในสังคม
6. เป็ นเครื่ องมือของรัฐบาลในการเสริ มสร้างความเสมอภาคในโอกาสแก่
ประชาชน
7. เป็นเครื่ องมือของรัฐบาลในการกระจายรายได้ให้แก่ประชาชน
8. เป็นเครื่ องมือของรัฐบาลในการกระจายความเจริ ญไปสู่ ชนบท
รู ปแบบของกระบวนการกําหนดนโยบายของฝ่ายบริ หาร
มี 2 รู ปแบบ ได้แก่ บนลงล่างเป็นนโยบายที่ริเริ่ มโดยฝ่ายข้าราชการการเมืองที่เป็ น
รัฐบาลเพื่อให้ฝ่ายประจํารับไปปฏิบตั ิ สําหรับรู ปแบบที่ 2 คือ จากล่างขึ้นบน คือฝ่ายบริ หาร
ของส่วนราชการต่าง ๆ นําเอาภารกิจ/พันธกิจขององค์การมาศึกษาวิเคราะห์แล้วกําหนดเป็น
นโยบายเพื่อเสนอฝ่ ายการเมืองเพื่อพิจารณาอนุมตั ิ

27
หน่ วยที่ 8
ความสัมพันธ์ ระหว่างอานาจตุลาการกับการบริหารราชการไทย
แนวคิดเกี่ยวกับศาลไทย
1. แนวคิดที่มนุษย์เป็นสัตว์สงั คม ย่อมมีการรวมกลุ่ม ย่อมมีปัญหาและข้อ
พิพาทเกิดขึ้น
2. แนวคิดการปกคราองระบอบประชาธิปไตย
3. แนวคิดอํานาจอธิปไตย
4. แนวคิดคุม้ ครองสิ ทธิเสรี ภาพของประชาชน
5. แนวคิดที่จะสนับสนุนกระบวนการการยุติธรรม
6. แนวคิดที่สนับสนุนการอํานวยความยุติธรรม
7. แนวคิดองค์การทําหน้าที่ศาล
8. แนวคิดระบบกฎหมาย
9. แนวคิดระบบศาล

28
หน่ วยที่ 9
การบริหารราชการส่ วนกลาง

การบริ หารราชการส่ วนกลางเป็นการบริ หารแบบรวมอํานาจการบริ หาร


ทรัพยากรในการบริ หารมี 4 ประการคือ คน เงิน วัตถุสิ่งของ และวิธีการจัดการ
หลักการบริ หารมี 3 หลักคือ
1 หลักการรวมอํานาจในการบริ หาร เป็นการรวมอํานาจไว้ที่ส่วนกลาง เช่น
กระทรวง ทบวง กรม
2 หลักการแบ่งอํานาจในการบริ หาร เป็นการที่ส่วนกลางมอบอํานาจในการวินิจฉัย
แก้ไขปัญหาบางอย่างโยการส่ งเจ้าหน้าที่จากส่ วนกลางไปปฏิบตั ิหน้าที่ (จังหวัด ,
อําเภอ)
3 หลักการกระจายอํานาจการบริ หาร เป็นการที่รัฐโอนอํานาจในการบริ หารกิจการ
บางประเภทให้แก่องค์กรในเขตพื้นที่ต่าง ๆ ในการดําเนิ นการโดยตรง โดยมีอิสระ
ไม่ข้ ึนตรงต่อหน่วยงานส่วนกลาง
การปฏิรูประบบราชการในสมัยรัชกาลที่ 5
เนื่องจากบ้านเมืองได้รับแรงกดดันจากลัทธิจกั รวรรดินิยมและการล่าอาณานิ คมจาก
ตะวันตกโดยเฉพาะอังกฤษ ฝรั่งเศส ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์บา้ นเมืองที่มี
ความเจริ ญมากขึ้น มีประชากรมากขึ้น มีการจัดตั้งกระทรวงขึ้นมาทั้งหมด 12 กระทรวง
(ส่วนกลาง) ส่ วนภูมิภาค มีการปรับปรุ งการปกครองส่ วนอําเภอให้มีความชัดเจนมากยิง่ ขึ้น
ส่วนท้องถิ่น มี 2 รู ปแบบ คือ สุขาภิบาลกรุ งเทพ และสุขาภิบาลหัวเมือง
การจัดระเบียบการบริ หารราชการส่วนกลาง
1 สํานักนายกรัฐมนตรี (มีฐานะเป็ นกระทรวง)
2 กระทรวง หรื อทบวงที่ม่ญานะเทียบเท่ากระทรวง
3 กรมหรื อส่วนราชการที่เรี ยกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเป็นกรม ซึ่งสังกัดหรื อไม่สงั กัด
สํานักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรื อทบวง
การแบ่งส่ วนราชการภายในกระทรวง

29
1 สํานักงานรัฐมนตรี มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับราชการทางการเมืองของกระทรวง มี
เลขานุการรัฐมนตรี ดูแลรับผิดชอบขึ้นตรงต่อรัฐมนตรี วา่ การกระทรวง
2 สํานักงานปลัดกระทรวง มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับราชการทัว่ ไปของกระทรวงและ
ราชการอื่นที่ไม่ได้กาํ หนดให้เป็นหน้าที่ของกรมใดกรมหนึ่งในสังกัดกระทรวง
โดยเฉพาะ
3 กรม มีอาํ นาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการส่ วนใดส่ วนหนึ่งของกระทรวงหรื อตาม
กฎหมายว่าด้วยอํานาจหน้าที่ของกรม ทั้งนี้ อยูภ่ ายใต้การรับผิดชอบของอธิบดี
อํานาจหน้าที่ของสํานักนายกรัฐมนตรี
มีอาํ นาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการของนายกรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรี รับผิดชอบ
เกี่ยวกับการบริ หารงานทัว่ ไปเสนอแนะนโยบายและแผนการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ สังคม
การเมือง และความมัน่ คง และราชการเกี่ยวกับการงบประมาณ ระบบราชการ การบริ หารงาน
บุคคล กฎหมายและการพัฒนากฎหมาย การติดตามและประเมินผลการปฏิบตั ิราชการ การ
ปฏิบตั ิภาระกิจพิเศษ และราชการตามที่กฎหมายกําหนดให้เป็นอํานาจหน้าที่ของสํานัก
นายกรัฐมนตรี หรื อส่ วนราชการที่สงั กัดสํานักนายกรัฐมนตรี หรื อที่มิได้อยู่ ในอํานาจหน้าที่
ของกระทรวงใดโดยเฉพาะผูบ้ งั คับบัญชาสูงสุดคือนายกรัฐมนตรี
หน่วยงานภาครัฐที่เป็นอิสระตามรัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540
1 คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ประกอบด้วยประธาน 1 คน และกรรมการอี ก 4
คน พระมหากษัตริ ยท์ รงแต่งตั้งตามคําแนะนําของวุฒิสภา
2 ศาลปกครอง พิจารณาคดีขอ้ พิพาทระหว่างหน่วยงานราชการ มีสาํ นักงานศาล
ปกครอง และมีเลขาธิการศาลปกครองเป็นผูบ้ งั คับบัญชาขึ้นตรงต่อศษลปกครอง
สูงสุด
3 คณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ตแห่ งชาติ (ปปช.) ประกอบด้วย
ประธาน 1 คน กรรมการ 8 คน พระมหากษัตริ ย ์ ทรงแต่งตั้งตามคําแนะนําของ
วุฒิสภา
4 ผูต้ รวจราชการแผ่นดินของรัฐสภา มี ได้ไม่เกิน 3 คน
5 คณะกรรมการสิ ทธิมนุษยชนแห่ งชาติ ประกอบด้วย ประธาน 1 คน และกรรมการ
อีก 10 คน
30
6 ศาลรัฐธรรมนูญ พิจารณาข้อกฎหมายว่าขัดต่อรัฐธรรมนูญ หรื อไม่ ประกอบด้วย
ประธานศาลรัฐธรรมนูญ 1 คน ตุล าการศาลรัฐธรรมนูญอี ก 14 คน รวม 15 คน
ดํารงตําแหน่งครั้งละ 9 ปี วาระเดียว
7 คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ประกอบด้วย ประธาน 1 คน กรรมการอีก 9 คน
อยูใ่ นวาระได้ 6 ปี ได้วาระเดียว
การปฏิรูปกี่จดั ระเบียบการบริ หาราชการส่ วนกลาง
1 การปรับบทบาท ภารกิจ และโครงสร้างส่วนรา ชการหรื อที่รัฐบาลประกาศเป็ น
นโยบาย
2 มุ่งเน้นการปราบปรามการทุจริ ตและการประพฤติมิชอบในการปฏิบตั ิราชการ
3 การมุ่งเน้นให้รัฐบาลก้าวสู่การเป็นรัฐบาลอิเล็กทรอนิ กส์
4 การจัดทําระบบการทํางบประมาณแบบใหม่ในระบบราชการ
5 การแบ่งอํานาจจากราชการส่ วนกลางไปสู่ส่วนภูมิภาคและการกระจายอํานาจให้
ส่วนราชการท้องถิ่น
6 การสร้างขวัญกําลังใจและแรงจูงใจแก่ขา้ ราชการ

31
หน่ วยที่ 10
การบริหารราชการส่ วนภูมิภาค
การบริ หาราชการส่ วนภูมิภาคเป็ นการจัดระเบียบบริ หารแบบการแบ่งอํานาจจาก
ส่วนกลางให้แก่ส่วนภูมิภาคเป็นผูด้ าํ เนิ นการแทน มีความสําคัญในฐาน ะเป็ นกลไกลทาง
การเมืองและเป็ นกลไกทางการบริ หารราชการ ลักษณะสําคัญของการบริ หารคือ เป็ นการ
แบ่งอํานาจการตัดสิ นใจจากส่ วนกลางในด้านการบริ หารองค์กร การริ หารงานบุคล และการ
บริ หารงบประมาณ ภายใต้หลักเกณฑ์ที่เป็นพื้นฐานและหลักเกณฑ์ประกอบ
การจัดระเบียบการบริ หารราชการส่ วนภูมิภาคหมายถึงการบริ หาราชการระดับจังหวัด
การบริ หารราชการระดับอําเภอ
ปัญหาการบริ หารราชการส่วนภูมิภาคมี 4 ประการคือ
1 ปัญหาที่เกิดจากแนวคิดการบริ หารราชการส่วนภูมิภาค
2 ปัญหาที่เกิดจากโครงสร้างการบริ หาร เช่นความไม่ชดั เจนของบทบาทหน้าที่
ลักษณะของการรวมอํานาจไว้ที่ ส่วนกลาง การเน้นวิธีการมากกว่าเป้ าหมาย สาย
การบังคับบัญชาจากบนลงล่าง ขาดเอกภาพในการบังคับบัญชา
3 ปัญหาที่เกิดจากพฤติกรรมของข้าราชการส่วนภูมิภาค เช่น พฤติกรรมของ
ข้าราชการแต่ละคน ทัศนคติและค่านิยมที่แตกต่างกัน
4 ปัญหาที่เกิดจากการนําเอาเทคนิคการจัดการมาประยุคต์ใช้ให้สอดคล้องต่อ
สถานการณ์ เช่น กระบวนการจัดการ หรื อการบริ หาร การบริ หารแบบมีส่วนร่ วม
การนําเอเทคนิคและวิทยาการสมัยใหม่มาใช้
หลักเกณฑ์สาํ คัญของการบริ หารราชการส่วนภูมิภาค
1 เกณฑ์พ้นื ฐาน หมายถึง องค์ประกอบอันเป็นสาระสําคัญของหน่วยบริ หารราชการ
ส่วนภูมิภาคซึ่ งหน่วยการบริ หารทุกรู ปแบบในระดับภูมิภาคต้องมีอยู่ ประเด็นในการ
พิจารณาฐานะของการบริ หารราชการส่ วนภูมิภาคคือ การไม่มีอาํ นาจอธิ ปไตยแห่ งรัฐ
ทั้งนี้เพราะอํานาจอธิ ปไตยดังกล่าวเป็นฐานะแห่งอํานาจรัฐ
1.1 อํานาจอธิปไตยกับการจัดการปกครองภายในแห่งรัฐ การใช้อาํ นาจอธิ ปไตย
จะดําเนินการได้โดยรัฐ

32
1.2 องค์ประกอบของหน่วยงานแห่งรัฐ (คือจะมีองค์ประกอบเหมือนรัฐ)
ประกอบด้วย
2.1.1 ขอบเขตพื้นที่
2.1.2 ประชากร
2.1.3 องค์การ
2.1.4 อํานาจหน้าที่
2 หลักเกณฑ์ประกอบ หมายถึง ขอบเขตการศึกษาหน่วยการบริ หารราชการส่ วน
ภูมิภาคนั้น สามารถมองเห็นองค์ประกอบส่วนอื่นที่มีอยูใ่ นหน่วยการป กครองใน
รู ปแบบต่าง ๆ กันละส่วนประกอบเหล่านี้ เองที่ทาํ ให้เกิดสภาพแห่ งการหลากหลาย
ของหน่วยการบริ หารราชการส่ วนภูมิภาค องค์ประกอบที่ทาํ ให้เกิดความแตกต่าง
กันมี 2 รู ปแบบ คือ
การจัดทําบริ การสาธารณะ หมายถึงกิจกรรมอื่น ๆ ที่มีลกั ษณะเป็นสาธารณะซึ่งมีขอบเขต
กว้างขวางมาก เช่น
กิจกรรมด้านความปลอดภัยของชุมชน
กิจกรรมด้านสาธารณสุข และสวัสดิการสังคม
กิจกรรมด้านการศึกษาและสันทนาการ
กิจกรรมด้านการโยธาและโครงการชุมชนชนบท
กิจกรรมด้านการวางแผน การวางผังเมือง หรื อการกําหนดนโยบายใช้พ้นื ที่บริ เวณต่าง ๆ
การมีฐานะตัวแทนท้องถิ่น
พัฒนาการของการบริ หารราชการส่วนภูมิภาค
1 ยุคการจัดระเบียบบริ หารราชการส่ วนภูมิภาคสมัยรัชการที่ 5 แบ่งเป็น(การจัดการ
แบบเทศาภิบาล)
มณฑล
เมือง
อําเภอ
2 ยุคการจัดระเบียบบริ หารราชการแผ่นดินก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง

33
ยกเลิกข้อบังคับลักษณะการปกครองท้องที่ ร .ศ. 116 ให้ใช้พระราชบัญญัติลกั ษณะการ
ปกครองท้องที่ พ.ศ. 2457 แทน
ปรับปรุ งกระทรวงทบวงกรมซึ่งมีอยู่ 12 กระทรวง
3 ยุคการบริ หารราชการแผ่นดินตามพระราชบัญญัติระเบียบการบริ หารราชการ พ .ศ.
2476 เป็นการเปลี่ยนแปลงแก้ไขหน้าที่ความรับผิดชอบในการบริ หารราชการ
ส่วนภูมิภาคทั้งในระดับจังหวัดและอําเภอ
4 ยุคการบริ หารราชการแผ่นดินตามพระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน
พ.ศ. 2495 และ การแก้ไข
5 ยุคการบริ หารราชการแผ่นดินตามพระราชบัญญัติ พ.ศ. 2534 และ พ.ศ. 2545
การจัดระเบียบบริ หารราชการระดับจังหวัด
จังหวัดประกอบด้วยท้องที่หลาย ๆ อําเภอ มีฐานะเป็ นนิ ติบุคคล การตั้ง ยุบและเปลี่ยนแปลง
เขตจังหวัดให้เป็นพระราชบัญญัติ ผูว้ า่ CEO คือผูบ้ ริ หารสูงสุดที่บริ หารแบบบูรณาการ
หมายถึงการบริ หารราชการของจังหวัดเพื่อให้จงั หวัดบริ หารงาน แก้ไขปั ญหา และพัฒนา
ท้องที่ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพและตอบสนองความต้องการของประชาชนโดยมีการบูรณาการ
ยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการสรรพกําลังและทรัพยากรในจังหวัด การทํางานประสาน
ความร่ วมมือกับทุกภาคส่ วนในสังคมอย่างมีทิศทางและเปเหมายหลักร่ วมกัน
การจัดระเบียบการบริ หารราชการระดับอําเภอ การยุบหรื อการจัดตั้งให้ใช้เป็นพระ
ราชกฤษฎีกา ไม่มีอาํ นาจเป็นนิติบุคคล
การจัดระเบียบการปกครองท้องที่ 2457 มีประมวลสาระสําคัญดังนี้
1 ลักษณะการจัดตั้ง กิ่งอําเภอ ตําบล และหมู่บา้ น
2 การจัดโครงสร้างบริ หารระดับกิ่งอําเภอ ตําบล และหมู่บา้ น
3 อํานาจหน้าที่หวั หน้ากิ่งอําเภอ กํานันและผูใ้ หญ่บา้ น
กิ่งอําเภอจัดตั้งโดยประกาศกระทรวงมหาดไทย
ตําบลจัดตั้งโดยประกาศกระทรวงมหาดไทย
หมู่บา้ นมีฐานะเป็นหน่วยการปกครองท้องที่ มีประชากร 200 คน หรื อจํานวนไม่ต่าํ กว่า 5
หมู่บา้ น

34
หน่ วยที่ 11
การบริหารราชการส่ วนท้ องถิ่น
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมี 2 ระบบ คือ
1 องค์กรปกครองท้องถิ่นในระบบทัว่ ไปมี 3 รู ปแบบ คือ
องค์กรบริ หารส่วนจังหวัด
เทศบาล
องค์กรบริ หารส่วนตําบล
2 องค์กรท้องถิ่นระบบพิเศษมี 2 รู ปแบบ
กรุ งเทพมหานคร
เมืองพัทยา
การปกครององค์กรส่ วนท้องถิ่นทุกรู ปแบบประกอบด้วย
1 สภาองค์กรส่วนท้องถิ่น ทําหน้าที่ฝ่ายนิติบญั ญัติ
2 ผูบ้ ริ หารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทําหน้าที่บริ หารกิจการขององค์กรส่ วน
ท้องถิ่น
ทั้ง 2 ส่วนมากจากการเลือกตั้งจากประชาชนในเขตพื้นที่น้ นั ๆ
การจัดตั้งองค์กรบริ หารส่ วนท้องถิ่นเพื่อสนองความต้องการที่แท้จริ งของประชาชนในส่ วน
ท้องถิ่นอย่างแท้จริ ง
สุขาภิบาลกรุ งเทพมหานครเป็นการปกครองส่วนท้องถิ่นแห่ งแรกของประเทศไทย จัดตั้งขึ้น
ในสมัยรัชกาลที่ 5
สาเหตุของการจัดการบริ หารราชการเป็นการปกครองส่ วนท้องถิ่นคือ
1 การจัดทําบริ การสาธารณเพื่อเป็ นการสนองความต้องการที่แท้จริ งของประชาชนที่
อยูใ่ นท้องถิ่น
2 การแก้ปัญหาเมื่อเกิดปัญหาขึ้นในท้องถิ่น จะสามารถดําเนิ นการได้รวดเร็ วถูกต้อง
และทันต่อสถานการณ์
3 เป็นการฝึกฝนให้ประชาชนได้คุยเคยกับการปกครองในระบอบประชาธิ ปไตย
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริ หารราชการส่ วนท้องถิ่น
1 พระราชบัญญัติวา่ ด้วยระเบียบบริ หารราชการแห่ งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2476
35
2 พระราชบัญญัติจดั ระเบียบเทศบาล พ.ศ. 2476
3 พระราชบัญญัติสภาจังหวัด พ.ศ. 2481
4 พระราชบัญญัติสุขาภิบาล พ.ศ. 2495
5 พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2495
6 พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496
7 พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการส่ วนจังหวัด พ.ศ. 2498
8 พระราชบัญญัติบริ หารราชการส่วนตําบล พ.ศ. 2499
9 ประกาศคณะปฏิวตั ิฉบับที่ 326 และประกาศคณะปฏิวตั ิฉบับที่ 335 ใน พ.ศ. 2515
10 พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการกรุ งเทพมหานคร พ.ศ. 2518
11 พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการเมืองพัทยา พ.ศ. 2521
12 พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการกรุ งเทพมหานคร พ.ศ. 2528
13 พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534

36
หน่ วยที่ 12
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ในราชการไทย
การบริ หารทรัพยากรมนุษย์ในราชการพลเรื อนของไทย เริ่ มจากระบบอุปถัมภ์ในยุค
สมบูรณาญาสิ ทธิ ราชย์และวิวฒั นาการมาสู่ระบบคุณธรรม ในสมัยพระบาทสมเด็จ
พระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั โยใช้ระบบการกําหนดตําแหน่งและการบริ หารทรั พยากรมนุษย์ท้ งั
แบบที่ เน้นคนเป็ นหลัก และเน้นงานเป็ นหลัก
การบริ หารทรัพยากรมนุษย์ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรื อน พ .ศ. 2535
มีลกั ษณะที่สาํ คัญหลายประการ เช่น
1. การปรับปรุ งองค์ประกอบและอํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการและอนุกรรมการ
ข้าราชการพลเรื อน
2. การกําหนดประเภทตําแหน่งข้าราชการพลเรื อนออกเป็น 3 ประเภท เพื่อประโยชน์
ในการบริ หารค่าตอบแทนของข้าราชการพลเรื อน
3. การกําหนดให้มีหลักการเกี่ยวกับการสรรหาและเลือกสรรและการพัฒนา
ข้าราชการอย่างเป็นระบบและต่อเนื่ อง
4. การปรับปรุ งโทษทางวินยั เป็ น 5 สถาน
แนวโน้มการบริ หารทรัพยากรมนุษย์ในราชการพลเรื อน ได้แก่
1. การปรับปรุ งระบบตําแหน่งและการบริ หารตําแหน่งข้าราชการพลเรื อน
2. การกําหนดโครงสร้างและขนาดของกําลังคนภาครัฐที่เหมาะสม
3. การพัฒนาระบบบริ หารทรัพยากรมนุษย์ของข้าราชการพลเรื อนที่สนับสนุนและ
เสริ มสร้างการมีขา้ ราชการพลเรื อนที่มีคุณภาพและคุณธรรม และข้อ เสนอแนะ
เกี่ยวกับการพัฒนามาตรฐานกลางในการบริ หารทรัพยากรมนุษย์ของข้าราชการฝ่าย
พลเรื อน
4. การให้ความสําคัญกับทรัพยากรมนุษย์ในข้าราชการพลเรื อน
5. ความรู้ความเข้าใจและทักษะเกี่ยวกับการบริ หารทรัพยากรมนุษย์
6. การพัฒนาการบริ หารทรัพยากรมนุษย์อย่างเป็นระบบและต่อเนื่ อง
7. การพัฒนาข้าราชการพลเรื อนให้เกิดความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของตําแหน่ง
หน้าที่ขา้ ราชการ วินยั และจรรยาบรรณ
37
8. การพัฒนาตนเองของข้าราชการพลเรื อน
ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรง
ริ เริ่ มและโปรดเกล้าให้มีการประกาศใช้กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรื อนในราชการ
ขึ้นเป็นครั้งแรก ได้แก่ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรื อนพุทธศักราช 2471
กําหนดให้มีกรรมการรักษาพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรื อนหรื อ ก .ร.พ. ทําหน้าที่
เป็นองค์กรกลางในการบริ หารงานบุคคล ใช้ระบบชั้นยศเป็นแกนกลางในการบริ ห าร
ทรัพยากรมนุษย์ มีระบบการสรรหาและเลือกสรร และการพัฒนาข้าราชการตามระบบ
คุณธรรม
การบริ หารทรัพยากรมนุษย์ ตามพ .ร.บ. ข้าราชการพลเรื อน 2518 เน้นกํานําระบบ
จําแนกตําแหน่งที่เน้นงานเป็นหลัก มาใช้แทนระบบชั้นยศเดิมที่เน้นคนเป็นหลักมีการจําแนก
ตําแหน่งข้าราชการพลเรื อนออกเป็ น 11 ระดับ ระดับสูงสุดคือระดับ 11 ส่ วนระดับตํ่าสุ ด
ได้แก่ระดับ 1
การบริ หาราชการพลเรื อนก่อนพ.ร.บ. ข้าราชการพลเรื อน 2471 เป็ นไปตามระบบ
อุปถัมภ์ การบรรจุแต่งตั้ง การเลื่อนฐานะ การออกจากราชการ เป็นไปตามแต่ผบู ้ งั คับบัญชา
จะพิจาณาเห็นสมควร
การคัดเลือกคนเข้ารับราชการในสมัยรัชกาลที่ 5 มี 4 แนวทางคือ
1. ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้า
2. การถวายตัวเข้ารับราชการ
3. การเกณฑ์ให้เข้ารับราชการ
4. การคัดเลือกให้เข้ารับราชการ
การบริ หาราชการพลเรื อนก่อนพ.ร.บ. ข้าราชการพลเรื อน 2518 ยึดตามหลักคุณธรรม
โดยมี ก.พ. เป็ นองค์กรกลางบริ หารงานบุคคล
มีการนําระบบจําแนกตําแหน่ง มาแทนระบบชั้นยศตามพรบ.ข้าราชการพลเรื อน 2497
การเลือกสรรบุคคลเข้ารับราชการ มีเกณฑ์ดงั นี้
1. การสอบแข่งขัน
2. การคัดเลือก
3. การบรรจุผทู้ รงคุณวุฒิ
38
4. การบรรจุกลับเข้ารับราชการ
มีการเปลี่ยนเงื่อนไขการบรรจุ จากการสัง่ บรรจุให้ขา้ ราชการพลเรื อนวิสามัญและ ให้
ทดลองปฏิบตั ิราชการก่อน ภายหลังพ้นทดลองปฏิบตั ิราชการแล้วจึงสัง่ ให้บรรจุให้เป็น
ข้าราชการพลเรื อนสามัญ เป็นการสัง่ บรรจุให้เป็นข้าราชการพลเรื อนสามัญและให้ทดลอง
ปฏิบตั ิราชการ ไม่มีข้ นั ตอนการสัง่ บรรจุให้เป็นข้าราชการพลเรื อนวิสามัญก่อน
กําหนดให้ผบู้ งั คับบัญชามีหน้าที่ส่งเสริ มและดูแลระมัดระวังให้ผใู ้ ต้บงั คับบัญชา
ปฏิบตั ิตามวินบั ถ้าผูบ้ งั คับบัญชารู้วา่ ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาคนใดกระทําผิดวินยั จะต้องดําเนิ นการ
ทางวินยั ทันที
การบริ หารทรัพยากรมนุษย์ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรื อน 2535
(จําแนกตําแหน่งออกเป็น 11 ระดับ)
คณะกรรมการข้าราชการพลเรื อน(ก.พ.) ประกอบด้วยกรรมการโดยตําแหน่ง กรรมการ
ผูท้ รงคุณวุฒิและกรรมการผูไ้ ด้รับการคัดเลือกจากข้าราชการพลเรื อน คณะอนุกรรมการ
ข้าราชการพลเรื อน หรื อ อ.ก.พ. มี 2 ประเภท ได้แก่
1. คณะอนุกรรมการสามัญ
2. คณะอนุกรรมการวิสามัญ
กําหนดประเภทของข้าราชการพลเรื อนออกเป็ น 3 ประเภท คือ
1. ตําแหน่งประเภททัว่ ไป
2. ประเภทวิชาชีพเฉพาะหรื อเชี่ยวชาญเฉพาะ
3. ประเภทบริ หารระดับสูงหรื อบริ หารระดับกลาง เพื่อประโยชน์ในการบริ หารการ
ตอบแทนสําหรับข้าราชการในแต่ละประเภท โดยกําหนดให้ขา้ ราชการพลเรื อนผู ้
ดํารงตําแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะหรื อผูเ้ ชี่ยวชาญเฉพาะและผูด้ าํ รงตําแหน่ง
ประเภทบริ หารระดับสู งหรื อบริ หารระดับกลางได้รับเงินประจําตําแหน่ง
กําหนดให้มีการสรรหาบุคคลเข้ารับราชการได้ 2 วิธี คือ การสอบแข่งขัน และการ
คัดเลือก
มีการปรับปรุ งโทษทางวินยั จากเดิม 6 สถาน เหลือเพียง 5 สถาน ได้แก่ ภาคทัณฑ์ ตัด
เงินเดือน ลดขั้นเงินเดือน ปลดออก และไล่ออก และนํากรณี การ ให้ออก จากราชการ ซึ่ ง
เคยเป็นโทษทางวินยั มากําหนดให้ผมู้ ีอาํ นาจสัง่ บรรจุมีอาํ นาจสัง่ ให้ขา้ ราชการพลเรื อนสามัญ
39
ออกจากราชการเพื่อรับบําเหน็จบํานาญตามกฎหมายว่าด้วยบําเหน็จบํานาญในกรณี ต่าง ๆ
สามารถอุธรณ์คาํ สัง่ ลงโทษภายใน 30 วันนับแต่วนั ทราบคําสัง่
การสัง่ ให้ขา้ ราชการพลเรื อนสามัญออกจากราชการ มี 5 กรณี ดงั นี้
1. ไม่พน้ กําหนดทดลองปฏิบตั ิหน้าที่ราชการ
2. ขาดคุณสมบัติในการรับราชการ
3. ถูกกล่าวหาว่ากระทําผิดอย่างร้ายแรงจนถูกตั้งกรรมการสอบสวนหรื อถูกฟ้ อง
คดีอาญา
4. ถูกกล่าวหาว่ากระทําผิดวินยั ร้ายแรงจนถูกตั้งกรรมการสอบสวนหรื อถูกฟ้ อง
คดีอาญาหรื อต้องหาว่ากระทําความผิดอาญา เว้นแต่เป็นความผิดที่ได้กระทําโดย
ประมาทหรื อความผิดลหุโทษ
5. ถูกสัง่ ให้ออกจากราชการเพื่อรับบําเหน็จบํานาญเหตุทดแทนในกรณี ต่าง ๆ ตาม
มาตรา 114 เช่น เจ็บป่ วยจนไม่อาจปฏิบตั ิหน้าที่ราชการได้อย่างสมํ่าเสมอ สมัครไป
ปฏิบตั ิงานใด ๆ ตามความประสงค์ของทางราชการ ขาดความเป็ นสัญชาติไทย
ร่ างกายทุพพลภาพจนไม่สามารถปฏิบตั ิหน้าที่ได้ ไร้ความสามารถหรื อจิตฟั่นเฟื อน
ไม่สมประกอบหรื อเป็นโรคตามที่กาํ หนดในกฎ ก.พ. เป็ นกรรมการพรรคการเมือง
หรื อเจ้าหน้าที่พรรคการเมือง เป็ นบุคคลล้มละลาย ทางราชการเลิกหรื อยุบเลิก
ตําแหน่ง เป็นต้น

40
หน่ วยที่ 13
การบริหารการคลัง งบประมาณ และพัสดุในราชการไทย
แหล่งที่มาของรายได้
1. รายได้จากภาษีอากร
2. รายได้ที่มิใช่ภาษีอากร
หนี้สาธารณะ เป็นหนี้ที่เกิดจากการกูย้ มื เงินและคํ้าประกันการกูย้ มื เงินของรัฐ
แบ่งได้เป็นหนี้ภายในประเทศและหนี้ ต่างประเทศ
ปัญหาการคลังที่รัฐบาลประสบอยูน่ ้ นั ได้แก่
1. ปัญหาความไม่สมดุลระหว่างรายได้และรายจ่าย
2. ปัญหาด้านโครงสร้างและที่มาของรายได้
3. ปัญหาด้านรายจ่าย
การแก้ไขปั ญหาการคลังของรัฐบาลนั้นจะต้องแก้ไขทั้งระยะสั้นและระยะยาว
หลักเกณฑ์ในการจัดเก็บภาษีอากร
1. หลักความเป็ นธรรม
2. หลักความแน่นอน
3. หลักความสะดวก
4. หลักความประหยัด
วัตถุประสงค์ของการจัดเก็บภาษี
1. เพื่อหารายได้เป็นค่าใช้จ่ายของรัฐบาล
2. เพื่อการควบคุม
3. เพื่อการกระจายรายได้
4. เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
แหล่งที่มาของเงินกู้
1. หนี้ภายในประเทศ
ออกตัว๋ เงินคลัง
ขายพันธบัตรรัฐบาล
ออกตัว๋ สัญญาใช้เงิน
41
2. หนี้ภายนอกประเทศ ได้แก่ รัฐบาลต่างประเทศ สถาบันการเงินต่างประเทศ และ
สถาบันการเงินระหว่างประเทศ
การบริ หารงบประมาณ
งบประมาณเป็นแผนการจัดสรรทรัพยากรเพื่อนําไปพัฒนาประเทศในช่วงระยะเวลา
หนึ่งซึ่ งจะมีจุดเริ่ มต้นและสิ้ นสุดแน่นอนโดยปกติ 1 ปี แผนการจัดสรรทรัพยากรนี้ออกมา
เป็นกฎหมายที่เรี ยกว่า พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจําปี โดยเป็นเครื่ องมือของฝ่าย
นิติบญั ญัติที่ใช้ควบคุมฝ่ ายบริ หาร และเป็ นเครื่ องมือวัดผลการทํางานของรัฐบาลด้วย
ระบบงบประมาณ อาจแยกได้เป็ น 3 ระบบคือ
1. ระบบงบประมาณที่เน้นการควบคุม
2. และระบบงบประมาณที่เน้นการจัดการ
3. ระบบงบประมาณที่เน้นการวางแผน-การจัดการ-และการควบคุม
ปัญหาด้านการงบประมาณเกิดจากปั ญหาในขั้นตอน การจัดเตรี ยม ขั้นตอนการอนุมตั ิ
และขั้นตอนการบริ หารงบประมาณ แนวทา งแก้ไขจะต้องใช้แนวทางแก้ไขเป็น
ขั้นตอน
นโยบายงบประมาณ
1. นโยบายงบประมาณแบบสมดุล เป็ นการดําเนินการทางด้านงบประมาณ
โดยการจัดทําการหารายได้ให้เท่ากับค่าใช้จ่าย ซึ่งจะทําให้เศรษฐกิจ
ขยายตัวในอัตราคงที่ เป็นการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
2. นโยบายงบประมาณแบบขาดดุล เป็ นกา รดําเนินงานด้านงบประมาณโดย
ทําให้การใช้จ่ายมีมากกว่ารายได้ การดําเนินนโยบายเช่นนี้จะพบได้ใน
ประเทศกําลังพัฒนา ทั้งนี้ เนื่องจากประเทศเหล่านี้ มีความสามารถในการ
แสวงหารายได้จาํ กัด แต่มีความจําเป็นในการใช้จ่ายมาก อีกทั้งการดําเนิ น
นโยบายงบประมาณขาดดุลยังนิ ยมที่จะใช้แก้ปัญหาการว่างงานและภาวะ
เศรษฐกิจตกตํ่า
3. งบประมาณแบบเกินดุล เป็นการดําเนิ นงานทางด้านงบประมาณ โดยทํา
ให้การแสวงหารายได้มีปริ มาณมากกว่าการใช้จ่าย การดําเนิ นนโยบาย
แบบเกินดุลนิ ยมใช้ในยามที่ระบบเศรษฐกิจเกิดภาวะเงินเฟ้ อ
42
การบริหารพัสดุ
พัสดุ มี 3 ประเภทคือ
1. วัสดุ ได้ แก่สิ่งของโดยสภาพย่อมสิ้ นเปลือง เปลี่ยน หรื อสลายตัวในระยะเวลาอัน
สั้น
2. ครุ ภณั ฑ์ ได้แก่ สิ่ งของซึ่งตามปกติมีลกั ษณะคงทนถาวร มีอายุการใช้ยนื นาน
3. ที่ดินและสิ่ งก่อสร้าง ได้แก่ ที่ดินและสิ่ งก่อสร้าง และรวมถึงสิ่ งต่าง ๆ ที่ติดอยูก่ บั
ที่ดินและสิ่ งก่อสร้าง
วงจรการบริหารพัสดุ
1. การวางแผนความต้องการวัสดุ
2. การกําหนดความต้องการพัสดุจากแผนที่กาํ หนด
3. การจัดหาพัสดุ
4. การแจกจ่ายพัสดุ
5. การบํารุ งรักษาพัสดุหรื อการซ่อมบํารุ งพัสดุ
6. การจําหน่ายพัสดุ
ระเบียบที่ใช้ในการบริ หารงาสนพัสดุ เป็นระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วา่ ด้วยการพัสดุ พ .ศ.
2535 และฉบับแก้ไขเพิม่ เติม
การจัดหาด้วยวิธีการซื้อทาได้ 5 วิธี คือ วิธีตกลงราคา วิธีสอบราคา วิธีประกวดราคา วิธี
พิเศษและวิธีกรณี พิเศษ
วิธีการจัดหาด้วยวิธีการจ้ าง มี6 วิธี คือ วิธีตกลงราคา วิธีกาํ หนดราคา วิธีสอบราคา วิธีประกวด
ราคา วิธีพิเศษ และวิธีกรณี พิเศษ
วิธีตกลงราคา การซื้อหรื อจ้างที่มีวงเงินตํ่ากว่า 1,000 บาท
วิธีสอบราคา มีวงเงินเกิน 100,000 บาท แต่ไม่เกิน 200,000 บาท
วิธีประกวดราคา มีวงเงินเกิน 200,000 บาท
วิธีพเิ ศษ การซื้อการจ้างครั้งหนึ่ งซึ่งมีราคาเกิน 100,000 บาท
วิธีกรณีพเิ ศษ การซื้อหรื อจ้างจากส่ วนราชการหรื อรัฐวิสาหกิจซึ่ งเป็นผูท้ าํ หรื อพัสดุข้ ึนเอง
และนายกรัฐมนตรี อนุมตั ิให้ซ้ื อหรื อจ้างได้หรื อมีมติคณะรัฐมนตรี กาํ หนดให้ตอ้ งซื้ อหรื อจ้าง

43
จากส่ วนราชการหรื อรัฐวิสาหกิจการดําเนิ นการซื้ อหรื อจ้างโดยวิธีกรณี พิเศษ ให้หวั หน้าส่ วน
ราชการสัง่ ซื้อหรื อสัง่ จ้างได้โดยตรง
วิธีกาหนดราคา วิธีน้ ีใช้สาํ หรับการจ้างเท่านั้น หมายถึง งบประมาณที่หน่วยงานได้รับการ
จัดสรรในแต่ละปี เพื่อดําเนินการจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วา่ ด้วยการ
พัสดุ พ.ศ. 2535

44
หน่ วยที่ 14
การพัฒนาการบริหารราชการไทย
การพัฒนาโครงสร้าง กระบวนการ และพฤติกรรมการบริ หารเป็ นการปรับเปลี่ยน
องค์ประกอบทางการบริ หารเพื่อให้สอดคล้องกับรู ปแบบการบริ หารภาครัฐแนวใหม่ โดยจะ
มุ่งสู่ การปรับโครงสร้างให้กะทัดรัด คล่องตัว และมีภารกิจที่ชดั เจน ปรับกระบวนการบริ หาร
ให้ทนั สมัยและมีประสิ ทธิภาพสู งขึ้น ตลอดจนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ค่านิ ยม และวัฒนธรรม
ทางการบริ หารของบุคลากรภาคราชการสู่ พฤติกรรมที่พึงประสงค์เพื่อให้เอื้อประโยชน์ต่อ
การพัฒนาระบบราชการ
การพัฒนาการบริ หาร สามารถจําแนกความหมายออกเป็ น 2 นัย คือ
1. ความหมายเชิงจุลภาคหรื อความหมายเชิงแคบซึ่งจะหมายถึง การพัฒนาความรู้
ความสามารถ ทักษะ ทัศนคติ และพฤติกรรมของผูบ้ ริ หาร
2. ความหมายเชิงมหภาคหรื อความหมายเชิ งกว้าง หมายถึง การเพิม่ สมรรถนะหรื อ
ศักยภาพทางการบริ หารด้วยการพัฒนา/ปรับปรุ งองค์ประกอบของการบริ หารของ
องค์การ
หลักการสําคัญของการบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดีประกอบด้วยหลัก 6 ประการ
1. หลักนิติธรรม มีการตรากฎหมายที่ถูกต้อง เป็ นธรรม
2. หลักคุณธรรม การยึดความถูกต้องดีงาม
3. หลักความโปร่ งใส
4. หลักความมีส่วนร่ วม
5. หลักความรับผิดชอบ
6. หลักความคุม้ ค่า
เป้ าหมายการดําเนินการการพัฒนาการบริ หาร
1. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
2. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
3. มีประสิ ทธิ ภาพและเกิดความคุม้ ค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
4. ไม่มีข้นั ตอนการปฏิบตั ิงานที่เกินความจําเป็น
5. มีการปรับปรุ งภารกิจของส่วนราชการให้ทนั ต่อสถานการณ์
45
6. ประชาชนได้รับการอํานวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ
7. มีการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการอย่างสมํ่าเสมอ
การพัฒนากระบวนการบริ หารราชการไทยมุ่งพัฒนาในประเด็นสําคัญ 4 ประการ คือ
1. การพัฒนาด้านการวางแผน มีการจัดทําแผนยุทธศาสตร์ คือ
วิเคราะห์สภาวะแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน
กําหนดวิสยั ทัศน์
กําหนดพันธกิจ
การจัดกลุ่มภารกิจ
การกําหนดเป้ าประสงค์
กําหนดประเด็นยุทธศาสตร์
การนําแผนยุทธศาสตร์ สู่การปฏฺบัติ
การประเมินผล
2. การพัฒนาด้านการบริ หารงานบุคคล
3. การพัฒนาด้านกฎหมาย กฎระเบียบ
4. การพัฒนาด้านงบประมาณ
ค่านิยมสร้างสรรค์ที่สาํ นักงาน ก .พ. กําหนดขึ้นเพื่อให้เจ้าหน้าที่ของรัฐปฏิบตั ิมี 5 ประการ
คือ
1. กล้ายืนหยัดในสิ่ งที่ถูกต้อง
2. ซื่อสัตย์และมีความรับผิดชอบ
3. โปร่ งใสและตรวจสอบได้
4. ไม่เลือกปฏิบตั ิ
5. ทํางานมุ่งผลสัมฤทธิ์
การแปรสภาพกิจกรรมของรัฐเป็นกิจกรรมของเอกชน
1. การขายกิจการ เป็นการขายกิจการของรัฐให้เอกชนดําเนิ นการ เช่น ขายทั้งหมด ขาย
หุ ้นบางส่วน ขายแยกส่วน เป็นต้น
2. การร่ วมทุนระหว่างรัฐกับเอกชน
3. การจ้างเหมาบริ การ
46
4. การให้สมั ปทาน เป็นการที่รัฐให้สิทธิ ผกู ขาดให้แก่เอกชนในการเข้าไปดําเนิ นการ
เพื่อจัดซื้อสิ นค้าหรื อบริ การโดยรัฐกํากับดูแล
5. การประมูลดําเนินการ
6. การให้เช่า
7. การออกคูปองหรื อสิ ทธิบตั ร
8. การให้เงินอุดหนุนกับภาคเอกชนเพื่อให้ดาํ เนินการในกิจกรรมบางอย่างที่รัฐเห็นว่า
สําคัญ
9. การเรี ยกเก็บค่าใช้บริ การหรื อคิดราคากับผูใ้ ช้บริ การของรัฐ
10. การถอนตัวของรัฐออกจากการให้บริ การบางอย่าง
11. การให้ดาํ เนินการอย่างเสรี
12. การจัดตั้งบริ ษทั มหาชน
การพัฒนาความรู้ทางการบริ หารมีรูปแบบการดําเนิ นการที่สาํ คัญดังนี้
1. การให้การศึกษา
2. การฝึ กอบรม
3. การพัฒนาตนเอง
4. การศึกษาดูงาน

47
หน่ วยที่ 15
ทิศทางและแนวโน้ มของการบริหาราชการไทย
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย(พ.ศ. 2546-พ.ศ. 2550) ได้กาํ หนด
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย ตามวิสยั ทัศน์และเป้ าหมายหลักในการพัฒนาระบบ
ราชการไทยเพื่อการดําเนินงานพัฒนาระบบราชการไทยเป็นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ โดย
กําหนดยุทธศาสตร์ ที่สาํ คัญ 7 ยุทธศาสตร์ คือ
1. การปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทํางาน
2. การปรับปรุ งโครงสร้างการบริ หารราชการแผ่นดิน
3. การปรับรื้ อระบบการเงินและการงบประมาณ
4. การสร้างระบบบริ หารงานบุคคลและค่าตอบแทนใหม่
5. การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยม
6. การเสริ มสร้างระบบราชการให้ทนั สมัย
7. การเปิ ดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่ วม
แนวโน้มของการบริ หารราชการไทย
แนวโน้มด้านอํานาจในการบริ หารราชการไทยอาจแยกพิจารณา ได้ 3 ประเด็นหลัก
คือ
1. การพิจารณาแนวโน้มของอํานาจบริ หารในภาพรวม
2. การพิจารณาแนวโน้มเกี่ยวกับการใช้อาํ นาจบริ หารในลักษณะต่าง ๆ
3. การพิจารณาแนวโน้มเกี่ยวกับอํานาจหน้าที่ของหน่วยราชการในระบบบริ หาร
ราชการส่วนต่าง ๆ
แนวโน้มด้านโครงสร้างของการบริ หารราชการไทย อาจจะพิจารณาได้จากปัจจัย
หลาย ๆ ด้าน ทั้งแนวทางที่กาํ หนดในรัฐธรรมนูญและก ฎหมายที่เกี่ยวข้อง แผนยุทธศาสตร์
การพัฒนาระบบราชการไทย นโยบายของรัฐบาล กระแสความนิยมในสังคมนานาชาติ
รวมทั้งสภาพแวดล้อมและสถานการณ์ดา้ นต่าง ๆ อย่างไรก็ตาม แนวโน้มด้านโครงสร้างยิง่
จะต้องสอดคล้องกับแนวโน้มด้านอํานาจซึ่ งเป็นปั จจัยสําคัญในการกําหนดโครงสร้าง
แนวโน้มด้านการบริ หารงานในระบบราชการไทย นอกจากจะขึ้นอยูก่ บั แนวทางสําคัญ
ที่กาํ หนดไว้ในรัฐธรรมนูญ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบ
48
ราชการไทยแล้ว ยังขึ้นอยูก่ บั ปัจจัยอื่น ๆ อีกหลายประการ อาทิ สถานการณ์บา้ นเมือง
เศรษฐกิจ และสังคม การเปลี่ยนแปลงและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
โครงสร้างของระบบบริ หารราชการส่วนท้องถิ่นมีแนวโน้มที่จะขยายตัวตาม
เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญที่สนับสนุนการกระจายอํานาจให้ประชาชนในท้องถิ่นมีอาํ นาจ
ปกครองและบริ หารท้องถิ่นของตนเองและขยายโครงสร้างเพื่อรองรับการกระจายอํานาจและ
การถ่ายโอนภารกิจจากระบบบริ หารราชการส่วนกลางและส่ วนภูมิภาค ตามพระราชบัญญัติ
กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรการปกครองส่ วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
การบริ หารราชการตามแนวทางการบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดีมีเป้ าหมายที่สาํ คัญ 7
ประการ คือ
1. เกิดประโยชน์สูงสุดของประชาชน
2. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจรัฐ
3. มีประสิ ทธิ ภาพและเกิดความคุม้ ค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
4. ไม่มีข้นั ตอนการปฏิบตั ิงานเกินความจําเป็น
5. มีการปรับปรุ งภารกิจของส่วนราชการให้ทนั ต่อสถานการณ์
6. ประชาชนได้รับการอํานวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ
7. มีการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการอย่างสมํ่าเสมอ

49

You might also like