You are on page 1of 57

1

หน่ วยที 1

ประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจ กับ ประวัตแิ นวคิดทางเศรษฐศาสตร์


นิยามของเศรษฐศาสตร์ เน้น 2 ประเภท คือ

1.เน้นถึงความหามาได้ยากของทรัพยากร ทีมีอย่างจํากัด

2.เน้นสวัสดิการทางเศรษฐกิจของมนุษย์(สวัสดิการทางเศรษฐกิจ) เน้นกินดีอยูด่ ี เช่น นักเศรษฐฯ เอ ซี พิกูย ์ (A C Pigou)

ประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจ หมายถึง การศึกษาเรื องราวทีเกียวข้องกับการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์ใน


อดีต โดยเน้นการจัดสรรทรัพยากรทีมีอยูอ่ ย่างจํากัด เพือให้มีประสิ ทธิภาพสู งสุ ดในด้านการผลิต การบริ โภค การแบ่งปัน
เพือให้สังคมมีสวัสดิการสู งสุ ด

ตลอดจนการเปลียนแปลงวิถีชีวิตทางเศรษฐกิจของผูค้ นหรื อสังคม ทําให้ทราบถึง

-ปัจจัยต่างๆทีทําให้เกิดการเปลียนแปลงในโครงสร้างเศรษฐกิจ

-ทราบทีมาของความเจริ ญทางเศรษฐกิจ

-ช่วยให้สามารถสรุ ปบทเรี ยนเกียวกับพัฒนาการทางเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ

-ช่วยให้เข้าใจเรื องราวในอดีต

-ช่วยอธิบายวิวฒั นาการทางเศรษฐกิจทีเกิดขึนในปัจจุบนั

การวิเคราะห์เศรษฐกิจ มักเน้นระยะเวลาทีใช้ในปัจจุบนั และ ให้ความสําคัญกับการใช้แนวคิด/ทฤษฎี ในภาวะดุลย


ภาพ รวมทังกําหนดปัจจัยอืนให้คงที เช่น สังคม สถาบัน การเมือง

รู ปแบบของระบบเศรษฐกิจ

แบ่งโดยอาศัย สภาพแวดล้อมหรื อกลไกทีมีผลต่อพฤติกรรมเศรษฐกิจ

1.แบบดังเดิม(Traditional Econ.)

2.แบบสั งการหรื อแบบวางแผน (Command Econ / Planned Econ.)

3.ระบบเศรษฐกิจตลาด (Market Econ.)


2
แบ่งโดยอาศัย ความเป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ

1.กรรมสิ ทธิส่ วนบุคคล

2.กรรมสิ ทธิส่ วนรวม(สาธารณะ) หรื อ กรรมสิ ทธิสังคม

3.ไม่สามารถระบุกรรมสิ ทธิได้

ความสําคัญและประโยชน์ ของการศึกษา ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ ความสําคัญมี 6 ประการคือ

1.ทําให้ทราบวิวฒั นาการทางเศรษฐกิจของประเทศต่างๆได้อย่างต่อเนือง

ปฏิวตั ิอุตสาหกรรมอังกฤษ เริ มในปลาย ศต. 18 และสําเร็จใน ศต. 19

การบรรลุเป้ าหมายเศรษฐกิจทีสําคัญ คือ การจําเริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจ การจัดสรรทรัพยากรอย่างมีประสิ ทธิภาพ


ความเป็ นธรรมในการกระจายรายได้ การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและอืนๆ

2.ช่วยให้เราสามารถสรุ ปบทเรี ยนเกียวกับพัฒนาการทางเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ

เพือเข้าใจความสําเร็ จและล้มเหลวในอดีต รวมทังหาทางเลือกทีดีสุดในอนาคต

3.ช่วยให้เข้าใจการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ และ สถานการณ์เศรษฐกิจได้ดีขึน

การวิเคราะห์เศรษฐกิจ โดยเน้นระยะเวลาทีใช้ในปัจจุบนั และให้ความสําคัญกับการใช้แนวคิดทฤษฎีในภาวะ


ดุลยภาพ รวมทังกําหนดให้ปัจจัยอืนๆคงที

4.ช่วยให้อธิบายทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ ได้ดียงขึ
ิ น

เริ มมีการศึกษาแบบวิทยาศาสตร์ มากขึน เรี ยกว่า การศึกษาประจักษ์นิยม (Positivism) หรื อ (Empirical)

5.ช่วยให้เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างประเทศได้ดีขึน

6.ช่วยให้ผบู ้ ริ หารนโยบายเศรษฐกิจ ได้ใช้นโยบายในการพัฒนาประเทศได้ถูกทิศทางและเหมาะสม

โดยเฉพาะอย่างยิง เพือเข้าใจวิวฒั นาการของระบบเศรษฐกิจ เพือนํามาใช้ในการวิเคราะห์ ให้เข้าใจลักษณะและ


ปัญหาเศรษฐกิจ
3
ความสัมพันธ์ ระหว่าง ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ กับ ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์

การศึกษาประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจ มักจะใช้ทฤษฎีหรื อแนวคิดเศรษฐศาสตร์ เป็ นเครื องมือสําคัญ ในการวิเคราะห์และ


สร้างข้อสรุ ปโดยทัวไป ในการอธิบายวิวฒั นาการของระบบเศรษฐกิจ รวมทังเข้าใจในการเปลียนแปลงเศรษฐกิจด้านต่างๆ ที
เกิดขึน

องค์ประกอบของทฤษฎี มี 2 ส่ วน คือ

ก. คํานิยามและข้อสมมติเกียวกับพฤติกรรมต่างๆ (definitions and assumtions)

ข. คําทํานาย (predictions)

การศึกษาประวัตเิ ศรษฐกิจแบ่ งเป็ น 7 รู ปแบบ คือ

1.แบบ ไม่อิงแนวคิดหรื อทฤษฎี

ศึกษาในขอบเขตกว้างๆ เช่น ผลิตอะไร ผลิตอย่างไร จําแนกแจกจ่ายอย่างไร

นักเศรษฐฯ เช่น แวน เดอร์ไฮด์ ศึกษาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทยในอดีต

2.แบบ ทฤษฎีแบบขันตอน

วอลเตอร์ รอสทาวน์ 5 ขัน เป็ นจุดกาํ เนิด ปฏิวตั ิอุตสาหกรรมในยุโรป (ปป. นโยบายพาณิ ชย์นิยมนโยบายการค้าเสรี )

คาร์ล มาร์กซ์ 5 ขัน สํานักมาร์กซิ สต์ เน้นประวัติศาสตร์ต่อสู้ระหว่างชนชัน ปป. ฟิ วดัล(นายกับไพร่ ) ทุนนิยม(นายทุนกับกรรมกร)

3.แบบ เน้นเฉพาะ สถาบันเศรษฐกิจ

4.แบบ วิเคราะห์ปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจเฉพาะเรื อง

เน้นทฤษฎีราคา Price Theory เน้นระยะสันมากกว่า

5.แบบ ทฤษฎีความจําเริ ญทางเศรษฐกิจ

ไซมอน คุสเนท ดึงปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจหรื อข้อเท็จจริ ง มาสร้างทฤษฎี

แองกัส แมดิสัน / ฮาร์รอด / โดมาร์ / โซโล

6.แบบ เปรี ยบเทียบ

ศึกษาในหลายประเทศ ไม่ศึกษาประเทศเดียว เช่น คาล โปยี / แมกซ์ เวเบอร์ / บาริ งตัน มัวส์

7.แบบ ประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจแนวใหม่

แบ่งเป็ นระดับ มหภาค และ จุลภาค เช่น โฟเกิล


4
ข้อแตกต่าง ประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจ กับ ประวัติศาสตร์ ทวไป
ั คือ

1.ประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจ มักมี การใช้ทฤษฎี แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ ดว้ ย มีความสัมพันธ์ขอ้ มูลชัดเจนตายตัว เก็บข้อมูลอย่าง


เป็ นระบบและวิทยาศาสตร์ ไม่ใช่นึกเอาเอง เช่น อดัม สมิธ(บิดาแห่งเศรษฐฯ) ตีพิมพ์หนังสื อ การค้นหาธรรมชาติและความมังคัง

2.ใช้ขอ้ มูลเกียวกับเรื องราวเศรษฐกิจเป็ นตัวเลขสถิติหรื อข้อเท็จจริ งทีเป็ นรู ปธรรม เช่น รายได้ประชาชาติ อัตราดอกเบีย ฯลฯ

3.มักมี มโนทัศน์หรื อแนวคิดทีแน่นอนชัดเจน เพือดูความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่างๆ มีการนิยามความหมายมโนทัศน์ไว้ชดั


เช่น อุปสงค์ อุปทาน ตลาดผูกขาด ฯลฯ

ประวัติ แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ หมายถึง การศึกษาความเป็ นมาของแนวคิดหรื อลัทธิทางเศรษฐกิจ ของนัก


คิดเศรษฐศาสตร์ ทีเกิดขึนในอดีต โดยนักคิดมักมีเป้ าหมายในการพยายามทีจะ เพิ มพูนสวัสดิการความมังคัง ความสมบูรณ์พูน
สุ ขของมนุษย์ ตลอดจนการจัดสรรทรัพยากรทีมีอยูอ่ ย่างจํากัดให้แก่กลุ่มคนต่างๆอย่างมีประสิ ทธิภาพ

อีกทังยังเป็ นการศึกษาถึง พัฒนาการของทฤษฎีหรื อแนวคิด และบทบาทของแนวคิด ในการเสนอแนะนโยบายของ


แต่ละสํานักคิด ของแต่ยคุ ละสมัย

ความสําคัญของการศึกษาประวัติแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ ทําให้มองเห็นถึงพัฒนาการของแนวคิดหรื อทฤษฎี มี


การเปลียนแปลงอยูเ่ สมอ รวมทังมีการปรับปรุ งและแก้ไข ข้อผิดพลาดและความบกพร่ อง ของแนวคิด/ทฤษฎีในอดีตได้ ซึ ง
ความสําคัญสามารถบอกได้อย่างน้อย 6 ประการคือ

1.มีอิทธิพลต่อการเปลียนแปลงเศรษฐกิจและสังคม ในอดีตจนถึงปั จจุบนั

2.ช่วยให้เรา ปรับปรุ งแก้ไข ข้อผิดพลาดและข้อบกพร่ องของแนวคิดทฤษฎีได้

3.ช่วยสรุ ปบทเรี ยนในอดีตและช่วยให้การบริ หารนโยบายทางเศรษฐกิจมีประสิ ทธิภาพยิงขึน

4.ศึกษา จุดเด่น ข้อจํากัด เพือเป็ นพืนฐานในการประยุกต์ใช้แนวคิดทฤษฎีต่างๆ

5.ช่วยให้เข้าใจพัฒนาการ สาระสําคัญของแนวคิด เพือเป็ นพืนฐานในการสร้างทฤษฎี

6.ทําให้เข้าใจปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจได้อย่างเป็ นระบบ
5
การศึกษา ประวัติ แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ แบ่ ง ออกได้ 4 แบบ คือ

1.แบบแบ่งเป็ นสํานักคิด แต่ละสํานัก เช่น คลาสสิ ค นีโอคลาสสิ ค มาร์กซิ สต์

แบ่งตามอุดมการณ์ เช่น อนุรักษ์นิยม เสรี นิยม รุ นแรง

2.แบบยึดตัวบุคคลเป็ นหลัก

3.แบบลัทธิเศรษฐกิจการเมือง ทุนนิยม อังกฤษ

ฟาสซิ สต์ เยอรมนี ญีปุ่ น

คอมมิวนิสต์ รัสเซี ย จีน

ทุนนิยมชายขอบ/ทุนนิยมทวิลกั ษณ์ ละตินอเมริ กา (ครอบงําโดย เผด็จการ อภิสิทธิ ชน ทหาร)

4.แบบผสมผสาน
6

หน่ วยที 2

ระบบสั งคมเศรษฐกิจสมัยกลาง การก้ าวไปสู่ ระบบทุนนิยม และลัทธิพาณิชย์ นิยม


ระบบเศรษฐกิจและสังคมในสมัยกลาง

ช่วงแรก ศต. 5-11 มีระบบฟิ วดัล และแมนเนอร์

ช่วงทีสอง ศต. 12-13 ฟื นตัวทางการค้า ขยายตัวอุตสาหกรรม (จุดเริ มสลายตัวของระบบแมนเนอร์ )

ช่วงทีสาม ศต. 14-15 เกิดสงครามอังกฤษ-ฝรั งเศส เกิดกาฬโรค เศรษฐกิจชะงักงัน

ช่วงทีสี ศต. 15-16 ฟื นฟูศิลปะวิทยาการ เกิดการค้ารู ปแบบใหม่ ล่าอาณานิคม (จุดสิ นสุ ดยุคกลาง)

 สังคมและการปกครอง เรี ยก ระบบฟิ วดัล ศต. 8-14 มี 2 ชนชัน คือ ขุนนางหรื อเจ้า กับ ไพร่ หรื อข้า
มีความสัมพันธ์แบบพึงพาอาศัยกัน (แข็งแรงสุ ดทีฝรั งเศส อ่อนแอสุ ดทีอิตาลี)
 เศรษฐกิจ เรี ยก ระบบแมนเนอร์ ผูกพันกันโดยมีทีดินเป็ นแกนหลัก ขุนนางคุม้ ครองแก่ไพร่ ในด้านความมันคงและ
เศรษฐกิจ(ในยามขาดแคลนอาหาร) ส่ วนไพร่ ตอบแทนด้วยการทํางานและจ่ายภาษีให้แก่ขนุ นาง

การเพาะปลูก(ธัญพืช) เป็ นกิจกรรมเศรษฐกิจสําคัญสุ ด การค้าขายยังมีนอ้ ยมาก เพราะถือเป็ นบาปตามหลักศาสนาคริ สต์


นิกายโรมันคาทอลิก

สมาคมช่าง(กิลด์) มีบทบาทในการกําหนดเงือนไขการผลิตสิ นค้า ผูกขาดงานช่าง การผลิตช่างฝี มือ

สังคมโรมันมีโครงสร้างแข็งแรงกว่า เพราะวางอยูบ่ นรากฐานหลักการสาธารณรัฐ มีชาวนาอิสระ มีระบบราชการเพือการ


บริ หารทีเป็ นระเบียบ (ส่วนระบบฟิ วดัล ยังไม่มีความจําเป็ นต้องมีระเบียบการปกครองทีละเอียดมากนัก ยืดหยุน่ ไม่มีระเบียบ
แบบแผนมากนัก)

เนืองจากอิตาลีค่อนข้างมีความอ่อนแอของระบบฟิ วดัล จึงมีการค้าขายมากขึน ใน ศต.11 ได้รับขนานนามว่า การค้าแห่ง


เมดิเตอร์ เรเนียน ส่ วนในอังกฤษ ระบบฟิ วดัลเข้ามาช้าเพราะมีการสู ้รบระหว่าง กลุ่มแองโกล Anglo และ แซกซอน Saxons ยาวนาน

ไพร่ ในระบบฟิ วดัล จะจ่ายภาษีให้ขนุ นาง เป็ นไปตามอําเภอใจของขุนนาง ส่ วนใหญ่อยูใ่ นรู ปผลผลิต ไม่ใช่เงินตรา
โดยอํานาจขุนนางในฝรั งเศสจะมากสุ ด ส่วนในอังกฤษจะน้อยสุ ด
7
ทีดินในแมนเนอร์ แบ่งเป็ นสามประเภทคือ

1.ส่ วนขุนนางโดยเฉพาะ ราว 1 ใน 4 ถึง 2ใน 4 ของพืนทีแมนเนอร์ ส่ วนใหญ่ปลูกธัญพืชและเลียงสัตว์ โดยไพร่

2.ส่ วนโล่งกว้างใช้เพาะปลูก ถือครองโดยไพร่ โดยมิแยกจากกัน เพือเพาะปลูก แต่ละครอบครัวทํางานเท่าเทียมกัน

มีการทําเกษตรแบบ 2 ทุ่ง หรื อเกษตร 3 ทุ่ง

3.ส่ วนทียังมิได้ถากถางเพือเพาะปลูก (รวมป่ าไม้ หนองบึง อืนๆ) ทุกคนมีกรรมสิ ทธิร่ วมกัน มีเสรี ภาพในการใช้ประโยชน์

การค้าขายในระบบแมนเนอร์ มีนอ้ ยมาก การค้าหลัก คือ ค้าเกลือ อาจมีพ่อค้าเร่ มาเป็ นครังคราว โดยการค้าขาย
ทังหลายก็ตอ้ งได้รับกําไรแต่พองาม ใน ราคายุติธรรม(just price) หมายถึง ราคาทีเป็ นธรรมทังแก่ผขู ้ าย-ผูซ้ ือ

การผลิตเพือการบริ โภคเท่านัน

การกูย้ มื ก็อาจเกิดขึน แต่เพือการบริ โภคเท่านัน

เมืองศูนย์กลางมีบทบาท 2 ประการ คือ

1. เมืองในฐาน ะศูนย์กลางศาสนาคริ สต์ มีพระ ครู นักเรี ยน คนรับใช้ คนงาน ช่างฝี มือต่างๆ อาศัยอยู่
2. เมืองในฐานะ ศูนย์กลางทางทหาร เรี ยกว่า เบอร์ ก (burgs) มีทหาร ขุนนาง อาศัยในป้ อมปราการ

การกลับมาเฟื องฟูเมืองอย่างถาวร มีเงือนไข 2 ประการคือ ความจําเป็ นสิ งอํานวยความสะดวก(โครงสร้างพืนฐาน) และ ผลผลิตอาหารส่ วนเกิน

เวนิส รุ่ งเรื องใน ศต . 11 อยูต่ อนเหนือทะเลอัลเดียตริ ก ผลผลิตหลักคือ เกลือ (สิ นค้าขายอืน เช่น ข้าวสาลี เหล้า
ไวน์) ลักษณะเด่น คือ ไม่เคยถูกยึดครองโดยอนารยชน / เป็ นเมืองการค้าเชือม ตะวันออกตลอด / ไม่ได้รับอิทธิพลจากศาสนา

แฟลนเดอร์ (เบลเยียม) ใน ศต. 12 มีขอ้ ได้เปรี ยบเวนิส คือ เป็ นแหล่งดังเดิมของอุตสาหกรรมทอผ้า และแถบนีเริ ม
รวมกลุ่มจุดเริ มต้นเป็ นสมาคมการค้า (guild) เพือผูกขาดทางการค้า ต่อมาพัฒนาเป็ นสมาคมช่าง( craft guild)

Guild เป็ นองค์กรทีควบคุมการผลิตในเมืองทังหมด ตังแต่กาํ หนดเงือนไขการผลิตสิ นค้า การฝึ กหัดช่างฝี มือ การประกัน
คุณภาพสิ นค้า (ถือเป็ นระบบการผลิตแบบตลาด ใน ยุค ก่อนระบบทุนนิยม)
8
การล่มสลายของระบบฟิ วดัล

เริ มเกิดใน ศต. 14-15 จากหลายปัจจัยคือ

1.การเจริญเติบโตของระบบเศรษฐกิจแบบตลาด เนืองจากเริ มมีตลาดถาวรมากขึน มีเส้นทางเดินเรื อมากขึน และได้รับ


ผลกระทบจากสงครามอังกฤษ-ฝรั งเศส ซึ งพ่อค้าต่างๆต้องปฏิบตั ิตาม กฎหมายการพาณิ ชย์ (Mercantile Law)

การเปลียนแปลง ระบบแมนเนอร์ สู่ ระบบทุนนิยม

(สิ นสุ ดความสัมพันธ์ระหว่าง ไพร่ -ขุนนาง ในระบบฟิ วดัล ค.ศ 1500 ในอังกฤษ ) มี 2 ประการหลักคือ

- มีการทดแทนแรงงานไพร่ ดว้ ยการจ่ายเงินตราให้ขนุ นาง


- ขุนนางให้เช่าทีดินทีเป็ นกรรมสิ ทธิของตน แก่ชาวนาไพร่ โดยได้ผลตอบแทนเป็ นเงินตรา

2.การเจริญเติบโตของเมือง เกิดชนชัน กระฎุ มพี(bourgeoise) คือ กลุ่มคนอาศัยในเมืองทีทําการค้าเป็ นหลัก

3.เกิดภาวะเศรษฐกิจตกตํา สงคราม โรคระบาด ความไม่ สงบทางสั งคม

- ขาดแคลนอาหาร

- เจริ ญเติบโตของเมือง

- เกิดสงคราม 100 ปี ( 1337-1453) สาเหตุจาก

1.ฝรั งเศสต้องการดินแดนบางส่ วนของอังกฤษ

2.แฟลนเดอร์ ถูกควบคุมโดยฝรั งเศส แต่มีอุตสหากรรมทีค้าขายกับอังกฤษ ทําให้องั กฤษได้เปรี ยบ

3.สิ ทธิจบั ปลาในช่องแคบ ระหว่างอังกฤษ-ฝรั งเศส

-เกิดกาฬโรค ค.ศ. 1348- 1350 คนตาย 25 ล้านคน เกิดแนวคิดคัดค้านศาสนาเป็ นเหตุให้เกิด นิกายโปรเตสแตนท์

4.การกําเนิดรั ฐชาติ รวมผูค้ นดินแดนใกล้กนั ภาษาเดียวกัน เกิดระบบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์ทีเข้มแข็ง

-อังกฤษ เกิดสงครามดอกกุหลาบ พระเจ้าเฮนรี ที 7 ราชวงศ์แลงแคสเอตร์ ชนะ ริ ชาร์ ดที 3 ราชวงศ์ยอร์ค (แล้วตังเป็ นราชวงศ์ทิวดอร์)

-ฝรั งเศส พระเจ้าหลุยส์ที 11 ชนะดยุคแห่งเบอร์กนั ดี

-(แต่ เยอรมัน เป็ นระบบ คณาธิปไตย ไม่ใช่ รัฐชาติ)


9
การเปลียนแปลงในยุโรป กับการก้าวไปสู่ ระบบทุนนิยม

จุดเริ มจาก ลัทธิคลั แวง (Calvinism) ได้ให้แนวคิดเชิงบวกต่อการค้าและทุนนิยม คือ

ประเด็นแรก การอุทิศตนทํางานหนักเปรี ยบเสมือนกับการอุทิศตนเพือศาสนา

ประเด็นสอง การใช้เงินทองไม่ควรเพือประโยชน์ส่วนตน แต่ควรเพือประโยชน์ส่วนรวม/เพือการเพิ มผลิตภาพของงาน

ซึ งต่อมาเป็ นนิกาย โปรเตสแตนท์ และหลักเกณฑ์ประพฤติทีถือเป็ นอุดมคติอยู่ที ประหยัด ขยัน มีสติ ไม่ฟุ่มเฟื อย

การเปลียนแปลง ใน ศต. 16 ทีสําคัญคือ

1.ยอมให้เอกชนมีสิทธิ ครอบครองทีดิน (enclosure)

2.การขยายตัวทางการค้ามาก

การเปลียนแปลงในการผลิต จากเดิมใช้ระบบของสมาคมกิลด์ ต่อมาพัฒนาระบบการผลิตแบบจ่ายงานไปทําทีบ้าน


(Putting out domestic system of production) หมายถึง คนงานเป็ นเจ้าของเครื องมือเครื องจักร นายทุนให้วตั ถุดิบไปผลิตทีบ้าน
และนําสิ นค้าทีผลิตกลับคืน แต่ควบคุมคุณภาพได้ยาก ต่อมาสุ ดท้ายรวมศูนย์การผลิตพัฒนา เป็ นระบบโรงงาน โดยนายทุน
เป็ นเจ้าของทุกอย่าง แล้วให้คนมาทํางาน ซึ งอุตสาหกรรมทีเข้าสู่ ระบบทุนนิยม ได้แก่

-ทอผ้าขนสัตว์

-เพือการทหาร เช่น ปื นใหญ่ ปื นพก ลูกปื น

-เบียร์ ไวน์

-เครื องแก้ว กระดาษ

แนวคิดและหลักการ ลัทธิพาณิชย์นิยม

เกิดในช่วง ศต. 16 -18 หลักการสําคัญคือ เพิ มความมังคังของชาติ(โลหะทอง เงิน) ให้มีการไหลเข้าของโลหะ(ดุลการค้าเกินดุล)


10
11
แนวคิดพาณิ ชย์นิยมเห็นว่า ประเทศจะแข็งแกร่ งได้นนั ต้อง

1.ต้องมีกาํ ลังทหารและกําลังทางเศรษฐกิจทีแข็งแกร่ ง

2.ไม่จาํ เป็ นต้องพึงพาสิ นค้านําเข้า หรื อกองกําลังทหารจากชาติอืน

3.อํานาจทางการเมืองของรัฐ ควรใช้เป็ นเครื องมือในการบรรลุเป้ าหมายทางเศรษฐกิจของชาติ

ผูไ้ ด้รับประโยชน์ คือ กษัตริ ย ์ ชนชันพ่อค้า แต่ประชาชนยังยากจน

การดําเนินนโยบายพาณิชย์นิยมมี 2 แนวทาง คือ

1.นโยบายภายในประเทศ

1.1 โครงสร้างพืนฐาน สร้างถนน ปรับปรุ งถนน ขุดคลอง มีประโยชน์ทงทางเศรษฐกิ


ั จและการเมือง

1.2 ปฏิรูปภาษี ลดอัตราภาษี ให้เงินอุดหนุนสิ นค้าส่ งออก เก็บภาษีสินค้านําเข้าสูง

(แต่กลับกลายเป็ น เพิ มภาระภาษีอืน เช่น ทีดิน ความมังคัง หน้าต่าง บ้าน การเกิด การตาย การแต่งงาน)

1.3 ให้สิทธิพิเศษในการผูกขาดกิจการใหม่ๆ ให้สัมปทาน

1.4 กําลังแรงงาน (ฝรั งเศส)ส่ งเสริ มอพยพแรงงานเข้า ส่ งเสริ มแต่งงานอายุยงั น้อย ให้เงินอุดหนุนครอบครัวทีมีลูกมาก

(อังกฤษ)ตัดความสัมพันธ์ชาวนากับทีดิน จนชาวนาต้องออกมาขายแรงงาน

2.นโยบายในแง่ ต่างประเทศ

2.1 การค้ากับต่างประเทศ ถูกควบคุมวางระเบียบให้การค้าเกินดุล ให้โลหะไหลเข้าประเทศ (ขยายการส่ งออก จํากัดการนําเข้า)

2.2 อาณานิคม ประเทศแม่ตอ้ งหาผลประโยชน์จากอาณานิคมของตนให้มากทีสุ ด

- อาณานิคม ต้องซื อสิ นค้าจากเมืองแม่เท่านัน

- อาณานิคม ไม่ควรผลิตสิ นค้าทีหาซื อได้จากเมืองแม่

- อาณานิคม ควรผลิตหรื อขายสิ นค้า ทีเมืองแม่ตอ้ งการเท่านัน


12
ลัทธิพาณิชย์นิยมในประเทศต่างๆ

โปรตุเกส

ก่อตังรัฐชาติได้ก่อนประเทศอืน king ส่ งเสริ ม การสํารวจดินแดนทางทะเล

โปรตุเกสได้ออกหลักเกณฑ์นับว่าเป็ นพืนฐานลัทธิพาณิ ชย์นิยม

ประการแรก อาณานิคม จะต้องถูกใช้เป็ นแหล่งกอบโกยผลประโยชน์ของเมืองแม่

ประการทีสอง เมืองแม่จะต้องส่ งสิ นค้าออกมากกว่าสิ นค้าเข้า

ประการทีสาม ความมังคังของชาติ วัดได้จาก โลหะทองคํา และเงิน ทีมีราชอาณาจักร

สเปน

ได้รับหลักเกณฑ์จากโปรตุเกสทัง 3 ประการ จนประสบความสําเร็จในการสะสมทองคําเป็ นจํานวนมาก แต่กระตุน้


ประสิ ทธิภาพประเทศน้อยมาก เมือเกิดสงครามก็ไม่มีเงินพอให้ประเทศชนะสงคราม

ต่อมา ค.ศ. 1648 ก็ยอมให้ชาวดัทช์เข้าไปทําการค้าในหมู่เกาะอินเดียตะวันตก

ต่อมา ค.ศ. 1713 ยอมให้ชาวอังกฤษเข้าทําการผูกขาดกับอาณานิคมของสเปนในอเมริ กาใต้

เนเธอร์ แลนด์

เป็ นผูน้ าํ เศรษฐกิจในยุโรปตะวันตก ประเทศแรก

จุดแตกต่างจากประเทศอืน คือ

- แทบไม่มีการเรี ยกเก็บภาษีนาํ เข้าเลย


- ให้มีการค้าทองคําอย่างเสรี โดยไม่จาํ เป็ นต้องสะสม
- จัดตัง บริ ษทั อินเดียตะวันออกของชาวดัชต์ ทําการผูกขาดการค้า กอบโกยผลประโยชน์จากอาณานิคม

แต่เริ มเสื อมถอยจาก ไม่มีกาํ ลังทหารเพียงพอต่อต้านผูร้ ุ กราน ในปลาย ศต. 17 จากอังกฤษ ฝรั งเศส
13
อังกฤษ

- ตังบริ ษทั อินเดียตะวันออกแห่งอังกฤษ


- ออกพระราชบัญญัติการเดินเรื อ (The navigation Acts) เก็บภาษีเรื อต่างชาติสูงกว่าเรื ออังกฤษ
- ไม่เน้นสะสมโลหะมีค่า(เหมือนเนเธอร์ แลนด์)
โทมัส มัน บอกว่า การใช้โลหะทองคําเพือขยายการค้า จะเป็ นสิ งดีกว่าการสะสมทองคําในประเทศ
เซอร์ วิลเลียม เพ็ตตี บอกว่า แหล่งความมังคังไม่ได้อยูท่ ีโลหะ แต่อยูท่ ีทีดินและแรงงาน

ข้ อวิจารณ์ ทียิงใหญ่ ทีสุ ด คือ

อดัม สมิธ โจมตีหลักการของลัทธิพาณิ ชย์นิยมเช่นเดียวกับ เซอร์ เดวิด ฮูม ในเรื อง การสะสมทองคํา การค้า
เกินดุล การตังกําแพงภาษี การจัดการอาณานิคม การผูกขาดการเดินเรื อ โดย สมิธเชือว่า ความมังคังของชาติ
วัดได้ในรู ปของจํานวนสิ นค้าทีประเทศนันมีอยู่ ซึ งสามารทําให้เพิมได้ และแบ่งงานกันทําระหว่างผูผ้ ลิต(ใน
ต้นทุนตําทีสุ ด) แล้วมาแลกเปลียนกันเสรี ไม่มีการแทรกแซงจากรัฐบาล เป็ นไปตามหลัก “ ความชํานาญเฉพาะ
อย่างในการผลิต Specialization in Production” แนวคิดนีได้รับการยอมรับ ในกลาง ศต. ที 19

ฝรังเศส

- เน้นหลักสะสมทองคํา ห้ามนําทองคําออกนอกประเทศ ห้ามนําเข้าสิ นค้าฟุ่ มเฟื อย


- จุดสู งสุ ดในช่วง 1619-1689 ช่วงที ชัง โคลแบรต์ เป็ นทีปรึ กษาให้พระเจ้าหลุยส์ที 14 (โดยให้เงินอุดหนุนด้าน
อุตสาหกรรม สร้างอุตสาหกรรมใหม่ ห้ามช่างฝี มืออพยพออก สนับสนุนเด็กหนุ่มแต่งงานก่อนยีสิ บปี ยกเว้นภาษีแก้ครอบครัว
สมาชิก > 10 คนทีไม่มีใครเป็ นพระเลย ปรับปรุ ง ระเบียบสิ นค้า สร้างถนน สะพาน คลอง)
- จัดตังบริ ษทั อินเดียตะวันออกแห่งฝรังเศส เพือแย่งชิงการค้าในอินเดีย จากชาวดัทช์และอังกฤษ
- การโจมตีรุนแรงทีสุ ด คือ กลุ่มธรรมชาตินิยม (Physiocrates) ของนายแพทย์ ฟรานซัวส์ เกสเนย์
บอกว่า รัฐไม่ควรเข้าแทรกแซงปล่อยให้เศรษฐกิจเป็ นไปตามธรรมชาติ แต่จาํ เป็ นแทรกแซงได้ในเรื องป้ องกัน
ความเดือดร้อน ป้ องกันภัยพิบตั ิ ความอดอยาก เป็ นต้น
14

หน่ วยที 3

การปฏิวัติอุตสาหกรรม
วัตถุประสงค์การเรี ยนรู ้ (ออกสอบตามวัตถุประสงค์)

- อธิบาย สภาพของอังกฤษ ก่อนการปฏิวตั ิอุตสาหกรรม


- อธิบาย การปฏิวตั ิอุตสาหกรรมทีเกิดในอังกฤษ
- อธิบาย ปัจจัยทีมีผลต่อการปฏิวตั ิอุตสาหกรรมในอังกฤษ
- อธิบาย เงือนไขและสภาพของการปฏิวตั ิอุตสาหกรรมในยุโรปโดยรวมได้
ผลการปฏิวตั ิยโุ รป
- อธิบาย การเปลียนแปลงสู่ ความเป็ นเมืองได้
- อธิบาย การเกิดชนชันใหม่
- อธิบาย ชีวิตความเป็ นอยูข่ องกรรมกร
- อธิบาย การเกิดแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ แบบเสรี นิยมและสังคมนิยม

สภาพอังกฤษก่อนการปฏิวตั อิ ุตสาหกรรม

-สภาพอังกฤษในช่วง ค.ศ. 1700 สังคมเป็ นเกษตรกรรม ประชากร 80% อยูใ่ นชนบท (ร้อยละ 50 เป็ นเกษตรกร)

-ก่อนการปฏิวตั ิอุตสาหกรรม อังกฤษมีระบบเศรษฐกิจทีภาคการค้าและการลงทุน ขยายตัวกว้างขวาง มีลอนดอนเป็ นศูนย์กลาง

-การปฏิวตั ิอุตสาหกรรมทีอังกฤษแห่งแรก แบ่งเป็ นสองช่วง คือ

1780 - 1830 พัฒนาการเชืองช้าและไม่สมําเสมอ อุตสาหกรรมเป็ นสิ งทอฝ้ าย (อุตสาหกรรมเบา)

1830 – 1900 พัฒนาเร็ วมาก เป็ นยุคทองของอังกฤษกลายเป็ นผูน้ าํ โลกทุนนิยม อุตสาหกรรมเป็ น ถ่านหิน เหล็ก

เครื องจักร พาหนะ รถไฟ เรื อเดินสมุทร (อุตสาหกรรมหนัก)

การปฏิวตั ิอุตสาหกรรม หมายถึง การเพิ มพลังการผลิตหรื อประสิ ทธิภาพการผลิตของระบบเศรษฐกิจ โดยเปลียนจาก


แรงงานสิ งมีชีวิต(สัตว์ มนุษย์) มาพึงพาเครื องจักรกล

เป็ นลักษณะของ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี เพิ มประสิ ทธิภาพการผลิต โดยการใช้เครื องจักรเป็ นปัจจัยการผลิต

เป็ นจุดเปลียนของสังคม คือ ทําให้ระบบเศรษฐกิจมี ผลิตภาพการผลิตสู งขึน (produtivity)


15

นักวิชาการได้แสดงสองทรรศนะ คือ

-ทรรศนะทีหนึง 1700 อังกฤษ จัดเป็ นประเทศทียากจน คนว่างงาน รายได้ตาํ

-ทรรศนะทีสอง 1700 อังกฤษ รํารวยทีสุ ดในโลก สิ คา้ ร้อยละ 80 เป็ นสิ งทอจากขนสัตว์

ศตวรรษที 18 เศรษฐกิจการค้าขยายตัวมาก มีลอนดอน เป็ นศูนย์กลางการค้า การลงทุน กิจกรรมธนาคาร(ดีทีสุ ดในประเทศ) การ


ประกันภัย มีขอ้ ได้เปรี ยบเพราะเป็ นเมืองทีตังอยูร่ ิ มแม่นาํ เทมส์ (Thames) สําคัญทีสุ ดของประเทศ

องค์ประกอบของการปฏิวัติอุตสาหกรรม

1.การใช้เครื องจักรกลทุ่นแรงในอุตสาหกรรม

2.การใช้พลังงานกับกิจการ

3.การพัฒนาระบบโรงงาน

4.การปรับปรุ งการขนส่ งและคมนาคมให้สะดวกรวดเร็ ว

5.มีการเพิ มขึนของกิจกรรมการผลิตในระบบทุนนิยม

6.เพิ มความสัมพันธ์ ระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างในด้านต่างๆอย่างแพร่ หลาย

- การเจริ ญเติบโตประชากรในเขตเมืองมากขึน เนืองจากย้ายแรงงานภาคเกษตรเพือมาทํางานในโรงงานอุตสาหกรรม


และมีผลเกิดชีวิตเมือง-วิถีชีวิตแบบเมืองมากขึน

- การคิดค้นเครื องจักรไอนํา เป็ นปัจจัยสําคัญสุ ด ในช่วงแรกของการปฏิวตั ิอุตสาหกรรม 1769 โดย เจมส์ วัตต์ ( James
Watt) จดทะเบียนเครื องสู บนําทีดัดแปลงมาจากเครื อง นิวคัมเมน ต่อมานํามาประยุกต์เป็ นหัวเครื องจักรรถไฟและเรื อเดินสมุทร

- ช่วงปี 1770-1840 การทอผ้าเป็ นอุตสาหกรรมทีเจริ ญก้าวหน้าทีสุดของช่วงแรก ในอังกฤษ ส่ วนถ่านหินเป็ นพืนฐาน


สําคัญสุ ดในช่วงทีสองของการปฏิวตั ิอุตสาหกรรม (อับราฮัม ดาร์ บี ค้นพบว่าถ่านหินเป็ นเชือเพลิงทีหลอมเหล็กแทนถ่านไม้ได้
อย่างดีและมีตน้ ทุนตํากว่า)

-การปฏิวตั ิอุตสาหกรรม เปลียนแปลงโครงสร้างการค้าระหว่างประเทศด้วย อังกฤษกลายเป็ นผูน้ าํ การค้าโลก 1840

-1860 (กลางถึงปลาย ศตวรรษที19) อังกฤษเป็ นชาติแรกทีมีการใช้นโยบายการค้าแบบเสรี (liberalism)


16

ปัจจัยทีมีผลต่อการปฏิวตั อิ ุตสาหกรรมในอังกฤษ

แนวความคิดลัทธิพาณิ ชย์นิยมโดนโจมตีอย่างรุ นแรงในสมัย อดัม สมิธ เนืองจากรัฐแทรกแซงและประโยชน์มกั ตกแก่


ผูผ้ ลิต (ไม่ตกแก่ผบู ้ ริ โภคเท่าใดนัก) โดยก่อนปฏิวตั ิ รัฐมีบทบาทดังนี

-มุ่งสร้างส่ วนเกินในการค้าประเทศอืนๆมากทีสุ ด

-เก็บภาษีสินค้านําเข้าสู ง และ ควบคุมไม่ให้สินค้านําเข้ามากเกินไป

-กดค่าจ้างแรงงานในระดับตํา

-ล่าเมืองขึน เพือวัตถุดิบราคาถูก และเป็ นตลาดระบายสินค้าจากอังกฤษ

-กดราคาสิ นค้าให้ตาํ เพือกดค่าจ้างให้ตาํ (งกภาษีนาํ เข้าสําหรับอาหาร แต่เก็บภาษีนาํ เข้าสินค้าอุตสาหกรรม)

-อนุญาตให้มีการผูกขาด เพือผลิตสิ นค้าส่ งออกแข่งขันต่างประเทศ

อังกฤษมีขอ้ ได้เปรี ยบประเทศอืน เพราะมีเงือนไขทังทางสังคมและเศรษฐกิจทีเอืออํานวยต่อทุนนิยม มีพฒั นาการ


ของความรู ้ในการประกอบการผลิตสู ง มีทุนสําหรับการลงทุนในอุตสาหกรรมใหม่ มีตลาดเชือมโยงกว้างขวาง-ค่าขนส่ งถูก
เงือนไขสังคมการเมืองเอือต่อการย้ายทุนและแรงงาน มีระบบเงินตรา ระบบภาษี-พิธีการศุลกากรเป็ นเอกภาพ มีโครงสร้าง
กฎหมายแพ่งละพาณิ ชย์ทีเป็ นระบบ

ปัจจัยทีมีผลการปฏิวตั ิอุตสาหกรรม

1.รัฐมีบทบาทน้อยในกิจกรรมทางเศรษฐกิจและการสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรม แต่มีบทบาทมากในกิจการเกียวกับการ
จัดระเบียบการค้าระหว่างประเทศ การล่าอาณานิคม การเดินเรื อ

2.การขยายตัวของการค้าระหว่างประเทศ มีผลทําให้อุตสาหกรรมขยายตัว และมีผลเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจ

อังกฤษมีการพาณิ ชย์นาวีทีดีทีสุ ดในโลก

สิ นค้าออก - เครื องจักรอุปกรณ์รถไฟ ไปภาคพืนยุโรปและสหรัฐฯ

- สิ งทอฝ้ าย ไปอินเดีย ออสเตรเลีย

สิ นค้านําเข้า เป็ น ธัญพืช ชา นําตาล ยาสู บ ฝ้ ายดิบ แร่ เหล็ก

3.การพัฒนาการขนส่ งในประเทศ โดยสร้างทางรถไฟเชือม เมืองอุตสาหกรรมและเมืองท่าต่างๆ

-การสร้างและรักษาถนน ผูน้ าํ ท้องถิ นรวมตัวกันเป็ นทรัสต์ (turnpike trust)


17
-แม่นาํ และลําคลอง สําหรับการขนส่ งทีมีนาํ หนักมาก ทําให้ตน้ ทุนตําลง

-กิจการรถไฟ เป็ นการเปลียนแปลงการขนส่ งครังใหญ่ มีประสิ ทธิภาพในแง่การขนส่ งและต้นทุนตํามาก (รถม้าก็เริ ม


หายไป)

4.การสะสมทุน เนืองจากการค้า-การลงทุนระหว่างประเทศ

แหล่งรายได้หลัก คือ จากกิจการค้าต่างประเทศ และ รายได้จากเงินทีคนนํามาฝากธนาคาร

ปลาย ศ.ต.19 อังกฤษได้เปลียนบทบาทจากโรงงานอุตสาหกรรมของโลก เป็ นธนาคารของโลก

5.การเพิ มขึนของประชากรภายในประเทศ ซึ งมีผลต่อตลาดผูบ้ ริ โภคขนาดใหญ่-เพิ มขึนของอุปทานแรงงาน

-ทําให้อุปทานแรงงานเพิ ม แต่กดดันค่าจ้างให้ตาลง(กํ
ํ าไรธุรกิจเพิม)

-ขนาดประชากรเพิ ม ก็กลายเป็ นตลาดสิ นค้าสําหรับผูบ้ ริ โภคทีใหญ่ขึน

การปรับปรุ งด้านเกษตรกรรม ได้แก่ การล้อมรัว การเปลียนแปลงวิธีเพาะปลูก การใช้ปุ๋ย การใช้เครื องจักรทุ่นแรง


แม้ว่าประสิ ทธิภาพการผลิตดีมาก แต่ส่งผลกระทบด้านลบต่อชาวนาทีมีทีดินน้อย ผลลิตไม่พอ ต้องขายทีดินให้เจ้าของทีดินราย
ใหญ่ และอพยพเข้าไปทํางานตามเมืองอุตสาหกรรม (สรุ ป คือ ปฏิวตั ิเกษตรกรรม แต่ทาํ คนงานภาคอุตสาหกรรมมากขึนด้วย)

6.เงือนไขอืนๆ – สภาพภูมิศาสตร์ ทรัพยากร ภูมิอากาศ ทรัพยากรสมบูรณ์ และเป็ นเกาะไม่เกิดผลกระทบจากสงครามยุโรป

- ชาวอังกฤษนับถือ คริ สต์โปรเตสแตนท์ สนับสนุนทุนนิยม

การปฏิวตั อิ ุตสาหกรรมในยุโรป

ลําดับการปป. อังกฤษ (1780) ตามด้วย เยอรมนี (1870-1910) ฝรั งเศส (1870-1890) (ส่วนอืนเช่น อเมริ กา ญีปุ่ น)

-การผลิตการเกษตร มุ่งผลิตสิ นค้าชนิดเดียว เพือให้ได้ผลกําไรคุม้ ค่า

-ระบบการลงทุนเปลียนแปลงจากบริ ษทั ธรรมดา มาเป็ น สถาบันการเงินเข้าไปมีส่วนควบคุมกิจการในฐานะผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่

-ความยิงใหญ่ของอังกฤษ เริ มลดลงในช่วงปฏิวตั ิอุตสาหกรรมช่วงทีสอง และถูกทําลายลงในสงครามโลกครังที 2

ระดับรายได้ต่อหัวทีแตกต่างกันแต่ละประเทศ เพราะ สภาพภูมิประเทศ ทรัพยากรลงทุน ระดับการศึกษา


ความสามารถของแรงงาน ขนาดการค้าระหว่างประเทศ คุณภาพทรัพยากรปัจจัยการผลิต วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี บทบาทรัฐ
18
ปัจจัยทีมีผลต่ อการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศต่ างๆในยุโรป

1.ทรัพยากรทีใช้ผลิต เยอรมนี เริ มลงทุนการผลิตมาก ร้อยละ 24 (ช่วง ต้น ศ.ต. 20 : 1900-1914 ก่อนสงคราม)

2.ระดับของการพัฒนาเทคโนโลยีและความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ ในต้น ศ.ต.20 เยอรมนี พัฒนาอุตสาหกรรมลําหน้า


อังกฤษ โดยเฉพาะ อุตสาหกรรมเคมี เครื องไฟฟ้ า

3.อุปทานแรงงานเพิ ม และค่าจ้างถูก - พัฒนาอุตสาหกรรมเร็ ว – อังกฤษ เบลเยียม เยอรมนี

-พัฒนาอุตสาหกรรมช้า – รัสเซี ย ฝรั งเศส

4.คุณภาพประชากรและระบบการศึกษา เยอรมนีเน้น วิจยั เทคนิคและอุตสาหกรรม

เดนมาร์ ก เน้นเทคโนโลยีเกษตร

ผลการปฏิวตั อิ ุตสาหกรรมในยุโรป
19
1.การเพิ มขึนของจํานวนประชากร และ การเปลียนแปลงสู่ ความเป็ นเมือง

ประชากรเพิ มเร็ วสุ ดในอังกฤษ 1800-1850 เพิ มเร็ วเนืองจาก ปฏิวตั อิ ุตสาหกรรม อัตราการตายลดลง ความก้าวหน้า
ทางการแพทย์ การปรับปรุ งสาธารณสุ ข ปฏิวตั ิเกษตรกรรมเพิ มปริ มาณอาหาร ปรับปรุ งสภาพความเป็ นอยูด่ ีขึน ว่างเว้นจาก
สงครามใหญ่

เกิดเมืองขนาดใหญ่ (Metropolis) จากผูค้ นย้ายชนบท สู่ เมืองมากขึน เพราะ

- ความแตกต่างค่าจ้าง
- เมืองมีสิงดึงดูดต่างๆมาก อาชีพหลากหลาย ใกล้ตลาด ประโยชน์ขนส่ ง ประโยชน์การใช้โครงสร้างพืนฐาน
แต่ผลเสี ยคือ นายจ้างขูดรี ดเพือหากําไรส่ วนเกิน ทํางานเหมือนหุ่นยนต์ ไร้แรงจูงใจ

2.เกิดชนชันใหม่ คือ

- กระฎุ มพีอุตสาหกรรม(industrial entrepreneur) เป็ นชนชันนายทุน/ผูป้ ระกอบการขนาดใหญ่/มีทุนจํานวนมาก

- ชนชันกลางใหม่ๆ เจ้าของโรงงาน เจ้าของเหมือง เจ้าของธุรกิจ นายธนาคาร พ่อค้า นักธุรกิจ นักกฎหมาย

3.ชีวิตความเป็ นอยูแ่ ละการต่อสู ้ของกรรมกร

-ช่วงต้นกรรมกรอยูล่ าํ บากมาก ต้องทํางานหนัก ไม่มีเวลาแน่นอน ไม่มีเวลาพัก ใช้แรงงานเด็ก-ผูห้ ญิง ขาดปัจจัยสี เป็ นโรคง่าย
เช่น ปวดข้อ ปอดบวม / ไทฟอยด์ อหิวาต์ / หืด หอบ เป็ นต้น อายุค่อนข้างสัน

-คิง ลัดด์ (king Ludd) เป็ นผูน้ าํ กลุ่มลัดไดต์ เริ มก่อจลาจล บุกเข้าทําลายโรงงานทอผ้า

-หลังปี 1850 (ปลาย ศ.ต. 19) กรรมกรมีชีวิตดีขึนมาก เรี ยกร้องรัฐออกกฎหมายโรงงาน (factory law) เริ มจัดตัง สหบาล
กรรมกรช่าง เริ มจัดตัง สหภาพการค้า(T.U.C)

-ในเยอรมนี คาร์ ล มาร์ กซ์ เขียนคําประกาศคอมมิวนิสต์ (The Communist Manifesto) แนวคิดสังคมนิยม รัฐก็ใช้นโยบายรัฐ
สวัสดิการแก่ผใู ้ ช้แรงงานอย่างกว้างขวาง

4.แนวคิดแบบเสรี นิยม และ สังคมนิยม

เสรี นิยม เน้นบทบาทกลไกราคาและบทบาทเอกชนในการดําเนินการทางเศรษฐกิจ

สังคมนิยม เน้นบทบาทรัฐในการแทรกแซงระบบเศรษฐกิจ
20

หน่ วยที 4

การเปลียนแปลงทางเศรษฐกิจระหว่ าง สงครามโลก ครังที 1 และ ครังที 2


วัตถุประสงค์ การเรี ยนรู้

- อธิบาย พืนฐานทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศทีสําคัญ ก่อนสงครามครังที 1 (ค.ศ.1914)


- อธิบาย สภาพและระบุปัญหาทางเศรษฐกิจ ระหว่างสงครามโลกครังที 1 และ 2
- ระบุ ผลของสงครามโลกครังที 1 ทีมีต่อความสู ญเสี ยของเศรษฐกิจยุโรป
- อธิบาย สาเหตุและลักษณะ ของการเปลียนแปลงโครงสร้างการผลิต
- อธิบาย ลักษณะการเปลียนแปลงโครงสร้างการค้าระหว่างประเทศ
- อธิบาย องค์ประกอบความไร้เสถียรภาพของเศรษฐกิจการเงินระหว่างประเทศ
- อธิบาย สาเหตุและผลกระทบของความไม่มีเสถียรภาพของระบบมาตรฐานทองคํา
- อธิบาย พัฒนาการของระบบมาตรฐานทองคํา
- อธิบาย สาเหตุของการเพิ มขึนของการกีดกันทางการค้า
- อธิบาย ปัจจัยทีนําไปสู่ ภาวะเศรษฐกิจตกตําในปี 1930
- อธิบาย สาเหตุของเศรษฐกิจตกตํา และผลกระทบของเศรษฐกิจตกตําในทศวรรษ 1930 ต่อความสัมพันธ์ทาง
เศรษฐกิจระหว่างประเทศได้

สรุ ปแนวคิด

*ผลกระทบ จากสงครามโลกครังที 1

ผลลบ -ความเสี ยหายของยุโรปทังทาง เศรษฐกิจ สังคม การเมือง

-ปัญหาความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศในยุโรป

-ส่ งผลเปลียนแปลงโครงสร้างการผลิต และ การเปลียนแปลงโครงสร้างการค้าระหว่างประเทศ

ผลบวก -มีการประดิษฐ์คิดค้นเทคโนโลยีใหม่ๆ (เป็ นปัจจัยสําคัญ ต่อการเจริ ญเติบโตเศรษฐกิจโลกในเวลาต่อมา)

-มีผลเพิ มประสิ ทธิภาพการผลิต และ ลดต้นทุนการผลิต

*ความไร้เสถียรภาพทองคํา ส่ งผลกระทบต่อ เสถียรภาพทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ คือ

-การขาดดุลการชําระเงินระหว่างประเทศ
21
-การไหลออกของทองคํา

-ความผันผวนของอัตราแลกเปลียน สุ ดท้ายส่ งผล การกีดกันการค้าระหว่างประเทศ / เศรษฐกิจตกตําทัวโลก 1930

*ผลกระทบ ของเศรษฐกิจตกตําทัวโลก คือ

-สหรัฐฯลดการลงทุนและการให้กกู ้ บั ประเทศต่างๆ

-ส่ งผลต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจลดลง และ การลดลงของการค้าระหว่างประเทศ

สภาพทางเศรษฐกิจ ระหว่างสงครามโลกครังที 1 และ 2

ก่ อนสงคราม 1 -ผลผลิตอุตสาหกรรมเพิ มขึนรวดเร็ ว (ทังในโครงสร้างการผลิตและการค้าระหว่างประเทศ)

(ค.ศ. 1914) -มีการเคลือนย้ายเงินลงทุน จากประเทศอุตสาหกรรม(ส่ วนใหญ่คอื อังกฤษ) ไปยังประเทศต่างๆ ในอาณา


นิคม (ลงทุนโรงงาน เครื องจักร หุน้ )

-มีการเคลือนย้ายแรงงานจากประเทศด้อยพัฒนา มาสู่ ประเทศอุตสาหกรรม(อเมริ กา ออสเตรเลีย)

(สาเหตุ ความแตกต่างรายได้ แรงกดดันจํานวนประชากร-ทีดิน การกีดกันเชือชาติ โอกาสหางานใหม่ๆ)

-โครงสร้างอาชีพ อุตสาหกรรมและบริ การ มีสัดส่ วนเพิ มขึน

หลังสงคราม 1

ปัจจัยภายในยุโรปเอง

-ภาวะหนีสิ นของผูแ้ พ้สงคราม (เยอรมนี ฝรั งเศส สู ญเสี ยมากสุด)

-ภาวะเงินเฟ้ อแบบรุ นแรง ค่าเงินลดลง ผลต่อการผันผวน อัตราแลกเปลียนและการแข่งขันระหว่างประเทศ

-ความชะงักงันทางเศรษฐกิจ

-การลดลงของการค้าระหว่างประเทศ

-ปัญหาความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ (หลายประเทศ กลายเป็ นคอมมิวนิสต์ – สหภาพโซ


เวียต และ ฟาสซิ สต์ – เยอรมัน อิตาลี)

-เงินตราสกุลยุโรป หมดความน่าเชือถือ ในฐานะเงินสกุลหลัก

-หลายประเทศต้องนําเข้าอาหารสัดส่ วนทีสู ง (ยกเว้น อเมริ กา สหภาพโซเวียต ทีผลิตอาหารเองเพียงพอ)


22
-สหรัฐฯ ครอบครองทองคํามาก (ร้อยละ 40) เพราะขายอาวุธ อาหาร ยารักษาโรค ช่วงสงครามได้มาก

(จึงกลายมาเป็ นเจ้าหนีรายใหญ่ของโลก ประเทศอุตสาหกรรมของโลก แทน อังกฤษ)

-มีการเสี ยงบประมาณป้ องกันประเทศมาก เพือต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์

-เกิดสนธิสัญญาสันติภาพแวร์ ซายส์ (แบ่งเขตประเทศใหม่ แต่ส่งผลลบและยุง่ ยากกว่าเดิม)

-นโยบายชาตินิยมให้รัฐแทรกแซง ยิงทําให้ซาํ เติมภาวะเศรษฐกิจทีตกตํา และขยายเวลาความตกตํายิงขึนไป

ปัจจัยภายนอกยุโรป

การขยายตัวอย่างรวดเร็ วของ อเมริ กา แคนาดา / ลาตินอเมริ กา ญีปุ่ น / ทวีปแอฟริ กา

การเปลียนแปลงใน โครงสร้ างการผลิต

การใช้เทคโนโลยีเพือเพิ มประสิ ทธิภาพ ทังเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม ( หลังสงคราม ช่วง 1914 - 1940)

เกษตรกรรม มีการใช้เครื องจักร เครื องทุ่นแรงการเกษตรและปุ๋ ยเคมี โดยลักษณะสําคัญ 3 ประการคือ

1. การผลิตเพือการค้ามากขึน โดยเฉพาะประเทศด้อยพัฒนา
2. การเพิ มขึนของเทคโนโลยีการเกษตร ส่ งผล เพิ มผลผลิต และเพิ มการบุกเบิกเนือทีทํากินใหม่
3. เกิดปัญหาผลผลิตล้น โดยเฉพาะสิ นค้าขันปฐม เช่น นําตาล แป้ ง ข้าวสาลี กาแฟ ยางพารา
(ตรงกันข้าม นิยมบริ โภคเพิ มขึน คือ ผลไม้ ผลิตภัณฑ์จากนม อาหารกระป๋ อง บุหรี มวน)

อุตสาหกรรม การประดิษฐ์คิดค้นเทคโนโลยีใหม่ เทคโนโลยีประหยัดพลังงาน เพือเพิ มประสิ ทธิภาพการผลิตและลด


ต้นทุน (ผลผลิตอุตสาหกรรมจึงหลากหลายและขยายตัวรวดเร็ว) เช่น อาวุธสงคราม เหมืองแร่ การรมยาง
แผ่น การสํารวจและขุดเจาะนํามัน ยานพาหนะ

- ประเทศอุตสาหกรรมใหม่ ขยายตัวรวดเร็ ว เช่น อเมริ กา ญีปุ่ น ออสเตรเลีย บราซิ ล ฟิ นแลนด์ อินเดีย


นิวซี แลนด์ แอฟริ กาใต้
- แต่ประเทศอุตสาหกรรมเก่า เช่น ขยายตัวช้า มีปัจจัยสําคัญ คือ
1. ผลกระทบจากสงคราม (ฝรั งเศส เยอรมนี) เช่น ปัจจัยการผลิตโดนทําลาย เงินเฟ้ อสู ง ผันผวนอัตรา
แลกเปลียน ไม่สงบทางการเมือง ขัดแย้งทางการเมือง ขัดแย้งระหว่างผูแ้ พ้กบั ผูช้ นะสงคราม
23
2. อังกฤษ มีเทคโนโลยีลา้ สมัย จัดการอุตสาหกรรมขาดประสิ ทธิภาพ สหภาพแรงงานเข็มแข็งเรี ยกร้องค่าจ้าง
รัฐใช้นโยบายปกป้ องอุตสาหกรรมในชาติ(ตังกําแพงภาษี) ลดค่าเงินปอนด์ สุ ดท้ายส่ งผลต่อ ความสามารถ
ในการผลิต/ผลิตภาพการผลิตแรงงาน (Labor productivity) <---- ปัจจัยสําคัญสุ ดทีทําให้ขยายตัวเชืองช้า
- มีการขยายตัวอุตสาหกรรม รถยนต์ โดยนาย เฮนรี ฟอร์ ด
- ขยายตัวการขนส่ ง รถไฟ รถยนต์ เรื อ อากาศ มากขึน
- สหรัฐฯ กลายเป็ นผูน้ าํ ทางการค้าและการเงินของโลก นับตังแต่สงครามโลกครังที 1 เป็ นต้นมา
- ญีปุ่ น มีการขยายตัวด้านรายได้ประชากร ระดับสู งมาก ตังแต่หลัง สค.1 จน ถึง ก่อน สค.2

การเปลียนแปลงใน โครงสร้ างการค้าระหว่างประเทศ

ทิศทางการค้าโลก และองค์ประกอบของสิ นค้ า ในการค้ าโลก

-สิ นค้าขันปฐม เช่น อาหาร วัตถุดิบ

- โครงสร้างการค้า ยุโรป ยังคงมีสัดส่ วนมากทีสุ ด แต่เริ มสูญเสี ยส่ วนแบ่งให้แก่ อเมริ กา ญีปุ่ น แคนาดา แอฟริ กา โอเซี ยเนีย

(ส่ วนใหญ่เริ ม เป็ นสิ นค้าประเภทวิศวกรรม)

- ช่วง 1913-1940 การค้าชะงักงัน ขยายตัวลดลง จากสาเหตุ

1.ปัญหาการเมืองและเศรษฐกิจ ขาดเสถียรภาพ

2.ภาวะเศรษฐกิจตกตําในปี 1930 ของสหรัฐฯ

องค์ประกอบความไร้ เสถียรภาพของเศรษฐกิจการเงินระหว่างประเทศ

ปัจจัยทีส่ งผลต่อ ความไร้เสถียรภาพของระบบมาตรฐานทองคํา คือ

- อังกฤษเสี ยบทบาทผูน้ าํ ทางการค้าและการเงินของโลก

-ปัญหาการขาดแคลนทองคํา ในประเทศต่างๆ

-ปัญหาการกระจายอย่างไม่เท่าเทียมของการถือทองคํา ระหว่าง อเมริ กา กับ ประเทศต่างๆ

-การกีดกันการค้าระหว่างประเทศ
24
-เศรษฐกิจตกตําทัวโลก 1930

ปัจจัยทีมีผลเพิ มของ การกีดกันทางการค้า คือ

-ต้องการลดการพึงพาเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ในด้าน

(ส่ งออก นําเข้า พัฒนาอุตสาหกรรม เพือแก้ไขการขาดดุลการค้า และ ดุลการชําระเงินขาดดุล)

-การสร้างความมันคงทางเศรษฐกิจและการเมือง ของชาติ

-การเพิ มบทบาทของรัฐในการพัฒนาเศรษฐกิจแบบ ชาตินิยม

-การวางแผนจากส่วนกลาง

-เพือคุม้ ครองภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม

-เพิ มการจ้างงาน

สถานการณ์ เศรษฐกิจ ก่ อนตกตํา ครั งใหญ่ สาเหตุ ของเศรษฐกิจตกตําทัวโลก เกิดจากอเมริ กาในปี 1930 คือ

-เศรษฐกิจของโลกโดยรวม ขยายตัวอัตราทีสู ง ปลาย 1920

-การเก็งกําไรของสิ นทรัพย์ต่างๆใน สหรัฐฯ ส่ งผลต่อการพังทลายของระบบการเงินระหว่างประเทศ

-ผลผลิตล้นเกินของ สิ นค้าเกษตรและอุตสาหกรรม

-ภาวะความยุง่ ยากของเศรษฐกิจยุโรป

-ความไร้เสถียรภาพของระบบมาตรฐานทองคํา

A. ความไม่ มีเสเถียรภาพของระบบมาตรฐานทองคํา

-ก่อนสงคราม 1914 ระบบการเงินอยูภ่ ายใต้ ระบบมาตรฐานทองคํา(gold std.) ของอังกฤษ (เป็ นสื อกลางแลกเปลียน
หน่วยทางบัญชี และการสะสมค่า) รัฐไม่เข้าไปแทรกแซง ให้ปรับตัวไปตามกลไกตลาด

-ระบบมาตรฐานทองคํา เปรี ยบเสมือน อัตราแลกเปลียนคงที (เรี ยกว่า ค่าเสมอภาค ค่าเสมอภาคโลหะ par value mint party)

ถือเป็ นยุคทองของความสัมพันธ์ทางการเงินระหว่างประเทศ

-เมือเกิดสงคราม 1 ประเทศเข้าร่ วมสงคราม ประกาศ ระงับการแลกเปลียนเงินตราของตนกับทองคํา / ห้ามการ

ส่ งออกทองคํา ระบบทองคําจึงล่มสลายลง

ปัจจัยที สร้ างความไร้ เสถียรภาพของระบบมาตรฐานทองคํา คือ


25
1. อังกฤษสู ญเสี ยบทบาทผูน้ าํ โลก แต่สหรัฐฯได้ประโยชน์แทน
2. ปัญหาการขาดแคลนทองคํา (ไหลไป สหรัฐฯเยอะสุ ด) เลยไปใช้ ระบบ มาตราปริ วรรตทองคํา แทน (gold exch. Std.)
3. หลายประเทศไม่ใช้กติกาของ ระบบมาตรฐานทองคํา ไม่ปล่อยให้เป็ นไปตามกลไกตลาด พยายามลดค่าเงินกระตุน้ การส่ งออก
B. การเพิมขึนของการกีดกันทางการค้ า
ปัจจัยทีมี ผลเพิมขึนของการกีดกันการค้ า คือ
1. ต้องการลดการพึงพาเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
2. เพือคุม้ ครองอุตสาหกรรมและเพิ มการจ้างงานในประเทศ
3. สร้างความมันคงทางเศรษฐกิจ การเมืองของชาติ
4. เพิ มบทบาทรัฐในการพัฒนาเศรษฐกิจแบบชาตินิยม
C. ภาวะเศรษฐกิจตกตําครังใหญ่ 1930
-ปี 1920 เศรษฐกิจโลกมีการขยายตัวระดับสู ง
-ปลายปี 1929 การขยายตัวได้ยตุ ิลง เพราะผลผลิตส่ วนเกินมีมาก ราคาสิ นค้าแนวโน้มลดลง(แป้ ง นําตาล กาแฟ)
-สัญญาณเริ มใน สหรัฐฯ ดัชนีขายปลีกเริ มลดลง ผลผลิตส่ วนเกินล้นตลาด สิ นเชือหาง่าย มีการเก็งกําไรใน
หลักทรัพย์และพันธบัตรในตลาดหุน้ (มากกว่าลงทุนเพิ มผลผลิตจริ ง)
-Fed พยายามขึนดอกเบียป้ องกัน แต่ไม่ได้ผล กลับกลายเป็ นส่ งเสริ มให้ เงินไหลออกจากยุโรป - เข้าอเมริ กา เงินใน
ระบบลดลง ดอกเบียเพิ มเร็ ว ผลกระทบเป็ นลูกโซ่ จน ตุลาคม 1929 ตลาดหุน้ นิวยอร์ กล้มลง
-เยอรมนีไม่สามารถจ่ายหนี และไม่สามารถกูห้ นีเพิ มจากอเมริ กา เยอรมนีถอนทรัพย์สินออกจากสถาบันการเงิน
ต่างชาติ อังกฤษออกจากระบบมาตรฐานทองคํา หลายๆประเทศเลยออกจากระบบมาตรฐานทองคําด้วย ค่าเงิน
ลดลงรวดเร็ ว ส่ งผลให้เศรษฐกิจตกตําในทีสุ ด

สหรัฐฯกับภาวะเศรษฐกิจตกตํา

ประการแรก - มีผลต่อประเทศลูกหนีของสหรัฐ ไม่สามารถกูเ้ งินเพิ ม ดอกเบียสหรัฐฯสู งขึน เพือป้ องกันเงินทุนไหลออก

ประเทศกําลังพัฒนาประสบขาดแคลนเงินตราต่างประเทศ ความต้องการซือของจากสหรัฐ-ยุโรปลดน้อยลง

ประการสอง - สหรัฐฯใช้นโยบายภาษีนาํ เข้า(tariff) และโควตานําเข้าเพือปกป้ องอุตสาหกรรมในประเทศ (รวมทังนโยบาย

ควบคุมซือเงินตราต่างประเทศ การควบคุมอัตราแลกเปลียน)

ประการสาม - การลงทุนในต่างประเทศของสหรัฐฯ น้อยลง

(อังกฤษ ฝรั งเศส ยุติจ่ายหนี สหรัฐฯ ส่ วนสหรัฐฯตอบโต้ โดยห้ามนักลงทุนไม่ให้ซือหลักทรัพย์ของ รัฐบาลอังกฤษ ฝรั งเศส)

สุ ดท้ายส่ งผลต่อการล้มละลายของสถาบันการเงินในยุโรป ผลกระทบเป็ นวงกว้างจนเศรษฐกิจตกตําทัวโลก


26

หน่ วยที 5

การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศพัฒนาแล้ ว หลังสงครามโลกครังที 2
วัตถุประสงค์การเรี ยนรู ้

- อธิบาย การพัฒนาเศรษฐกิจอเมริกา ในช่วงหลังสงครามโลกครังที 2


-ปัจจัยทีมีผล ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของ อเมริ กา
-การเปลียนแปลงทางเศรษฐกิจทีสําคัญของ อเมริ กา
-นโยบายเศรษฐกิจทีสําคัญของ รัฐบาลอเมริ กา
- อธิบาย การรวมกลุ่มเศรษฐกิจยุโรป และการพัฒนาบาง ประเทศทีสําคัญ ในช่วงหลังสงครามโลกครังที 2
-อธิบาย ความเป็ นมาและลักษณะการรวมกลุ่มประทศในยุโรป
-อธิบาย ลักษณะและผลของการพัฒนาเศรษฐกิจของ เยอรมันตะวันตก ฝรั งเศส อังกฤษ
- อธิบาย การพัฒนาเศรษฐกิจญีปุ่ น หลังสงครามโลกครังที 2
-อธิบาย การปฏิรูปประเทศในด้านต่างๆ หลังสงครามโลกครังที 2
-อธิบาย ลักษณะและสาเหตุของ การเจริ ญเติบโตอย่างรวดเร็ วของญีปุ่ น
-อธิบาย สาเหตุการสิ นสุ ดของ การเจริ ญเติบโตของญีปุ่ น และการปรับตัวของญีปุ่ น

สรุปแนวคิดภาพรวมทุกประเทศในโลก

*อเมริ กา เศรษฐกิจขยายตัวรวดเร็ วหลังสงคราม 2

-ช่วงสองทศวรรษ หลังสงคราม 2 ใช้นโยบายแบบผสมทีเน้นบทบาทของรัฐสู งมาก แต่ไม่สามารถแก้ปัญหาต่างๆได้

-ต่อมาเปลียนเป็ นแบบเสรี นิยมในปี 1980 ให้มีบทบาทของเอกชนมากขึน

*ยุโรปรวมตัวกันจัดตัง หลังสงคราม 2

-กลุ่มประชาคมเศรษฐกิจยุโรป(ฝรั งเศส) พัฒนาเป็ น สหภาพศุลกากร และ สหภาพยุโรป (EU)

-กลุ่มเขตการค้าเสรี ยโุ รป(อังกฤษ) ค่อยๆลดบทบาทไป ภายหลังอังกฤษออกจากกลุ่ม

*ญีปุ่ นมีการปฏิรูปด้านต่างๆรวดเร็ ว หลังสงคราม2 เริ มปี 1950 รายได้ประชาชาติสูงเป็ นอันดับ 2 ของโลก

ต่อมาปลาย 1960- (ปี 1973) เกิดวิกฤตินาํ มันและเงือนไขนอกประเทศ ทําให้การขยายตัวเศรษฐกิจชะงักลง


27
การพัฒนาเศรษฐกิจของ อเมริกา

สรุปแนวคิด

-ปัจจัยทีมีผลทําให้อเมริ กา เศรษฐกิจขยายตัวรวดเร็ว หลังสงคราม 2 คือ

1.รัฐเข้ามาแรกแซงในระบบมากขึน แผนการนิวดีล ของ ปธน. แฟรงคลิน รู สเวลท์

2.การเป็ นคู่คา้ ของประเทศต่างๆในโลก

3.โครงสร้าง กําลังแรงงานทีสตรี เข้ามามีบทบาทมากขึน

4.การเปลียนแปลงวิถีดาํ เนินชีวิตแบบใหม่

5.การเปลียนแปลงโครงสร้างอุตสาหกรรม

-ช่วง 1950 – 1960 เศรษฐกิจขยายตัวสู งสุ ด (ช่วงเวลาแห่งความพึงพอใจ 1945-1970) แต่ก่อให้เกิดปั ญหาคือ

1.ภาวะเงินเฟ้ อขยายตัวรุ นแรง ปลาย 1960

2.เกิดวิกฤตินาํ มันครังแรก 1973 (ครังที 2 1978)

3.การเข้าร่ วมสงครามเวียดนามของอเมริ กา

4.พฤติกรรมการคาดคะเน ระดับราคาสิ นค้า ของผูบ้ ริ โภค

-ผลของปัญหาเศรษฐกิจต่อเนือง จนในปี 1980 คือ

1.ปัญหาขาดดุลการค้า

2.การส่ งออกชะลอตัวลง

3.การนําเข้าสิ นค้าราคาถูกกว่าจากต่างประเทศ

-นโยบายช่วงสองทศวรรษ หลังสงคราม 2 ใช้นโยบายแบบผสมทีเน้นบทบาทของรัฐสู งมาก แต่ไม่สามารถแก้ปัญหาต่างๆได้

ต่อมาเปลียนเป็ นแบบเสรี นิยมในปี 1980 ให้มีบทบาทของเอกชนมากขึน

ต่อมาปี 1990 ได้เน้นแก้ปัญหางบประมาณขาดดุลเรื อรัง รวมทังต่อมากระตุน้ ทังนโยบายการเงินและนโยบายการคลัง


(เนืองจากช่วงนีเจอปัญหา วิกฤติหนีด้อยคุณภาพ/วิกฤติซับไพร์ ม)
28
ปัจจัยทีมีผล ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของ อเมริกา

หลังสงคราม อุปสงค์ของผูบ้ ริ โภค เกิดขึนมากมายทังในประเทศและจากนอกประเทศ (ทําให้เงินเฟ้ อค่อนข้างสู งมาก)

1.บทบาทรัฐบาล แม้จะเน้นเสรี นิยมมากขึน แต่รัฐยังคงทําโครงการสวัสดิการสังคม เช่น การศึกษา สาธารณสุ ข ฝึ กอบรม


แรงงาน แผนงานการแพทย์แก่ผสู ้ ู งอายุและยากจน(อุตสาหกรรมการแพทย์) อุตสาหกรรมอาวุธยุทโธปกรณ์ อีกทังเป็ นยุค
สงครามเย็น อเมริ กาต้องทุ่มงบทหารเตรี ยมความพร้อมเมือเข้าสู่ สงครามจริ งๆ

2.สถานะเป็ นประเทศหลักในระบบเศรษฐกิจโลก บทบาทเด่นเป็ นผูซ้ ือขนาดใหญ่ / รักษาความสงบโลก / บทบาทผูน้ าํ ใน


การลดข้อกีดกันทางการค้าลงภายใต้ GATT (ปัจจุบนั คือ WTO) ต่อมาในปี 1970-1980 บทบาทลดลง ญีปุ่ นเริ มมีบทบาทมาก
ขึนในอุตสาหกรรมรถยนต์ เครื องใช้ไฟฟ้ า

3.สตรีมีส่วนร่ วมในกําลังแรงงานมากขึน ในปี 1980 มีสตรี เป็ นแรงงานถึง 2 ใน 3ของกําลังแรงงานทีเพิ มขึนทังหมด

4.การเปลียนวิถีดําเนินชีวิต คู่สมรสทํางานทังคู่ นอกบ้านมากขึน /สัดส่วนค่าใช้จ่ายอาหาร-เสือผ้าลดลง /แต่ค่าใช้จ่ายบริ การ


ทางการแพทย์ เพิ มมากขึน

5.การเปลียนแปลงโครงสร้ างอุตสาหกรรม เดิมเป็ นอุตสาหกรรมหนัก – เหล็กกล้า รถยนต์ นํามัน แต่ซบเซาลง(เพราะ


นําเข้าได้ราคาถูกกว่า) ส่ วนทีรุ่ งเรื องแทนคือ เครื องอิเล็กทรอนิกส์และประมวลผลข้อมูล สื อสารโทรคมนาคม (1986)

ปัญหาเศรษฐกิจ อเมริกาในช่ วง 1970 – 1980

เกิดปัญหาเงินเฟ้ อ อย่างหนักในช่วง 1970-1980 มีปัจจัยได้แก่

1.การเกิดวิกฤตินํามัน 1973 กลุ่มโอเปค ขึนนํามัน 3-4 เท่า ต้นทุนสิ นค้าและค่าครองชีพสู งขึน กระตุน้ เงินเฟ้ อ

2.ข้ อตกลงฝ่ ายบริหารกับคนงาน ทีจะรักษาระดับค่าจ้างให้เพิ มเท่ากับค่าสิ นค้าและบริ การทีเพิ มขึน ผูบ้ ริ โภคจึงรับภาระราคาไป

3.การเข้ าช่ วยสงครามเวียดนาม ปธน. จอห์นสัน ตัดสิ นใจ ช่วยด้านทหารและสิ งจําเป็ นแก่เวียดนามใต้ เป็ นการกระตุน้ ใช้
จ่ายเศรษฐกิจ แต่มิได้เก็บภาษีเพิ มเพือชดเชย กระตุน้ ให้สินค้าราคาเพิ ม เงินเฟ้ อเพิ มขึน

4.การเปลียนแปลงพฤติกรรมคาดคะเนมากขึน(expectation) ของผู้บริโภค มีการเก็งกําไรในอสังหาฯ เพชร พลอย โลหะมีค่า


หุน้ มากขึน

ผลกระทบจากเงินเฟ้ อ ปธน. ริ ชาร์ ด นิกสัน / เจอรัล ฟอร์ ด / จิมมี คาร์ เตอร์ พยายามเน้นควบคุมเงินเฟ้ อ แต่
สุ ดท้ายแก้ไขไม่สาํ เร็ จ เกิด อัตราว่างงานสู ง เศรษฐกิจหดตัว
29
-สหรัฐฯได้แสดงบทบาทนํา ฟื นฟูบูรณะระบบเศรษฐกิจทีเสี ยหายจากสงคราม ทังในยุโรปและญีปุ่ นภายใต้ แผนการมาร์ แชล
โดยใช้เงินประมาณ 13000 ล้านดอลลาร์ มาเพือฟื นฟูยโุ รป-ญีปุ่ น เมือฟื นตัว ประเทศเหล่านีก็ตอ้ งพึงพาสิ นค้าอุตสาหกรรม
จาก อเมริ กาเป็ นส่วนใหญ่ แต่ช่วง 1970-1980 ดุลการค้าและดุลบัญชีเดินสะพัด เริ มขาดดุล ตามลําดับ

การขาดดุล เกิดจากสาเหตุ คือ

1.แม้อเมริ กา รวยสุ ด ใหญ่สุดก็ตาม แต่เมือประเทศต่างๆเริ มหาซือสิ นค้าได้จากแหล่งอืนทีมีราคาถูกกว่า อีกทังมีการปรับปรุ ง


ผลิตการเกษตรทัวโลก ขณะเดียวกันคนอเมริ กาเอง ก็พบสิ นค้าใหม่ราคาถูก-เหมาะสมกว่าจากต่างประเทศ นําเข้ามากกว่าส่งออกนันเอง

2.สถานะสหรัฐฯในเวทีโลกเปลียนไป ช่วงแรกปธน. คาร์ เตอร์ และเรแกน ต้องการให้ยโุ รปและญีปุ่ น เป็ นแหล่งเงินดอลลาร์


คําจุนการขาดดุล ทําให้ค่าเงินดอลลาร์ สูงขึน (เงินไหลเข้าพันธบัตรสหรัฐฯ คนอเมริ กนั เองก็นาํ เข้าสิ นค้าราคาถูกมากขึน ส่ งออกน้อยลง)

จึงจําเป็ นต้องลดค่าเงินดอลลาร์ ลงในปี 1985 (ปรากฏว่าค่าเงินลดลงเกือบร้อยละ -50 อุปสงค์ต่อ อสังหาและหุน้ มากขึน คนต่างชาติ
เยอรมัน สวิต ญีปุ่ น ฝรั งเศส จึงรี บเข้ามาซื อมากขึน - บริ ษทั ได้กาํ ไร ก็จะนํากลับเข้าประเทศเหล่านี) การขาดดุลยิ งมากขึนไปอีก

นโยบายทีสําคัญ ของรัฐบาลอเมริกา หลังสงครามโลก 2

-ก่อนหน้า 1930 ใช้แนวคิด laissez-faire ของอดัม สมิธ มาโดยตลอด

-หลังเศรษฐกิจตกตํา 1930 ปธน. แฟรงคลิน รู สเวลท์ เริ มใช้แผนการณ์ใหม่ (New Deal)

-ปี 1961-1963 ยุค ปธน. จอห์น เอฟ เคเนดี ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (เน้นนโยบายเศรษฐกิจด้านอุปสงค์) รัฐใช้แนวคิดของ
เคนส์ รัฐแทรกแซงระบบ โดยมีการเพิ มระดับค่าจ้างขันตํา ขยายขอบเขตประดันสังคม มีการให้เงินช่วยพัฒนาพืนทีต่างๆ ของ
ประเทศ ต่อมา ปธน. ลินดอน จอห์นสัน ก็ใช้วิธีเดียวกัน มีโครงการเช่น ช่วยเหลือการศึกษา ช่วยเหลือทางการแพทย์ผสู ้ ู งอายุ
(Medicare) ช่วยเหลือคนจน(Medicaid) ผ่านกฎหมายเศรษฐกิจ( The Economic Opportunity Act)

-ต่อมา 1981-1988 ปธน. โรนัลด์ เรแกน กับ 1989-1992 ปธน.จอร์ ช บุช ใช้ระบบลักษณะอนุรักษ์นิยม(conservative) (เน้น
นโยบายเศรษฐกิจด้านอุปทาน) โดยลดบทบาทรัฐลง ตัดทอนค่าใช้จ่ายรัฐหลายอย่าง เช่น โครงการช่วยเหลือทางแพทย์
ช่วยเหลือคนจน แสตมป์ อาหาร อาหารกลางวันโรงเรี ยน (เหตุผลคือลดค่าใช้จ่ายรัฐบาลกลาง แล้วย้ายให้ไปดูแลภายใต้ มลรับแทน) มี
การลดภาษี(คนรวยได้ประโยชน์) กระตุน้ ให้ทาํ งานหนักด้านการผลิต จนขนานนามว่า เศรษฐศาสตร์ของเรแกน(Reaganomics)

-ต่อมายุค 1993-2001 ปธน. บิล คลินตัน เน้นเรื องปากท้องประชาชน รักษาวินยั การคลัง ดันการค้าเสรี (1993 สิ นสุ ดยุค
สงครามเย็น เศรษฐกิจค่อยๆดีขึน) คลินตันปฏิรูป นโยบายรักษาพยาบาล ยกระดับการศึกษา มีระบบกูย้ มื เพือการศึกษา ส่ วน
การปรับปรุ งการแก้ไขงบประมาณขาดดุลโดย ลดภาษีชนชันกลาง เพิ มภาษีคนรวย ลดค่าใช้จ่ายทางทหาร (สรุ ปว่าคลินตัน พา
ประเทศสู่ สันติและเศรษฐกิจเติบโตมากขึน ใน 3 ปี สุ ดท้ายการดํารงตําแหน่ง)

-ยุค 2009-2013 เกิดวิกฤติซับไพร์ ม ในยุค ปธน. บารัค โอบามา มักเน้นนโยบายประชานิยม (สมัยแรก เน้นแก้ไขปัญหา
เศรษฐกิจ สมัยทีสอง เน้นให้ความสําคัญระบบสาธารณูปโภค ปัญหาสิ งแวดล้อม)
30
การพัฒนาเศรษฐกิจของ ยุโรป

สรุปแนวคิด

-ยุโรปได้รับการช่วยเหลือจาก แผนการณ์มาแชล 1947 ของอเมริ กา

-ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป ตังขึนตาม สนธิสัญญาแห่งกรุ งโรม (โดยฝรั งเศส) เพือบรรลุเป้ าหมาย ตังสหภาพศุลกากรร่ วมกัน
นโยบายเกษตรร่ วมกัน ปรับประสานระบบกฎหมายร่ วมกัน

-เยอรมันตะวันตก แม้ว่าแพ้สงคราม 2 แต่ได้มีการสร้างโรงงานใหม่แทนทีเดิม มีแรงงานคุณภาพเข้ามาทํางานในประเทศ


บทบาทรัฐดีมาก เน้นด้านเศรษฐกิจไปพร้อมๆกับสวัสดิการสังคม ก้าวไปสู่ ผนู ้ าํ ด้านอุตสาหกรรมแห่งหนึงโลก

-ฝรั งเศส พัฒนาดีนิดหน่อย เพราะมีปัญหาหลัก คือ ปัญหาเงินเฟ้ อ ปัญหาดุลการชําระเงินขาดดุล

-อังกฤษ ได้รับความยุง่ ยากมาก ภาวะเศรษฐกิจซบเซา ว่างงาน เน้นบทบาทรัฐในการจัดการด้านอุปสงค์ตามแนวคิดเคนส์

การรวมกลุ่มเศรษฐกิจของ ประเทศในยุโรป

ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป

-โดยฝรั งเศส นายโรเบิร์ต ชูมาน เสนอ แผนการชูมาน

-สนธิสัญญาแห่งกรุ งโรม 2 ฉบับคือ สนธิสัญญาก่อตังประชาคมเศรษฐกิจยุโรป ก ับ ก่อตังคณะกรรมาธิการพลังงานปรมาณู แห่งยุโรป

-ต่อมาจัดตัง สหภาพศุลกากร นโยบายเกษตรร่ วมกัน ขนส่ งร่ วมกัน

-สหภาพศุลกากรเป็ นโครงการแรกที ยกเลิกเก็บภาษี ยกเลิกกําหนดโควตานําเข้า

-ระดับการพัฒนาอุตสาหกรรมแต่ละประเทศจะคล้ายคลึงกัน

สมาคมเขตการค้าเสรียโุ รป (EFTA)

-โดยอังกฤษ แต่ดว้ ยทีมีความแตกต่าง ขนาดประเทศ ระดับพัฒนาเศรษฐกิจ ทําให้ค่อยๆลดหายไปในช่วงหลัง

นโยบายเกษตรร่ วมกัน (CAP)

-ใช้งบประมาณจํานวนมหาศาล ทังเป็ นประเด็นถกเถียงทางการเมืองมาก เอือประโยชน์ให้แก่เกษตรขนาดใหญ่


(ก่อให้เกิดผลผลิตส่ วนเกินมากเช่น นม เนย เหล้า ไวน์ อืนๆ) แต่ไม่บรรลุเป้ าหมายทีตังไว้ เพือช่วยเกษตรกรรายย่อย
31
อุตสาหกรรมของยุโรป

การพัฒนาอุตสาหกรรมหลังสงคราม 2 มีลกั ษณะสําคัญสองประการคือ

1.บทบาทบริ ษทั ข้ามชาติมีมาก (อเมริ กา ไป ยุโรป / ญีปุ่ นไป ยุโรป / ยุโรปไปอเมริ กา)

2.การอพยพแรงงาน ในศ.ต.19 แรงงานยุโรปย้ายแบบถาวรไปตังรกรากในอเมริ กา (1820-1924)

ในศ.ต.20 แรงงานยุโรปย้ายชัวคราว และย้ายกลับไปกลับมา ประเทศของตน

สนธิสัญญาแห่ งกรุงโรม บรรลุเป้ าหมายของการเป็ น สหภาพศุลกากร 3 เรื อง คือ

1.การกําจัดอุปสรรคด้านภาษี ระหว่างประเทศสมาชิก

2.เสรี ภาพประชาชน ในการทํางานประเทศใดก็ได้ในยุโรป

3.สิ ทธิของบริ ษทั ในการดําเนินกิจการทีใดก็ได้ในยุโรป

แต่มิได้เป็ นการค้าเสรี แท้จริ ง (ดังเช่นการค้าในรัฐต่างของอเมริ กา ทีเป็ นเสรี แท้จริ ง) สาเหตุ คือ

1.การตรวจตราสิ นค้า ณ ด่านพรมแดน

2.มีการควบคุมการเคลือนย้าย

3.ระบบอัตราภาษีภายในต่างกัน

4.ข้อจํากัดการจําหน่ายบางประการ เมือผ่านพรมแดน

5.การเลือกปฏิบตั ิในการจัดซือขององค์กรรัฐ

6.ความแตกต่างในมารตราฐานทางด้านเทคนิคและความปลอดภัย

7.ข้อจํากัดด้านการขนส่ งทางถนน

ต่อมาได้ผ่าน กฎหมายยุโรปเดียว ปี 1987 และเปลียนชือเป็ น สหภาพยุโรป ปี 1992 โดยลงนามในสนธิสัญญามาส


ตริ ชท์ ใช้เงินตราสกุลเดียวกันคือ เงินยูโร (เริ มใช้ 1 ม.ค. 1999 แต่ประเทศทียังใช้สกุลเดิมคือ อังกฤษ เดนมาร์ ก สวีเดน)

(แนวคิดระบบเงินตราสกุลเดียว The Optimum Currency Area: OCA เป็ นของ โรเบิร์ต มันเดล - รางวัลโนเบล)

เป็ นการผูกติดค่าเงินสกุลต่างๆของประเทศสมาชิกเข้าด้วยกัน แต่ลอยตัวค่าเงินของตนกับประเทศนอกกลุ่ม โดยปกติ


การใช้เงินตราสกุลเดียวกันเหมาะกับ ประเทศทีมีลกั ษณะตลาดร่ วม(common market) มีเป้ าหมายสู่ สหภาพการเมือง(political
union) หรื อ เคยเป็ นอาณานิคมมาก่อน
32
ประโยชน์ของเงินตราสกุลเดียว

1.รักษาเสถียรภาพของอัตราแลกเปลียน

2.ลดต้นทุนทางธุรกรรมระหว่างประเทศ

3.ความเสี ยงจากอัตราแลกเปลียนหมดไป

4.ต้นทุนการกูย้ มื ระหว่างประเทศภายในกลุ่มเดียวกันจะตําลง

5.สร้างอํานาจต่อรองในเวทีการค้าและการลงทุน กับระหว่างประเทศนอกกลุ่ม

ผลเสี ยของเงินตราสกุลเดียว

1.เกิดต้นทุนจากการละทิ งเงินตราท้องถิ นตัวเอง

2.ประเทศขาดอิสระในการตัดสิ นใจ

3.กรณี เกิดวิกฤติ จะเกิดผลกระทบยังประเทศอืนในกลุ่มอย่างรวดเร็ ว

ธนาคารกลางยุโรป(European Central Bank: ECB) เป็ นหน่วยงานบริ หารจัดการนโยบายการเงินอย่างอิสระแบบรวม


ศูนย์ (เช่น ดูแลอัตราแลกเปลียน กําหนดอัตราดอกเบียนโยบาย)

- นโยบายการเงิน ประเทศสมาชิกมีนโยบายเป็ นหนึงเดียวกัน


- นโยบายการคลัง เป็ นหน้าทีของรัฐบาลแต่ละประเทศเอง แต่ยงั อยูใ่ ต้กรอบกฎระเบียบต่างๆของ EU

อธิบาย ลักษณะและผลของการพัฒนาเศรษฐกิจของ เยอรมันตะวันตก ฝรั งเศส อังกฤษ

-เยอรมัน ขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ ว (แม้จะแพ้สงคราม) เพราะดําเนินนโยบายแบบเสรี นิยม มีการลงทุนในโครงสร้าง


พืนฐาน ลงทุนในอุตสาหกรรม ส่ งผล ให้ อัตราการลงทุนอยูใ่ นระดับสู งและเพิ มศักยภาพการผลิตขยายตัวต่อเนือง

-ฝรั งเศส พัฒนาได้ดีแต่ไม่โดดเด่น มีการพัฒนาอุตสาหกรรมหลายแห่งทันสมัยระดับแนวหน้าโลก (เน้นการรวมกลุ่มมากกว่า)

-อังกฤษ ขยายตัวตํากว่าประเทศยุโรปทัวไป ผลจากการขาดการปรับเปลียนอุตสาหกรรมให้ทนั สมัย อีกทังในปี 1970 เจอ


ปัญหาหลายด้านเช่น ปัญหาการว่างงานสู งขึน เงินเฟ้ อสู งขึน ชะงักงันของภาคการผลิต ความไม่มีเสถียรภาพของค่าเงินปอนด์

เยอรมัน

หลังสงครามเยอรมนี ถูกแบ่งเป็ นเยอรมันตะวันตก(เสรี นิยม) และเยอรมันตะวันออก(คอมมิวนิสต์) ถูกลดกําลัง


ทหาร ถูกเคลือนย้ายโรงงานไปสหภาพโซเวียต ระบบการเงินพังทลาย (จนกระทังปี 1989 จึงรวมตัวเป็ นเยอรมันอีกครัง)
33
-ใช้นโยบายเศรษฐกิจตลาดเชิงสังคม(social market economy) แต่ไม่ใช่ทงเสรี
ั นิยมและสังคมนิยม เน้นวิสาหกิจเอกชนไป
พร้อมๆกับ การดูแลสวัสดิการสังคม โดยปล่อยให้เอกชนทํางานไป รับจะเข้าแทรกแซงเมือเกิดปัญหา ผ่านระบบภาษีและ
ระบบสวัสดิการสังคม ทําให้อุตสาหกรรมเติบโตอย่างรวดเร็ ว แต่ สาขาเกษตรกรรมไม่เติบโต

ปัจจัยทีทําให้เยอรมันประสบความสําเร็ จ คือ

1.การลดกําลังทหาร นําเงินมาใช้จ่ายสาธารณะประโยชน์แทน

2.การอพยพแรงงาน ทีเต็มใจทํางานหนักและเชียวชาญสู ง จากนอกประเทศ เข้ามาช่วยเหลือหลังสงคราม

3.ปัจจัยนโยบายต่างๆของรัฐ ทีมุ่งไปการสร้างฐานะทางเศรษฐกิจ

4.การบริ หารด้านแรงงานสัมพันธ์ทีประสานกันได้ดี ระหว่าง แรงงาน กับ ฝ่ ายบริ หาร

ฝรังเศส

-ฝรั งเศสเป็ นผูน้ าํ ในเรื อง การใช้พลังงานนิวเคลียร์ เพือผลิตกระแสไฟฟ้ า

การพัฒนาเศรษฐกิจ มีเป้ าหมาย มี3 ทิศทาง คือ

1.ทิศทางแรก การส่ งเสริ มการรวมกลุ่มเป็ น ประชาคมยุโรป

2.ทิศทางสอง การนํากิจการของเอกชนมาเป็ นของรัฐ

3.ทิศทางสาม การสร้างแผนชีนําดําเนินเศรษฐกิจแก่เอกชน เริ มจากแผนโมเนต์(Monnet plan)

(แรงจูงใจสําคัญคือ รัฐให้กดู ้ อกเบียตํา สิ ทธิพิเศษทางภาษี ทําสัญญาจ้างรับงานกับเอกชน)

แต่มีปัจจัยลบ เช่น

1.ปัญหาเงินเฟ้ อ

2.ขาดดุลการชําระเงิน

3.สหภาพแรงงานได้ออกมาเคลือนไหวขึนค่าแรง หยุดงานประท้วง

4.ประสิ ทธิภาพการผลิตอยูใ่ นระดับตํา

5.ภาคการเกษตรมีผลิตภาพตํา

ซึ งการจัดตังเป็ นประชาคมยุโรป ได้ช่วยให้ฝรั งเศสสามารถแก้ไขปัญหาเหล่านี ได้ระดับหนึง


34
อังกฤษ

-ช่วงแรกใช้แนวคิดของ เซอร์ จอห์น เมย์นาร์ ด เคนส์ ให้รัฐแทรกแซง แต่ไม่ค่อยได้ผล เช่นการโอนกิจการเอกชนมาเป็ นของรัฐ

-ช่วงปลายเปลียนเป็ น เสรี นิยมมากขึน ในยุคปี 1979 ของ นางแทตเชอร์ จากพรรค อนุรักษ์นิยม

สาเหตุการตกตํา ปี 1960-1970 คือ

1.เกิดภาวะ Stagflation เศรษฐกิจตกตําไปพร้อมๆกับภาวะเงินเฟ้ อ แนวคิด การจัดการด้านอุปสงค์ของเคนส์ ไม่ได้ผล พร้อม


กับสถานการณ์เศรษฐกิจโลกยําแย่-วิกฤตินาํ มัน (สถานการณ์แย่ ทังภายในและภายนอก)

2.เกิดข้อวิพากษ์วิจารย์ แนวคิดส์ของเคนส์ เน้นนโยบาย งบประมาณขาดดุล ว่าไม่สามารถแก้ปัญหาได้ (แนวคิดใหม่ได้รับการ


ยอมรับมากขึน ของ กลุ่มนักการเงินนิยม (Monetarist) โดย มิลตัน ฟรี ดแมน กล่าวว่ารัฐไม่ควรแทรกแซงระบบเศรษฐกิจ รัฐ
ควรจํากัดบทบาททีดูแลปริ มาณเงินให้อยูร่ ะดับเสถียรภาพ-เติบโตระดับเพียงพอ)

3.เกียวการเมือง เมือรัฐแทรกแซงมาก ทําให้มีการใช้จ่ายในระบบมากขึน เศรษฐกิจไม่โต ต่อมายุค นางแทตเชอร์ เน้นนโยบาย


เสรี นิยม ทําให้เอกชนมีบทบาทนําในการดําเนินธุรกิจ มีการแปรรู ปรัฐเป็ นเอกชน(Privatisation)

แต่อย่างไรก็ตาม รัฐดําเนินนโยบายใหม่กจ็ ริ ง แต่รัฐก็ไม่สามารถปล่อยให้การว่างงานอยูใ่ นระดับสู งเกินไป ยังคงใช้


จ่ายเพือแก้ไขปัญหา การขาดดุลงบประมาณก็ยงั มีต่อไป

การพัฒนาเศรษฐกิจของ ญีปุ่ น

สรุปแนวคิด

-การปฏิรูปทีส่ งผลต่อการพัฒนารวดเร็ วของญีปุ่ น ได้แก่ ปฏิรูปรัฐธรรมนูญ การเมืองและทหาร การศึกษา กฎหมายแรงงาน


ทีดิน นโยบายสลายกลุ่มนายทุนผูกขาด

- ยุคกลาง 1950 (1955) เป็ นต้นมา เป็ นยุคเจริ ญสุ ดๆ รายได้ประชาชาติเป็ นอันดับ 2ของโลกรองจากอเมริ กา สาเหตุจากปัจจัย
ได้แก่ เทคโนโลยีและอุตสาหกรรม สภาพแวดล้อมระหว่างประเทศ บทบาทรัฐบาล ลักษณะประจําชาติคนญีปุ่ นเอง

-ยุคชะงักงัน ช่วงทศวรรษ 1970 เกิดจากวิกฤตินาํ มัน 2 ครัง และ แรงกดดันจากคู่คา้ (อเมริ กา) ทําให้ญีปุ่ นค่าเงินเยนแข็งขึน

-ยุคทีการเจริ ญเติบโตชะลอตัว ญีปุ่ นเปลียนโครงสร้างอุตสาหกรรมหนัก-พลังงานมาก ไปสู่ 1.อุตสาหกรรมทีมูลค่าเพิ มสู ง-


พลังงานตํา 2. มีการพัฒนาทีใช้ความรู ้และเทคโนโลยีชีวภาพ
35
-ทศวรรษแห่งการสู ญเสี ย ( The lost decade) ในปี 1990 เนืองจากหลังทศวรรษ 1980 ญีปุ่ นประสบ 1.การแข็งค่าเงินเยน
(ความสามารถการแข่งขันลดลงมากและการลงทุนซบเซา) 2.ฟองสบู่อสังหาริ มทรัพย์แตก สุ ดท้ายเศรษฐกิจตกตําอย่างหนัก
เติบโตในช่วง ร้อยละ -2 ถึง ร้อยละ 2 เท่านัน

การปฏิรูปประเทศในด้ านต่ างๆ หลังสงครามโลกครังที 2

1. การปฏิรูป รัฐธรรมนูญ การเมือง และ การทหาร

-นายพล ดักลาส แมคอาร์ เธอร์ ได้เข้ามาบัญชาการญีปุ่ น โดยทําให้เป็ นประชาธิปไตย โดยจุดประสงค์ คือ เพือสร้าง
ระบบทีมีศูนย์กลางแห่งอํานาจแห่งเดียว ควบคุมโดยคะแนนเสี ยงเลือกตัง( ส่ วนองค์จกั รพรรดิ เป็ นเพียงสัญลักษณ์ของรัฐทีเป็ น
ศูนย์รวมความจงรักภักดี เลือมใส)

-มีการกระจายอํานาจไปยังฝ่ าบริ หารจังหวัด เมือง ท้องถิ นมากขึน

-มีการแยกอํานาจตุลาการออกจากอํานาจบริ หาร

-มีการจัดตังศาลสู งสุ ด(Supreme Court) ทําหน้าทีแต่งตังผูพ้ ิพากษาและประกาศกฎหมายทีถูกต้องตามรัฐธรรมนูญ

-ด้านการทหาร จะไม่มีกองทัพบก เรื อ อากาศ แต่ปี 1950 อนุญาตให้มีการจัดตัง กองกําลังสํารองตํารวจแห่งชาติ (กําลัง


รบกึงทหาร รับผิดชอบเรื องความมันคงปลอดภัยในประเทศต่อจาก กองทัพอเมริ กา) ต่อมาในปี 1960 ได้ชือใหม่ว่า
กองกําลังป้ องกันชาติ (เป็ นองค์กร ทหารอย่างสมบูรณ์) แต่งบโดยรวมยังน้อยอยูม่ าก เมือเทียบกับ GDP

2. การปฏิรูป การศึ กษา และ กฎหมายแรงงาน

-ปฏิรูปการศึกษาใหม่อย่างสมบูรณ์ ตามแนวทางของคนอเมริ กา ยกเลิกตําราเก่าแนวคลังชาติสมัยสงคราม

-กระจายอํานาจการศึกษา ให้คณะกรรมการระดับจังหวัด-เทศบาลดูแล ขยายภาคบังคับเป็ น 9 ปี

-ปชช.ร้อยละ 99.9 ได้รับการศึกษาในปี 1977

-ปฏิรูป กฎหมายสหภาพแรงงาน รับประกันว่าคนงานจะมีสภาพการจ้างงานดีขึน มีประกันสุ ขภาพ ค่าสิ นไหม


ทดแทนเมือได้รับอุบตั ิเหตุเจ็บป่ วย

3. การปฏิรูป ทีดิน

-ทําลายข้อผูกมัดทางเศรษฐกิจ ทีกดขีชาวนาเยียงทาสมากว่าร้อยปี มีแผนการดําเนินงานคือ

-โอนทีดินจากเจ้าของทีดินทีไม่ทาํ การเกษตร ให้แก่ ผูท้ าํ การเกษตร

-กําหนดให้มีการซือทีดินใน อัตราทีเหมาะสม

-กําหนดให้เช่าซือทีดินด้วย วิธีผ่อนส่ งรายปี


36
-จัดเงินกูร้ ะยะสันและระยะยาว

-วางมาตรการ รักษาเสถียรภาพของราคา ผลผลิตเกษตร

-เผยแพร่ ความรู ้ทางเทคนิคและข่าวสารต่างๆให้ชาวนา

-ผลการปฏิรูป เจ้าของทีดินรายได้ลดลงเหลือ 3-4% ตรงกันข้ามเกษตรกรชาวไร่ ชาวนาทีเพาะปลูกเองรายได้เพิ ม 90%

4.การสลายกลุ่มทุนผูกขาด ในระบบเศรษฐกิจ

-สลายกลุ่มนายทุนผูกขาด เรี ยกว่า ไซบัตสุ(Zaibatsu) ทีใหญ่ทีสุ ด คือ มิตซูบิชิ มิตซุย สุ มิโตโม ยาสุ ดะ โดยมีคาํ สั งให้
บริ ษทั แม่ปลดปล่อยหุน้ ทีถือ ออกมาจําหน่ายให้แก่สมาคมและมหาชนต่างๆ

-ปี 1947 ได้ออก กฎหมายต่อต้านการผูกขาด (The Antimonopolies Law) ทําให้มีการแข่งขันมากขึนในระบบ อัน


นําไปสู่ การเจริ ญเติบโตเศรษฐกิจรวดเร็ ว

ลักษณะและสาเหตุของ การเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วของญีปุ่ น (ช่วง 1955 - 1970)

-การเจริ ญเติบโตเกิดขึนจากการลงทุนในเครื องมือ เครื องจักรอุปกรณ์การผลิต โดยรับเอากรรมวิธีการผลิตและเทคโนโลยี


จากอเมริ กาเป็ นหลัก

-ตลาดส่ งออก คือ อเมริ กา และ กลุ่ม Asian ทําให้ดุลบัญชีการค้าและดุลบัญชีเดินสะพัด เกินดุลอย่างมาก เงินทุนสํารอง
ระหว่างประเทศเพิ มขึนมาก

-ช่วง 1955-1960 แผนพัฒนาเศรษฐฯ เน้นสามารถพึงพาตนเองได้ มีการจ้างงานเต็มที

-ช่วง 1965-1970 เน้นรักษาระดับการเจริ ญเติบโต พร้อมทังกระจายรายได้ให้เป็ นธรรมในสังคม

-สภาพการเจริ ญเติบโตในช่วง 1970 สิ นสุ กลง เมือเกิดภาวะการผลิตมากเกินไป ระดับการบริ โภคไม่สูงขึน ค่าจ้างยังถูกกดตํา


อีกทังเกิดจากปัจจัยภายนอกเช่น วิกฤตินาํ มัน 1973 และ วิกฤติเงินตราต่างประเทศ

ปัจจัยทีทําให้ เติบโตอย่ างรวดเร็วของญีปุ่ น

1.ด้ านเทคโนโลยีและอุตสาหกรรม ช่วงสงครามและหลังสงครามเป็ นช่วงการพัฒนาศักยภาพและดูดซับเทคโนโลยีจาก


ตะวันตก อีกทังความแตกต่างระดับเทคโนโลยีกบั ยุโรป/อเมริ กา ทําให้กระตุน้ เร่ งญีปุ่ นพัฒนาเทคโนโลยี เพือความอยูร่ อด
ของประเทศ

2.สภาพเงือนไขระหว่ างประเทศ หลังสงครามได้กลายเป็ นพันธมิตรอเมริ กา ได้มีการยกเลิกข้อกีดกันการถ่ายทอด


เทคโนโลยี มีการจัดตัง GATT , IMF ญีปุ่ นได้เข้ามีส่วนร่ วม สามารถแข่งขันระหว่างประเทศและขยายตลาดได้กว้างขึน
37
3.บทบาทรัฐบาล บทบาทกระทรวงการค้าและอุตสาหกรรม MITI ได้เข้าให้ขอ้ มูลเอกชน จัดหาเงินตราต่างประเทศ
ประสานงานการลงทุน เพือไม่ให้ลงทุนมากไปในสาขาใดสาขาหนึง มีการออกกฎโควตาควบคุมการนําเข้า และ ควบคุมอัตรา
แลกเปลียนเงินตราต่างประเทศ

4.ลักษณะประจําชาติของคนญีปุ่ น นิยมทํางานหนักและทําเป็ นเวลานาน ประหยัดอดออม มีความสัมพันธ์อนั ดีระหว่าง


แรงงานและฝ่ ายจัดการ มีโครงสร้างการทํางานแนวตัง (ทํางานตังแต่จบจนเกษียณในบริ ษทั เดิม)

ผลทางบวก ของการเจริ ญเติบโตรวดเร็ ว

- รู ปแบบการบริ โภคเปลียนไป ตามการปป.เทคโนโลยีและรสนิยม


- วิถีดาํ รงชีวิตแนวตะวันตกมากขึน
- การออมของแต่ละครัวเรื อนเพิ มขึนด้วย

ผลทางลบ

- ปัญหาสภาพแวดล้อมเป็ นพิษ
- ปัญหาวิกฤติการคลังทีรัฐเน้นขยายการลงทุน ส่ งผลต้องเก็บภาษีในอัตราทีสู งมาก
- ปัญหาเงินเฟ้ อ และ ภาวะการครองชีพทีฝื ดเคือง

สาเหตุการสิ นสุ ดของ การเจริญเติบโตของญีปุ่ น และการปรับตัวของญีปุ่ น

-ช่วงเศรษฐกิจซบเซา บริ ษทั ไม่ได้คนงานออก เพราะระบบการจ้างงานตลอดชีพ (ทําได้เพียงลดคนงานบางเวลา ลดรับคนใหม่)

-ประสิ ทธิภาพการผลิตช่วงนี ไม่ได้เกิดจากขยายโรงงาน เครื องมือ เครื องจักร แต่เกิดจากการผลิตระมัดระวังและประสิ ทธิภาพ

-หลังจากปป.มาใช้โครงสร้างการผลิตทีใช้เทคโนฯสู ง-พลังงานตํา ทําให้ญีปุ่ นกลายเป็ นผูผ้ ลิตชันนําในเรื อง ไมโคร


อิเล็กทรอนิกส์ เครื องบันทึกเทป มีการใช้หุ่นยนต์ประกอบชิ นส่ วน

*ช่ วง 1980 – 1988

มีการนําเอาความรู ้ดา้ นการจัดการสมัยใหม่ เช่น การควบคุมคุณภาพ(QC) / กระบวนการผลิตทีมีประสิ ทธิภาพ /


ใช้ระบบการจัดการทันเวลา (Just in time: JIT)

- กลุ่มประเทศ G5 พยายามทําให้ค่าเงินดอลลาร์ อ่อนลง แม้ค่าเงินเยนแข็งขึน แต่ญีปุ่ นพยายามไม่ให้ราคาสิ นค้า


ส่ งออกเพิ มขึน (ลดต้นทุนต่างๆ เพิ มประสิ ทธิภาพแรงงาน นําเข้าวัตถุดิบราคาถูก กระจายโรงงานไปประเทศทีค่าแรงตํา)
ผลการเปิ ดตลาดต่อเนือง ทําให้ระดับภาษีตาสุ
ํ ด เอกชนญีปุ่ นได้ขยายลงทุนในประเทศต่างๆมากขึน
38
*ช่ วง 1990 เป็ นต้ นไป

-ปลายปี 1989 ค่าเงินเยนแข็งมาก รัฐใช้นโยบาย ขึนดอกเบียเพือควบคุมเงินเฟ้ อ การลงทุนชะลอลงรวดเร็ ว เกิดฟอง


สบู่ในอสังหาฯแตก ภาคการเงินมี NPL เพิ ม ความเข้มงวดสถาบันการเงินมากขึน เกิดปัญหาขาดสภาพคล่องตามมา
เศรษฐกิจจึงตกตําอย่างหนัก เป็ นทศวรรษแห่งการสู ญเสี ย

-ต่อมาเกิดปัญหาเงินฝื ด ส่ งผลกระทบต่อกําไรบริ ษทั ผูบ้ ริ โภคชะลอการจับจ่ายใช้ ในปี 2000 ซบเซาต่อเนือง รับ


พยายามกระตุน้ การบริ โภค ลดอัตราดอกเบีย กระตุน้ ส่ งออก แต่ไม่ประสบผลสําเร็ จ อุตสาหกรรมบางแห่งต้องเลิกจ้างคนงาน
(วัฒนธรรมการจ้างงานตลอดชีวิตเริ มเจือจางลง)

-โครงสร้างผูส้ ู งอายุอย่างเต็มรู ปแบบ รัฐมีภาระรายจ่าย ด้านความปลอดภัย สวัสดิการ การแพทย์ สู งขึนด้วย


39

หน่ วยที 6

การเปลียนแปลงทางเศรษฐกิจของ ประเทศกําลังพัฒนา
วัตถุประสงค์การเรี ยนรู ้

- อธิบาย การเปลียนแปลงของประเทศกําลังพัฒนาใน ทวีปเอเชีย


-อธิบาย ภาพรวมการเปลียนแปลงของประเทศกําลังพัฒนาใน ทวีปเอเชีย
-อธิบาย การเปลียนแปลงในประเทศ เกาหลี ไต้หวัน ฮ่องกง สิ งคโปร์
- อธิบาย การเปลียนแปลงของประเทศกําลังพัฒนาใน ลาตินอเมริ กา
-อธิบาย ภาพรวมการเปลียนแปลงของประเทศกําลังพัฒนาใน ลาตินอเมริ กา
-เปรี ยบเทียบ การเปลียนแปลงของ ลาตินอเมริ กากับเอเชียตะวันออก
- อธิบาย การเปลียนแปลงของประเทศกําลังพัฒนาใน แอฟริกา
-อธิบาย ภาพรวมการเปลียนแปลงของประเทศกําลังพัฒนาใน แอฟริ กา
-อธิบาย การเปลียนแปลงของประเทศ สหภาพแอฟริ กาใต้

สรุปแนวคิดรวม

-ทวีปเอเชีย เติบโตเศรษฐกิจดี ในเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้

เติบโตสู งมาก คือ เกาหลี ไต้หวัน ฮ่องกง สิ งคโปร์ เรี ยกกลุ่ม เอเชียนนิกส์

แต่ จีนและอินเดีย เติบโตไม่ค่อยสู งนัก เริ มจากสังคมนิยม ต่อมาเปิ ดประเทศเสรี มากขึน

-ทวีปลาตินอเมริ กา เติบโตแย่ มีความถดถอยทางเศรษฐกิจ ตังแต่ 1970 เป็ นต้นมา

-ทวีปแอฟริ กา เติบโตแย่สุด เจอทังปัญหาความยากจน ทรัพยากรมนุษย์ ความรุ นแรงในสังคม รัฐทีขาดประสิ ทธิภาพ

การเปลียนแปลงทางเศรษฐกิจของประเทศกําลังพัฒนาใน ทวีปเอเชีย

สรุ ปแนวคิด

-เติบโตดี ในเอเชียตะวันออกและตะวันออกเฉี ยงใต้

-เกาหลีใต้ ได้รับความช่วยเหลือจากอเมริ กาในช่วงแรก / บทบาทรัฐทีเข้มแข็ง (นโยบายส่ งเสริ มอุตสาหกรรมในประเทศ


40
นโยบายส่ งเสริ มการส่ งออก ) / การดําเนินธุรกิจกลุ่ม แชร์ โบลส์ (Chaebols = ซัมซุง แอลจี ฮุนได เอสเค กรุ๊ ป) ที
โดดเด่นมากของธุรกิจในเกาหลีใต้

-ไต้หวัน หลังจากอิสระจากจีน ได้รับความช่วยเหลือจากอเมริ กามาก / มีการปฏิรูปทีดินสําเร็ จ / พัฒนาอุตสาหกรรม จากการ

ใช้แรงงาน ไปสู่ อุตสาหกรรมทีใช้เทคโนโลยีระดับสู ง (ศูนย์กลางเครื องใช้ไฟฟ้ า)

-ฮ่องกง การพัฒนาธุรกิจหลากหลาย ปกด.ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม เป็ นส่ วนใหญ่ / เมือ ปี 1978 จีนเปิ ดประเทศ และ

เมือปี 1997 ก็ผนวกรวมกับจีน ภายใต้หลักการ หนึงประเทศสองระบบ (ฮ่องกงกลายเป็ นศูนย์กลางทางการเงินและการค้าของจีน)

-สิ งคโปร์ เคยเป็ นส่ วนหนึงของสหพันธ์มาลายา แยกตัวเมือปี 1965 / มีความโดดเด่นในการดึงดุดการลงทุนจาก

ต่างประเทศ มีระบบธรรมาภิบาลทีดีของรัฐ ภาษีทีเอือต่อนักลงทุนต่างประเทศ ปรับปรุ งโครงสร้างพืนฐานและ

ทรัพยากรมนุษย์

ภาพรวมการเปลียนแปลงของประเทศกําลังพัฒนาใน ทวีปเอเชีย

-หลังสงคราม2 ประเทศทีรักษาเอกราชได้แก่ ไทย จีน ญีปุ่ น

-ญีปุ่ นสมัยราชวงศ์เมจิ มีการปฏิรูปอย่างกว้างขวางทุกด้าน และขยายอาณาจักรไป เกาหลีและจีน

-หลังเปิ ดใช้คลองสุ เอช ฟิ ลิปปิ นส์เป็ นประเทศแรกในเอเชีย ทีค้าขายกับลาตินอเมริ กา (ขายทีเม็กซิ โก เช่น ยาสู บ มะพร้าว
ข้าวโพด นําตาล)

-สิ งคโปร์ เป็ นเมืองท่า ปี 1819 และกลายเป็ นศูนย์กลางการค้าตะวันออก กับ ตะวันตก

-มาเลเซี ย ผลิตใหญ่ทีสุ ดในเรื อง ดีบุก ยางพารา

-อินโดนีเซี ย ผลิตเครื องเทศ

-อิหร่ าน ค้นพบนํามันดิบครังแรก 1908

-อินเดีย สมัย 1947-1964 นายกฯ เยาวหลาล เนห์รู เกิดปัญหาขาดแคลนอาหารอย่างหนัก กูเ้ งินจากต่างประเทศไม่ได้

อินเดียจึงปฏิรูป 1990 มีการแปรรู ป รัฐวิสาหกิจอย่างรวดเร็ ว(Fast Track Privatization) ส่ งผลให้นกั ลงทุนต่างชาติ


มากในด้าน ไฟฟ้ า พลังงาน โทรคมนาคม-การสื อสาร จนได้ชือว่า Silicon Valley แห่งเอเชีย

-จีน ปี 1949 ประธาน เหมาเจ๋ อตุง จัดตังคอมมิวนิสต์ ต่อมามีการปฏิวตั ิวฒั นธรรมเพือต่อต้านลัทธิ ทุนนิยม แต่ศก. ถดถอยรุ นแรง

ปี 1976 ประธาน หัวโก๊ฟง แต่งตัง นายเติ งเสี ยวผิง เข้ามามีอาํ นาจในฐานะรองนายกฯ สถานการณ์ ศก. คลีคลายลง
41
ปี 1977-1988 ปฏิรูปเศรษฐกิจ 4 ด้าน (Four Modernization) คือ อุตสาหกรรม เกษตรกรรม ป้ องกันประเทศ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี

ทศวรรษ 1990 มีการเปิ ดประเทศ ดึงดูดนักลงทุนเข้ามา-เพิ มการค้าระหว่างประเทศ พร้อมกับกําหนดแผนพัฒนา


เศรษฐกิจฯของชาติ ส่ งผลให้เจริ ญรวดเร็ วมาก

ปี 2001 จีนเข้าร่ วมองค์การค้าโลก WTO เชือมโยงจีนเข้าสู่ เศรษฐกิจโลกเต็มรู ปแบบ จนใหญ่เป็ นอันดับ 2 ปี 2010

-เกาหลีใต้ ประสบความสําเร็จสู ง ได้รับฉายาว่า มหัศจรรย์แห่งแม่นาํ ฮัน (The Miracle on Han river ) และมีกลุ่ม แชร์ โบลส์

-ไต้หวัน ศูนย์กลางการผลิตเครื องใช้ไฟฟ้ าและผลิตภัณฑ์ทีใช้ในงานวิจยั พัฒนา ส่วนใหญ่พึงพาธุรกิจขนาดกลางและย่อม

(แตกต่างจากญีปุ่ นและเกาหลีใต้ ทีพึงพาธุรกิจขนาดใหญ่)

-ฮ่องกง ศูนย์กลางด้านการเงิน (จัดอันดับเป็ นเศรษฐกิจเสรี ทีสุ ดแห่งหนึงของโลก)

-กลุ่มอาเซี ยน เป็ นแหล่งโรงงานผลิตขนาดใหญ่ รถยนต์ เครื องจักรกล อุปกรณ์เครื องเสี ยง สิ นค้าอิเล็กทรอนิกส์อนๆ


การเปลียนแปลงในประเทศ เกาหลี ไต้หวัน ฮ่องกง สิงคโปร์

-ความสําเร็ จบนเส้นทางการพัฒนา มีนโยบายคล้ายคลึงกันของ กลุ่มเอเชียนนิกส์ คือ การเปิ ดประเทศส่ งเสริ มการค้าและการ


ลงทุน / บทบาทรัฐเข้าแทรกแซงเหมาะสมตามสถานการณ์ (เน้นส่ งเสริ มการส่ งออกมากสุ ด)

เกาหลีใต้

-หลังสงคราม 2 เกาหลีแยกออกเป็ น เกาหลีเหนือ(รัสเซี ย) และเกาหลีใต้(อเมริ กา) เกิดสงครามเกาหลีในปี 1950

-นายพล ปักจุงฮี ปฏิวตั ิ 1961 เปลียนนโยบายส่ งเสริ มการส่ งออก พร้อมกับ นโยบายส่ งเสริ มอุตสาหกรรมในประเทศ

ปี 1970 อุตสาหกรรมเบาเปลียนเป็ นอุตสาหกรรมหนักมากขึน สนับสนุนได้แก่ อุตสาหกรรมต่อเรื อ เหล็ก โลหะ


รถยนต์ ปิ โตรเคมี โดยยอมให้ผผู ้ ลิตขนาดใหญ่ผูกขาดได้ (เงินทุนดอกเบียตํา กีดกันนําเข้า ลงทันวิจยั พัฒนา อบรมแรงงาน)

-ปี 1979 ปธน.ปักจุงฮี ถูกลอบสังหาร ต่อมาทศวรรษ 1980 ผูน้ าํ ประเทศคนต่อมา ลดเลิกกฎระเบียบทีเป็ นอุปสรรคการค้า ลง

-ทศวรรษ 1990 มีการเปิ ดเสรี การไหลเงินทุน เกิดการสะสมหนีระยะสัน ต่อมาเกิดวิกฤติตม้ ยํากุง้ 1997 กระทบเกาหลีใต้ดว้ ย

แต่ทาํ ให้เกาลีแกร่ งขึน เปิ ดเสรี มากขึน ลดบทบาทรัฐในระบบเศรษฐกิจ ส่ งผล เจริ ญเติบโตแข็งแกร่ งยิ งขึนต่อมา

-จักรกลแห่งการเติบโตใหม่ ได้แก่ ปิ โตรเคมี เหล็ก โลหะ ต่อเรื อ รถยนต์ (โดยรัฐยอมให้รายใหญ่ผูกขาดได้)


42
ไต้ หวัน

-ช่วงทศวรรษ 1940 ไต้หวันประสบความรุ นแรงในประเทศ และ ภาวะเงินเฟ้ ออย่างรุ นแรง

-ช่วงทศวรรษ 1950 รับความช่วยเหลือจากอเมริ กา – ปฏิรูปทีดินการเกษตรกร กระจายการถือครองอย่างเท่าเทียมกัน

-ปี 1960-1970 เปลียนเป็ นอุตสาหกรรมเพือการส่ งออก มีมาตราการเช่น 1.ตังเขตการผลิตเพือการส่ งออก 2.ใช้ระบบอัตรา


แลกเปลียนหลายอัตรา (multiple exchange rate systems) 3.ลดกําแพงภาษีและอัตราควบคุมนําเข้า ต่างประเทสจึงลงทุนมาก
ขึน ทีสําคัญ นํามาซึ งเทคโนโลยีทกั ษะในการผลิตสิ นค้าและบริ การต่างๆ ทําให้สินค้าไต้หวันมีคุณภาพสู งขึนมาก และ
หลากหลายของการผลิตสิ นค้ามากขึน(diversification)

อุตสาหกรรมเบาเริ มมีปัญหา

1.นักลงทุนต่างประเทศย้ายไปลงทุนทีจีน(ต้นทุนค่าแรงตํากว่า)

2.วิกฤตินาํ มัน 1973-1974 ทําให้ไต้หวันซบเซามาก

*ไต้หวันจึงเลือกใช้นโยบายพัฒนาพึงตนเองมากขึน โดยลงทุนโครงสร้างพืนฐาน เช่น สร้างทางหลวง ทางรถไฟ สนามบิน โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์

การปรับเปลียนนโยบายเศรษฐกิจไปสู่ อุตสาหกรรมทีใช้เทคโนโลยีระดับสู ง ได้แก่

1. 1984 ปรับปรุ งกฎหมายต่างๆ(จูงใจทางภาษี)


2. จัดสรรเงินทุนวิจยั พัฒนาให้แก่ อุตสาหกรรมทีปรับปรุ งเทคนิคการผลิตดี
3. ปรับปรุ งหลักสู ตรมหาวิทยาลัยด้าน วิทยาศาสตร์ คณิ ตศาสตร์ วิศวกรรม คอมพิวเตอร์
4. คัดเลือกกําลังคนด้านเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ จากต่างประเทศ มาทํางาน(ให้ค่าจ้างสู งแก่คนไต้หวันทีเก่ง)
5. เปิ ดเสรี ในระบบเศรษฐกิจสู่ นานาชาติมากขึน
6. ลดต้นทุน sunset industries เช่น สิ งทอ เครื องหนัง

ฮ่ องกง

-เคยเป็ นอาณานิคมของ อังกฤษ

-ฮ่องกงทําการค้ากับจีน โดยเป็ นแหล่งเงินตราต่างประเทศทีสําคัญของจีน

-ฮ่องกงนําเข้าอาหารราคาถูกจากจีน ทําให้สามารถรักษาระดับเงินเฟ้ อและค่าจ้างให้อยูใ่ นระดับตํา

-รัฐบาลไม่แทรกแซง
43
-ส่ วนใหญ่ดูแล การใช้จ่ายเพือการสงเคราะห์ดา้ นทีอยูอ่ าศัยแก่ผอู ้ พยพจากจีน (แตกต่างจาก เกาหลีใต้ ไต้หวัน ทีรัฐมี
บทบาทนํา / สิ งคโปร์ ธุรกิจต่างประเทศขนาดใหญ่ มีบทบาทนําการพัฒนาอุตสาหกรรม)

-เวนคืนทีดิน เพือโครงการทีอยูอ่ าศัย

-ส่ งเสริ มการศึกษาสาธารณะอย่างกว้างขวาง บังคับ ถึง 15 ปี

-ปี 1980-1990 อุตสาหกรรมจากฮ่องกง เคลือนย้ายไป จีน(มณฑลกวางตุง้ ) สัดส่ วนค่อนข้างสู ง อุตสาหกรรมภาค


บริ การเริ มมากขึน ส่ วนภาคการค้าและการเงิน ก็เพิ มสู งอย่างรวดเร็ว

สิ งคโปร์

-เคยเป็ นอาณานิคมของ อังกฤษ

-เริ มจากเป็ นศูนย์กลางส่ งออกยางของโลก

-ปี 1959 นาย ลีกวนยู เป็ นนายกฯ และแยกตัวจากมาเลเซี ย ปี 1965

-ดึงดูดนักลงทุนต่างประเทศจากการปกครองโดย ระบบนิติธรรม

-มีการใช้กฎหมายบังคับใช้เคร่ งครั ด

-รัฐบาลบริ หารอย่างโปร่ งใส

-ฉ้อราษฎร์ บงั หลวงน้อยมาก

ประเด็นสําคัญ การพัฒนา

-ปรับปรุ งโครงสร้างพืนฐาน

-ฝึ กอบรมคนงานเชียวชาญมาก

-ปรับปรุ งการศึกษา มีการสร้างอุทยานวิทยาศาสตร์(science park) เพิ มขนาดมหาวิทยาลัยด้านวิศวกรรมเป็ น 3 เท่า

(เป็ นส่ วนหนึงของนโยบายการสร้าง สิ งคโปร์ ให้เป็ นสังคมฐานความรู ้ Knowledge-based society )

-รัฐเข้าไปแทรกแซงระยะแรกสู ง หลังจากนันให้เอกชนดําเนินการและรัฐแทรกแซงน้อยสุ ด

(กิจกรรมทีรัฐมีบทบาทสู ง ได้แก่ ลงทุนด้านเคหะ การศึกษาเพือสร้างแรงงาน และยกระดับความรู ้ให้ประชาชนทัวไป)


44
การเปลียนแปลงเศรษฐกิจของประเทศกําลังพัฒนาใน ลาตินอเมริกา

สรุปแนวคิด

-1950-1960 หน้าลาตินอเมริ กา เคยประสบความสําเร็ จ การขยายตัวพืนทีเขตเมืองสู งสุ ดเมือเปรี ยบเทียบกับ ภูมิภาคอืนๆ

(จนได้ชือว่า กลุ่มประเทศอุตสาหกรรมใหม่)

-รัฐมีบทบาทมุ่งให้การปกป้ องคุม้ ครองอุตสาหกรรมภายในประเทศอย่างมาก

-แต่ทศวรรษ เกิดวิกฤตินาํ มัน ทศวรรษ 1970 ทําให้เกิดปัญหาวิกฤติหนีสิ นอย่างหนัก

ทศวรรษ 1980 เกิดเงินเฟ้ อมหาศาล จนถึง

ต้นทศวรรษ 1990 เศรษฐกิจหยุดขยายตัวอย่างสิ นเชิง

-สาเหตุทีเกิดปัญหาเศรษฐกิจ คือ

1.เน้นนโยบายเศรษฐกิจมุ่งภายในประเทศ

2.ขาดเสถียรภาพด้านเศรษฐกิจมหภาค

3.เงินเฟ้ อระดับสู ง

4.การเปลียนแปลง/ขัดแย้งการเมือง รุ นแรง

ภาพรวมการเปลียนแปลงของประเทศกําลังพัฒนาใน ลาตินอเมริกา

-ช่วงทศวรรษ 1820 พืนฐานเศรษฐกิจมักเป็ นกลุ่ม ภาคเกษตร

-ช่วง 1945-1970 รัฐเข้าแทรกแซงดําเนินกิจการแทนเอกชน

1.นํากิจการเอกชนมาเป็ นของรัฐ (nationalization) ทําให้นกั ลงทุนต่างชาติไม่กล้าเข้ามาลงทุน

2.รัฐดําเนินการแบบประชานิยม อุดหนุนอุตสาหกรรมในประเทศ ด้วยการคิดค่าใช้จ่ายตํากว่าราคาทุน

*เบืองต้นขยายตัวดีมาก การขยายตัวพืนทีเขตเมืองสู งสุ ดเมือเปรี ยบเทียบกับ ภูมิภาคอืนๆ เนืองจากใช้

นโยบายปกป้ องอุตสาหกรรม

1.ตังกําแพงภาษีนาํ เข้า
45
2.กําหนดโควตานําเข้า

3.ปรับอัตราแลกเปลียน

4.คิดค่าใช้จ่ายพลังงาน-ขนส่ ง ตํากว่าในราคาทีควรจะเป็ น

5.คิดดอกเบียเงินกูต้ ากว่
ํ าตลาดมาก

แต่การขยายตัวก่อให้เกิดไร้ประสิ ทธิภาพในระบบเศรษฐกิจ ได้แก่

1.อุตสาหกรรมในประเทศไร้ประสิ ทธิภาพ จากนโยบายปกป้ องมากเกินไป

2.นโยบายการค้าทีออกแบบ ส่ งผลเสี ยต่อการส่ งออกสิ นค้าเกษตร

3.เกิดช่องว่างการกระจายรายได้ เขตเมือง-ชนบท /แรงงานมีทกั ษะ-ไร้ทกั ษะ

4.การสะสมหนีเงินตราต่างประเทศสู ง (เพราะตัวเองส่ งออกสู ้ตลาดโลกไม่ได้ ไม่มีเงิน เลยต้องกูต้ ่างประเทศ)

-ช่วงต้นทศวรรษ 1980 – กลางทศวรรษ 1990 นโยบายเศรษฐกิจต้องเปลียน

-แปรรู ปรับเป็ นเอกชน ลดคนงานออกไป

-สิ นค้านําเข้าคุณภาพดีกว่า ราคาตํา ทําให้อุตสาหกรรมในประเทศทีเคยได้รับปกป้ อง ก็สู้ไม่ไหว ต้องปิ ดตัวลง

-ลดการอุดหนุนช่วยเหลือผูบ้ ริ โภค สิ นค้าเพิ มมหาศาล เงินเฟ้ อรุ นแรง 1000-1500 %

-การเปลียนแปลงการเมืองรุ นแรง ส่ งผลต่ธุรกิจเอกชน

จนได้รับการตังฉายาว่า ทศวรรษแห่งการสู ญเสี ย

เปรียบเทียบ การเปลียนแปลงเศรษฐกิจของ ลาตินอเมริกา กับ เอเชี ยตะวันออก

-การเติบโตช่วง 1950 เป็ นต้นมา ลาตินอเมริ กา จะโตกว่า เอเชียตะวันออก แต่ช่วง 1980 เอเชียตะวันออกเริ มดีกว่า

-การโตของลาตินอเมริ กา ผลดี คือ ทําให้ความยากจนลดลง / อายุขยั นานขึน / อัตราการตายทารกลดลง

แต่กม็ ี ผลเสี ย คือ กระจายรายได้ไม่เป็ นธรรม / การศึกษาตําไม่ได้แก้

-รัฐบาลใช้วิธีการคล้ายคลึงกัน คือ หารายได้เข้ารัฐโดยพิมพ์ธนบัตร ก่อให้เกิดเงินเฟ้ อในระบบเศรษฐกิจ


46
-กลุ่มนิคส์ NICs (Newly Industrialized Countries) = บราซิ ล เม็กซิ โก อาร์ เจนตินา เวเนซูเอลา

ความแตกต่างการเติบโต ลาตินอเมริ กา กับ เอเชียตะวันออก

1.ลาตินอเมริ กา มีนโยบายมุ่งภายในประเทศ(inward-looking policy) ส่ วนเอเชียตะวันออก เน้นเสรี มุ่งสู่โลกภายนอก(outward-)

2.ลาตินฯ ขาดเสถียรภาพด้านเศรษฐกิจมหภาค (เงินเฟ้ อสู ง เงินไหลออก กูเ้ งินต่างชาติเยอะ) ส่ วนเอเชี ยฯ คุมเงินเฟ้ อและหนีสิ นได้ดีกว่า

3.ลาตินฯ การเปลียนแปลงการเมืองบ่อยครังและรุ นแรง(รัฐบาลหนึ ง ไม่ต่อเนือง กับอีกรัฐบาลถัดไป มีการยึดกิจการเอกชนมา


เป็ นของรัฐ) ส่ วนเอเชียฯนโยบายรับบาลหนึงมีผลผูกพันสอดคล้องกับรัฐบาลถัดไป ไม่กระทบภาคเอกชนมากนัก

การเปลียนแปลงเศรษฐกิจของประเทศกําลังพัฒนาใน แอฟริกา

สรุปแนวคิด

-ศตวรรษที 19 มีการ ค้าทาส

-หลังปี 1960 แอฟริ กาได้รับอิสรภาพจากการเป็ นอาณานิคม แต่ไม่พฒั นา คือ รายได้ต่อหัวตํา ยากจน เหลือมลํารายได้ หนีสิ น
ระหว่างประเทศ สุ ขอนามัยตําแพร่ ระบาดโรค รุ นแรงทางการเมือง สงครามการเมือง บทบาทรัฐทีขาดประสิ ทธิภาพ

-สหภาพแอฟริ กาใต้ พัฒนาดีสุดในทวีป มีทรัพยากร แร่ ธาตุมาก โครงสร้างเศรษฐกิจแข็งแกร่ งสุ ด นโยบายกีดกันสี ผิวถูก
ยกเลิกในปี 1991 แต่ยงั มีความแตกต่างรายได้ผิวดํา กับ ผิวขาว (คนผิวขาวส่ วนน้อย แต่ครอบครองทรัพย์สินส่ วนใหญ่ของประทศ)

ภาพรวมการเปลียนแปลงของประเทศกําลังพัฒนาใน แอฟริกา

-ปี 1880 ฝรั งเศสคุมอาณานิคม 22 ประเทศ / อังกฤษคุม 21 ประเทศ แต่ให้อิสรภาพในปี 1960 เป็ นต้นมา

-หลังรับอิสรภาพ กลุ่มปธน.มักอยูใ่ นอํานาจยาวนาน บ่อยครังทีผูน้ าํ รํารวยกว่าประเทศตัวเองอีก ชาวนาชาวไรไม่มีส่วน


โต้แย้ง เกิดสงครามระหว่างผิวขาว-ผิวดํา กูเ้ งินเยอะจํานวนมหาศาล ปรากฏว่า คนส่ วนใหญ่จนกว่า ตอนยังเป็ นอาณานิคม
(จนทีสุ ดคือกลุ่มทีอยูใ่ ต้ทะเลทรายซาฮาร่ า)

ปัญหาเศรษฐกิจแย่ตลอด 40 ปี หลังรับอิสรภาพ เกิดจาก

1.การลงทุน อัตราลงทุนตํา และลงทุนผิดทิศทาง(ลงทุนในภาครัฐทีขาดประสิ ทธิภาพ)

2.คุณภาพประชากร การศึกษาตํา(เรี ยนหนังสื อร้อยละ 42) สุ ขภาพอนามัยตํา อายุขยั ตํา (มาลาเรี ย เอดส์)

3.การเปิ ดประเทศ มีระบบเศรษฐกิจแบบปิ ด ค่อนข้างมาก

4.ปัญหาขัดแย้งการเมือง ระหว่างชนกลุ่มต่างๆ ทังระหว่างชนเผ่า ความขัดแย้งทางทหาร แย่งชิงทรัพยากร บ่อยครัง+ยาวนาน


47
5.ปัญหาหนีสิ น กูจ้ าก IMF และจาก สโมสรปารี ส มากถึง 321 พันล้านเหรี ยญดอลล่าร์

*แต่เมือก้าวเข้าสู่ ศตวรรษที 21 เป็ นต้นมา เศรษฐกิจและปัญหาต่างๆเริ มดีนิดหน่อย

การเปลียนแปลงของประเทศ สหภาพแอฟริ กาใต้

-นโยบายกีดกันสี ผิว ทําให้สหประชาชาติ ควําบาตร ประเทศแอฟริ กาใต้

-ทรัพยากรธรรมชาติทีสําคัญระดับโลก ได้แก่ เพชร ทองคํา ถ่านหิน

-ชาวยุโรปทีเข้าสู่ แอฟริ กาใต้ คือ อังกฤษ

-ปี 1948 พรรคการเมืองแห่งชาติ (the National Party: NP) ชนะการเลือกตังทีมีผเู ้ ลือกตังเป็ นคนผิวขาวทังหมด ได้ออกนโยบาย
กีดกันสี ผิว (apartheid) ยกเลิกในปี 1991

แบ่งชนชันเป็ น 4 กลุ่ม คือ

-กลุ่มแอฟริ กาหรื อผิวดําพืนเมือง ร้อยละ 75

-กลุ่มคนผิวขาว ร้อยละ 14

-กลุ่มผสม ผิวดําย้ายถิ น+พืนเมือง ร้อยละ 9

-คนเอเชีย(อินเดีย) ร้อยละ 2

-ระบบตลาดเป็ นแบบเสรี แต่ความเป็ นจริ ง รัฐแทรกแซงทุกกระบวน ( ผลิต บริ โภค ออกกฎ)

-เศรษฐกิจแบบเป็ นทางการ(เหมืองแร่ ) ไม่เป็ นทางการ(หนีภาษี สินค้าท้องถิ น)

-ปี พฤษภาคม 1994 นายเนลสัน แมนเดลา ได้เข้ามาเป็ น ปธน.ผิวสีคนแรก

-มีนาคม 1995 ปธน.เนลสัน แมนเดลา แถลงแผนการเศรษฐกิจ

1.ปรับปรุ งระบบเงินตรา เพือส่ งเสริ มการลงทุนต่างประเทศ

2.ให้สวัสดิการทีอยูอ่ าศัย การศึกษา การสร้างงาน แก่ผยู ้ ากจน

-ปี 2011 จัดเป็ นประเทสมีรายได้ปานกลางค่อนข้างสู ง และเข้าสู่ กลุม่ BRICS (Brazil , Russia , India , China , South Africa)
48

หน่ วยที 7

การเปลียนแปลงทางเศรษฐกิจของประเทศใน กลุ่มสั งคมนิยม


วัตถุประสงค์การเรี ยนรู ้

 อธิบาย ระบบเศรษฐกิจของสังคมนิยมได้
- อธิบาย ภาพรวมการจัดการทางเศรษฐกิจของสังคมนิยม
- เปรี ยบเทียบแนวคิด ระบบทุนนิยม กับ สังคมนิยม
 อธิบาย ความเป็ นมาของการเปลียนแปลงระบบเศรษฐกิจ ของประเทศสังคมนิยมได้
- อธิบาย ประสบการณ์ สหภาพโซเวียต ก่อนล่มสลาย
- อธิบาย ประสบการณ์ รัสเซี ย ประเทศยุโรปตะวันออก (หลังล่มสลายของสหภาพโซเวียต)
- อธิบาย ประสบการณ์ ประเทศสังคมนิยมในทวีปเอเชีย (จีน เวียดนาม)
 อธิบาย องค์ประกอบ การเปลียนแปลงของอดีตประเทศสังคมนิยมได้
- อธิบาย เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ของระบบสังคมนิยม
- อธิบาย ความสําคัญของการค้าระหว่างประเทศ ในระบบสังคมนิยม

สรุปแนวคิดรวม

-ระบบเศรษฐกิจสังคมนิยม มุ่งเน้นบริ หารจากส่ วนกลาง (ตรงนีคือ จุดแตกต่าง กับระบบทุนนิยม) บนแนวคิดทีมองว่า


ทรัพยากรปัจจัยการผลิตเป็ นของสังคม ให้ความสําคัญกับ การวางแผน (วางแผนการผลิต กระจายสิ นค้า-บริ การ การลงทุน
การบริ โภค) ราคาจะถูกควบคุมโดยรัฐและกําไรมิได้เป็ นเป้ าหมายสู งสุ ดของการประกอบการ

-มูลเหตุ การปฏิวตั ิเข้าสู่ ระบอบสังคมนิยม คือ เกิดจากทุกข์เข็ญทางเศรษฐกิจ ความทุกข์ยากของประชาชน ความยากจน


ความไม่ได้รับความเป็ นธรรม เป็ นชนวนก่อให้เกิด กบฏ / การลุกขึนสู้ของชนชันกรรมาชีพ / และล้มล้างระบอบกษัตริ ยเ์ ดิมจนหมดสิ น

-รัสเซี ย เป็ นประเทศแรก ทีปฏิวตั ิเข้าสู่ ระบอบสังคมนิยม

-มูลเหตุ การล่มสลาย สหภาพโซเวียต เกิดจากทุกข์เข็ญทางเศรษฐกิจเช่นเดียวกัน ขณะปป.เข้าสู่ ระบอบทุนนิยม(ช่วงแรก) คือ


การแปรกรรมสิ ทธิของรัฐเป็ นของเอกชน(มักได้ในกลุ่มอดีตผูจ้ ดั การของรัฐก่อน) การยกเลิกระบบควบคุมราคาทังหมด เปิ ด
ตลาดให้คา้ ขายเสรี ทําให้เกิดปัญหาเงินเฟ้ ออย่างรุ นแรง ระดับการเจริ ญเติบโตเศรษฐกิจตํา

-สาเหตุปัญหาเงินเฟ้ อ ปกด.

1.ความไม่สมดุลทางการคลัง เช่น ดําเนินงบประมาณขาดดุล-ใช้จ่ายภาครัฐจํานวนมาก และ กูย้ มื เงินจากธนาคาร

2.การขาดความเชือมันในการจัดการเศรษฐกิจมหภาค ส่ งผลเงินทุนไหลออกและผลการคาดการณ์เงินเฟ้ อ(ของนักลงทุน)


49
-แต่ จีน มีการผ่อนคลายอํานาจเข้าสู่ส่วนกลางอย่างค่อยเป็ นค่อยไป และเปิ ดให้มีการค้าระหว่างประเทศ ทําให้จีนมีเสถียรภาพ
ทางเศรษฐกิจดีอย่างต่อเนือง เติบโตเศรษฐกิจสู ง เงินทุนไหลเข้าจีนมาก การจ้างงานและระดับรายได้ดีขึน มีการพัฒนา
อุตสาหกรรมและเทคโนโลยีขนสู
ั งอย่างต่อเนือง ยาวนานกว่า 3 ทศวรรษ

ภาพรวมการจัดการทางเศรษฐกิจของสังคมนิยม

สรุ ปแนวคิด

-แซงต์ ซิ มอง เคยได้รับฉายาว่า บิดาแห่งลัทธินิยม มองเพียงแค่ว่า แรงงานเป็ นทุนอย่างหนึง แต่มิได้มีเป้ าหมายทีจะยกเลิก


กรรมสิ ทธิในทรัพย์สินของเอกชนแต่อย่างใด

-คาร์ ล มาร์ ก เป็ น บิดา แห่งลัทธิสังคมนิยม (แบบแท้จริ ง แบบวิทยาศาสตร์ )ทีทําให้ระบอบสังคมนิยมฉายออกมาเป็ นภาพที


ชัดเจน และทําให้ผนู ้ าํ ในประเทศสังคมนิยมต่างๆนําแนวคิดนีไปจัดการประเทศต่อไป

-คาร์ ล มาร์ ก ร่ วมมือกับ ฟรี ดริ ช เองเกิลส์ นายทุน ออกคําประกาศหรื อธรรมนูญของคอมมิวนิสต์(Communist Manifesto)

-การปฏิบตั ิทีเกิดจริ งเบียงเบนไปจากแนวคิดของคาร์ ล มาร์ ก ไม่ใช่ว่าระบอบสังคมนิยมไม่ดี แต่อาจเกิดจาก การบริ หาร


จัดการในทางปฏิบตั ิให้บรรลุแก่นแท้ทาํ ได้ยาก หรื ออาจทําไม่ได้เลย

-เป้ าหมายสุ ดท้าย(คล้ายคลึงประชาธิปไตย) คือ ความเสมอภาค ความเท่าเทียม ความสุ ข (จากการร่ วมมือร่ วมใจคนในสังคม
และเคารพสิ ทธิอย่างเท่าเทียมกัน)

-ระบบเศรษฐกิจสังคมนิยม รวมอํานาจไว้ทีส่ วนกลาง โดยพรรคคอมมิวนิสต์และรวบรวมปัจจัยการผลิตให้เป็ นของรัฐ เพือ


ชีให้เห็นว่า สังคมเป็ นเจ้าของปัจจัยการผลิต (ไม่ใช่นายทุน หรื อเอกชน)

-พ.ศ. 2518 ไทยประกาศเป็ นปรปักษ์กบั ลัทธิคอมมิวนิสต์ มี 15 ประเทศปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์ คือ

- รัสเซี ย อัลบาเนีย บัลกาเรี ย เชคโก-สโลวาเกีย เยอรมันตะวันออก ฮังการี โปแลนด์ โรมาเนีย ยูโกสลาเวีย


- จีน เวียดนามเหนือ เกาหลีเหนือ พม่า มองโกเลีย
- คิวบา

-พ.ศ.2556 มี 4 ประเทศทีประกาศชัด คือ จีน คิวบา ลาว เวียดนาม

-สังคมนิยม มุ่งเน้นที สังคม / ส่วนทุนนิยม (ปัจเจกนิยม) มุ่งเน้น ทีบุคคล ปัจเจกชน


50
*สังคมนิยมแบ่งเป็ น 2 ขัน คือ

ขันตํา ขันสังคมนิยม อยูใ่ นช่วงเปลียนแปลงปรับปรุ ง จําเป็ นต้องมีรัฐบาล(พรรคการเมืองเพียงพรรคเดียว) เข้ามาช่วย


บริ หารจัดการระบบก่อน

ขันสู ง ขันคอมมิวนิสต์ ช่วงกระจายทรัพยากรให้เป็ นไปตามต้องการ

- อาหารจะถูกจัดสรรให้เหมาะกับทีร่ างกายต้องการ หากหิวก็มีรับประทาน


(เด็กทุกคนสามารถเข้าถึงนม ผูใ้ หญ่มีขา้ วสาร ขนมปัง ฯลฯ)
- คนป่ วยมียารักษาโรค หากป่ วยก็ได้รับการรักษา
- ไม่มีเงินในระบบ ไม่มีกลไกตลาด
- ไม่มีรัฐบาล

ลักษณะทัวไปของ ระบบเศรษฐกิจสั งคมนิยม (เจ วิลซินสกิ , 2518)

1.การรวมอํานาจเข้าส่วนกลาง โดยพรรคคอมมิวนิสต์

2.สังคมเป็ นเจ้าของปัจจัยการผลิต รายได้ทีเกิดจากปัจจัยการผลิตจะเป็ นรายได้ของ สังคม

3.คณะกรรมาธิการวางแผนแห่งชาติของแต่ละประเทศ วางแผนเศรษฐกิจส่ วนกลาง ไม่ขึนกับ กลไกตลาด

4.การกระจายรายได้อย่างยุติธรรม รายได้มาจากแรงงาน เนืองจากปัจจัยการผลิตเดียวทีเป็ นของปัจเจกชนคือ แรงงาน ลง

แรงงานมากได้มาก แต่อย่างไรก็ตามทุกคนจะได้รับอาหารอย่างพอเพียงโดยไม่มีมูลค่า

ผลเสี ย คือ เมือปราศจากดอกเบียก็ปราศจากสิ งจูงใจการลงทุน การประกอบการอุตสาหะ ขาดสิ งจูงใจให้แรงงาน


ทุ่มเทแรงกายแรงใจในการทํางาน

 ดังนัน เศรษฐกิจสังคมนิยมแผนใหม่ เริ มให้อิสรภาพแก่ผปู ้ ระกอบการ เปิ ดโอกาสให้ทาํ กําไร ปฏิรูปราคาให้


สอดคล้องกับต้นทุน มีการคิดดอกเบียในการใช้ทุน และให้สิ งจูงใจทีเป็ นวัตถุกบั แรงงาน

เปรียบเทียบแนวคิด ระบบทุนนิยม กับ สั งคมนิ ยม

1.ตลาด ระบบตลาดถูกแทนทีด้วย การวางแผน สินค้าอุปโภคบริ โภคจะถูกจัดสรรตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจ (ตลาดยังมีอยู่


บ้างยามว่าง เช่น พืชผล ปลา-สัตว์ทีจับได้ นํามาแลกเปลียนในตลาดเล็กๆ ซึ งหากไม่อยูใ่ นแผนของรัฐ ก็จะถูกปราบปราม /
การควบคุมการเกิดตลาด เป็ นปัญหาใหญ่ ดังนัน จึงมีการปล่อยเสรี ตามกลไกตลาดมากขึน ส่ งผลให้เกิดการแข่งขัน สร้าง
คุณภาพสิ นค้า-สร้างแรงจูงใจประกอบการ (แต่รัฐยังคงเป็ นปัจจัยการผลิต และมีเก็บภาษี และกําหนดสัดส่ วนสิ นค้าพืนฐาน)
51
2.กําไร กําไรมิใช่เป้ าหมายสู งสุ ดของการประกอบการ โดยกําไรทีได้จะตกเป็ นของรัฐและรัฐเป็ นผูต้ ดั สิ นทิศทางการกระจาย
กําไรอย่างเบ็ดเสร็ จ(ส่วนทีเหลือจะกระจายไปยังกองทุนต่างๆ เช่น กองทุนพัฒนาการผลิต กองทุนอาคาร กองทุนให้สิ งจูงใจ)
โดยแหล่งทีมาของกําไร คือ การประหยัดทรัพยากร และ การลดต้นทุนการผลิต

3.การบริโภค รัฐเป็ นผูว้ างแผนว่าผูบ้ ริ โภค สมควรบริ โภคในปริ มาณเท่าใด บริ โภคสิ นค้าใด(เกิดขาดแคลน/ล้นตลาด บ่อย)

4.ราคา รัฐเป็ นผูก้ าํ หนดราคาเอง และมักกําหนดไว้ตากว่


ํ าราคาในตลาดโลก (บางครังตํากว่าราคาต้นทุนปัจจัยผลิตด้วย)

ความเป็ นมาของการเปลียนแปลงระบบเศรษฐกิจ ของประเทศสังคมนิยม

สรุ ปแนวคิด

-ช่วงแรกผูน้ าํ สหภาพโซเวียต ใช้แผนนโยบาย 5 ปี เน้นอุตสาหกรรมหนัก + จัดตังระบบผลิตเกษตรแบบสหการ(แบบนารวม)


ช่วงแรกนําความสําเร็ จมาก ผลผลิตเพิ ม เมืองขยายใหญ่ ระบบเศรษฐกิจก้าวกระโดดไปสู่ มหาอํานาจโลก
แต่เกิดความไม่เสมอภาคในสังคม อุตสาหกรรมดี (ต้นทุนมาจากความสู ญเสี ยชาวนาและผูย้ ากไร้) เกษตรแย่มาก

-ก่อนการล่มสลาย สหภาพโซเวียต เผชิญเศรษฐกิจชะงักงันเป็ นเวลายาวนาน การขาดประสิ ทธิภาพ คนงานทีไม่ทาํ งาน ติด


เหล้า แรงกดดันจากต่างประเทศ(เจ้าหนี และอาณานิคม) มิคาอิล กอร์ บาชอฟ ใช้แนวนโยบาย เปเรสตอยกา(ผสานทุนนิยมกับ
สังคมนิยม) ควบคู่ไปกับนโยบาย แกลสนอส แต่กไ็ ม่สาํ เร็ จ จนล่มสลายเป็ นรัสเซี ย และอืนๆ

ประสบการณ์ สหภาพโซเวียต ก่ อนล่ มสลาย เป็ นรัสเซี ย

-มูลเหตุ การปฏิวตั ิเข้าสู่ ระบอบสังคมนิยม คือ เกิดจากทุกข์เข็ญทางเศรษฐกิจ ความทุกข์ยากของประชาชน ความยากจน


ความไม่ได้รับความเป็ นธรรม เป็ นชนวนก่อให้เกิด กบฏ / การลุกขึนสู้ของชนชันกรรมาชีพ / และล้มล้างระบอบกษัตริ ยเ์ ดิมจนหมดสิ น
ประกอบกระแสอิทธิพลตะวันตกแผ่ขยายมาวุ่นวาย พระเจ้าซาร์ นิโคลัสที 2 เข้าร่ วมสงครามทังสองครัง การแพ้สงคราม
รัสเซี ย-ญีปุ่ น

-ในทีสุ ด พรรคบอลเชวิคส์ นําปฏิวตั ิโค่นล้มระบอบซาร์ สําเร็จ ปี 2461 (และประหารทังครอบครัว)

-วลาดิเมียร์ เลนิน ผูน้ าํ พรรคคนแรก ได้นาํ ระบบ รัฐทุนนิยม มาฟื นฟูเศรษฐกิจ (ธุรกิจกลางและเล็ก ดําเนินตามปกติ แต่ธุรกิจ
ใหญ่ยดึ มาเป็ นของรัฐ เช่น ไฟฟ้ า ประปา อุตสาหกรรมหนัก เหมืองแร่ รถไฟ เดินเรื อ ธนาคาร การเงิน ) แต่กเ็ กิดการขัดแย้งจาก
กลุ่มเก่าๆ ก่อตัวเป็ นสงครามการเมือง เลนิน จึงนําเอา นโยบายเศรษฐกิจแนวใหม่ (new economy policy) มาใช้จนเป็ นทียอมรับ
มากขึน(เก็บภาษี แทนยึดพืชผลชาวนาได้เหลือไว้ขายทํากําไรได้ / ควบคุมราคาสิ นค้าอุตสาหกรรมแทนการยึดเป็ นของรัฐ)
52
-โจเซฟ สตาลิน รับช่วงต่อจาก เลนิน ใช้ระบบหลักบังคับบัญชา ออกแผนนโยบาย 5 ปี ตังระบบสหการ-ระบบนารวม รัฐ
จัดหาแทรกเตอร์ และเทคโนโลยีระดับสู ง แต่ระบบนารวม เน้นยึดพืชผลมาเป็ นของรัฐ จนเกิดการต่อต้าน เกิดการฆ่ากวาดล้าง
ใหญ่ (Great putge) สุ ดท้ายระบบนารวม ส่ งผลกระทบ (อุตสาหกรรมดี เกษตรแย่)คือ

- ผลผลิตอาหารลดลง เกิดปัญหาอดอยากขันสู ง (ปี 2475 คนอดอยากตายราว 10 ล้านคน)

- มีการส่ งออกพืชผลจํานวนมาก แม้ภายในประเทศอดอยากหิวโหย

(แรงงานยุคนีจึงไม่ต่างจากทาสและนักโทษ ห้ามมาสาย ห้ามขาดงาน)

- คุณภาพชีวิตเมืองอุตสาหกรรมดี แต่เกิดพร้อมกับปัญหาสังคม อาชญากรรม แออัด

-ความไม่เสมอภาคในสังคม ผูบ้ ริ หาร นักการเมือง นักวิทยาศาสตร์ มีรายได้สูงกว่าคนทัวไปและมีอภิสิทธิพักผ่อนใน


รี สอร์ ทหรู หราของรัฐ

-ก้าวกระโดดเป็ นมหาอํานาจโลก

-ผูน้ าํ รุ่ นต่อๆมาหลังสตาลิน เริ มผ่อนคลายความเข้มงวด ยกเลิกระบบนารวม ผสมทุนนิยมกับสังคมนิยมมากขึน ในช่วง


วิกฤตินาํ มัน 2516 สหภาพโซเวียต เจอปัญหาทังปัจจัยภายนอก(นํามันทีส่ งออกราคาตํา ไม่มีเงิน ต้องกูเ้ งิน ซืออาหาร) ปัจจัย
ภายใน(แรงงานไม่มีแรงจูงใจทํางาน ) อีกทังโครงสร้างค่าใช้จ่ายการทหารมากกว่า 50% ของGDP

-มิคาอิล กอร์ บาชอฟ ผูน้ าํ คนสุ ดท้ายของสหภาพโซเวียต ใช้ เปเรสตอยกา+แกลนอส แต่ไม่ได้ผลเพราะเมืองใหญ่กว่าเดิม กลุ่ม
อํานาจเก่าไม่ยอม เกิดต่อต้าน หัวหน้างานก็ไม่เคยมีประสบการณ์มาก่อน จนล่มสลายลง เป็ น 15 รัฐ

-บอริ ส เยลซิ น เป็ น ปธน.คนแรกรัสเซี ย ปฏิรูปเศรษฐกิจเสรี มากขึน การแปรกรรมสิ ทธิของรัฐเป็ นของเอกชน(มักแย่งชิงได้ใน


กลุ่มอดีตผูจ้ ดั การในหน่วยงานนัน ก่อน) การยกเลิกระบบควบคุมราคาทังหมด เปิ ดตลาดให้คา้ ขายเสรี ทําให้เกิดปัญหาเงินเฟ้ อ
อย่างรุ นแรง ระดับการเจริ ญเติบโตเศรษฐกิจตํา รวมทังเกิดกบฎเชชเนีย

-ต่อมา วลาดิเมียร์ ปูติน ปี 2543 ดําเนินนโยบายงบประมาณเกินดุล ตัดรายจ่ายสาธารณะออกไม่ตากว่


ํ าร้อยละ 14 ยกเลิก
อุดหนุนภาคธุรกิจปล่อยให้ดาํ เนินไปตามกลไกตลาด จับกุม โคดอร์ คอฟสกี (ข้อหาหนีภาษีนาํ มัน) เก็บภาษีเข้าสู่ ส่วนกลาง
และลดบทบาทเก็บภาษีของรัฐท้องถิ น ส่ งผลให้ เศรษฐกิจขยายตัวเร็ ว เติบโตร้อยละ 7 เงินเฟ้ อตํา การลงทุนเพิ ม
อุตสาหกรรมโต การลงทุนและการออมในระดับสู ง โครงการช่วยเหลือคนจนก็มีประสิ ทธิภาพ (นักเศรษฐศาสตร์ รัสเซี ยได้
จดจําความสําเร็ จเหล่านีเกิดขึนจาก การรักษาเสถียรภาพทางการเงิน อ่อนตัวค่าเงิน พร้อมๆกับ รักษาเสถียรภาพทางการเมือง)
53
ประสบการณ์ ประเทศในยุโรปตะวันออก

-ส่ วนใหญ่ปกครองด้วยระบบสังคมนิยม รัฐสภาทีมีอาํ นาจสู งสุ ดเพียงสภาเดียว (ตามแบบ สตาลินทังสิ น)

-แนวคิดเศรษฐกิจแบบอืน เกิดขึนที ยูโกสลาเวีย โดยนายพลตีโต้ ปฏิรูปเศรษฐกิจ โดยการจัดสรรทรัพยากรแบบกระจายอํานาจ


คือ การวางแผนหลักส่ วนกลางยังมีอยู่ แต่ยกเลิกการวางแผนแบบส่ วนย่อย ปล่อยให้เป็ นหน้าทีของหน่วยงานท้องถิ น ซึ งทํา
ให้ยโู กสลาเวียโดนขับไล่ออกจากลุ่มประเทศสังคมนิยม แต่ต่อมาประเทศอืนๆกดําเนินรอยตาม เช่น เยอรมัน โปแลนด์ ฮังการี

ปัญหาเศรษฐกิจ ปี 2523 ทีทังกลุ่มต้องเผชิญ

1.ปัญหาภายใน ขาดประสิทธิ ภาพการจัดการทรัพยากร ส่ งผลให้ ผลิตภาพลดลง ผลผลิตตกตํา ขาดแคลนพลังงาน หนีสิ น คุณภาพชีวิตตํา

2.ปัญหาภายนอก ความซบเซาเศรษฐกิจโลก ภัยอากาศหนาวจัด นํามันราคาสูงขึน การลดการค้าของสหภาพโซเวียตกับกลุ่มยุโรปตะวันออก


การขาดดุลการค้าและการชําระเงิน การลดเงินให้กจู ้ ากประเทศยุโรปตะวันออก

จากนันเกิดการเปลียนเป็ นระบบเสรี แต่ปรับตัวไม่ทนั ไม่เคยมีประสบการณ์ จึงเกิดฉ้อราษฎร์ บงั หลวง ขาดแคลน


สิ นค้า ขาดแคลนพลังงาน ประชาชนขาดความเชือมันในระบบ ผลผลิตทรุ ดตําลงไปอีก รายได้ภาครัฐหายไป เงินเฟ้ อขันสู ง

การปฏิรูประบบเศรษฐกิจ หลังล่มสลายสังคมนิยม

1.แปรรูปสิ นทรัพย์ ของรั ฐ สู่ เอกชน กระจายสิ ทธิถือหุน้ ให้ประชาชน แต่ยงั ไม่สาํ เร็ จ หลายธุรกิจกลับมาเป็ นของรัฐเช่น
สถานพยาบาล ศูนย์ดูแลเด็ก สถานศึกษา บ้านเอืออาทร แรงงานบางแห่งถูกเลิกจ้าง(พนักงานล้น)

2.การพัฒนาตลาดเงินและตลาดทุน เดิมเป็ นของรัฐ แต่กลายมาเป็ นของเอกชน ถูกบริ หารจัดการใหม่ผ่านระบบการควบคุม


ทางธนาคาร มีองค์กร IMF WTO มาช่วยเหลือ ส่ งผลให้ เงินกลับเข้าระบบมากขึน เงินลงทุนขยายตัว

3.แปรรูประบบนารวม สู่ มือ ประชาชน แต่เกษตรยังตกตํา เพราะขาดความรู ้ทางเทคโนโลยี ขาดเครื องมือทีทันสมัย

ประสบการณ์ ประเทศสั งคมนิยมในทวีปเอเชี ย

ประเทศ จีน

-ช่วงแรกทําตามโซเวียต โดยนโยบายจากส่ วนกลาง ผ่านแผนเศรษฐกิจทุก 5 ปี แต่ไม่ดี

-เกิดการปฏิรูปมอบสิ ทธิส่ วนบุคคลในทีดิน เกษตรแปลงย่อย รวมจัดตังธุรกิจชุมชน อุตสาหกรรมระดับหมู่บา้ น รวมจัดตัง


ธุรกิจเอกชน โดยเกิดแรงผลักดันบทบาทนําจาก ระดับรากหญ้า

-ต่อมาปฏิรูป ใช้กลไกตลาด มาเป็ นปัจจัยร่ วม ต่อมาเข้าร่ วม WTO ปี 2001 กระตุน้ ให้เศรษฐกิจโตต่อเนือง กลายเป็ นตลาด
การค้าการลงทุนทีสําคัญระดับโลก มีอาํ นาจต่อรองทางการค้าสู ง จากนโยบายการค้าระหว่างประเทศ
54
เวียดนาม

-ปี 2518 เริ ม จากระบบนารวม และ แผนพัฒนาจากส่วนกลาง แต่ยงั เผชิญปั ญหาหลายรู ปแบบ

-ทศวรรษต่อมา ใช้กลไกตลาดเข้ามาช่วยแก้ปัญหา คือ ยกเลิกควบคุมราคา ลดงบประมาณอุดหนุน ปรับอัตราดอกเบีย-อัตรา


แลกเปลียนใกล้เคียงตลาด อนุญาตให้เอกชนดําเนินธุรกิจตนเอง ส่ งผลให้เศรษฐกิจขยายตัวมากขึน

-ปี 2543 เวียดนามเปิ ดตลาดหลักทรัพย์ขึน อเมริ กาเป็ นคู่คา้ สําคัญสุ ดของเวียดนาม ปี 2550 เข้าร่ วม WTO

-แต่ประชาชนยังดําเนินชีวิตแบบเกษตรกรรม เหลือมลํารายได้คนเมือง-ชนบท เงินเฟ้ อเพิ มเร็ วมาก(พุ่งขึนสูงร้อยละ 20 ปี 2553)

-แต่ปี 2556 เวียดนามมีอตั ราการขยายตัวทางเศรษฐกิจสู งทีสุ ดใน อาเซี ยน

องค์ประกอบ การเปลียนแปลงของอดีตประเทศสังคมนิยม

สรุ ปแนวคิดรวม

-รัสเซี ย จัดอยูใ่ นกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว / จีนจัดอยูใ่ นกลุ่มประเทศกําลังพัฒนา

-ศตวรรษที 21 จีนมีความเป็ นเผด็จการเบ็ดเสร็ จ สู งกว่ารัสเซี ย แต่มีการคอร์ รัปชันตํากว่ารัสเซี ย

-สหภาพยุโรป(EU) เป็ นคู่คา้ ทีสําคัญ ของยุโรปตะวันออก

เสถียรภาพ ของระบบเศรษฐกิจสั งคมนิ ยม

-รายได้ประชาชาติและรายได้ต่อหัว ทุนนิยมพัฒนาแล้ว > สังคมนิยม > ทุนนิยมกําลังพัฒนา

อิทธิพลปัจจัยบวก ของสังคมนิยม

1.ระดับการจ้างงานเต็มที

2.สามารถพัฒนาไปตามทิศทางทีแน่นอนและตรงประเด็น (ไม่ถูกชีแนะโดยกลไกตลาด)

3.กระจายรายได้เสมอภาค (แม้ต่างกันบ้าง แต่สาธารณูปโภคทัวถึง)

อิทธิพลปัจจัยลบ

1.ผูผ้ ลิตขาดสิ งจูงใจประกอบการ แรงงานขาดประสิ ทธิภาพและแรงจูงใจทํางาน

2.วางแผนจากส่ วนกลางชัดเจน แต่กระจายคําสั งไปยังหน่วยเล็ก ขาดความต่อเนืองชัดเจน ผิดพลาดได้


55
3.ระบบราคาไม่สามารถสร้างดุลยภาพได้

4.แข่งขันในระดับตํา ผูป้ ระกอบการ แรงงานขาดความกระตือรื อร้นพัฒนาผลิตภัณฑ์

รัสเซี ย

ลักษณะปัญหาทัวไปคล้ายคลึงประเทศประชาธิปไตย

-ปัญหาคอร์ รัปชัน

-สภายุติธรรมถูกครอบงําจากสายการเมือง

-สื อไม่สามารถทํางานอย่างเป็ นอิสระ

-การกระจายรายได้ไม่เท่าเทียม

-มีความผันผวนในเศรษฐกิจมหภาค

ประเทศจีน

-ก่อนการปฏิรูปครังใหญ่ 1977-1988 รับบาลบริ หารแบบรวมศูนย์กลาง ทําให้ เกิดความยากจน เศรษฐกิจชะงักงัน ขาด


ประสิ ทธิภาพ ปิ ดประเทศจากโลก หลังปฏิรูป ขยายตัวเศรษฐกิจสู งสุ ด เฉลียร้อยละ 10 กลายเป็ นศูนย์กลางโลก ได้แก่

- เศรษฐกิจใหญ่ อันดับ 2 ของโลก

- นําเข้าสิ นค้า อันดับ 2

- ระดับการลงทุนจากต่างประเทศ อันดับ 2

- ส่ งออกสิ นค้า สู งสุ ด (แทนทีเยอรมนี)

- ศูนย์กลางการค้าตลาดโลก ใหญ่สุด

- ผลิตอุตสาหกรรม ใหญ่สุด

- ปริ มาณเงินสํารองประเทศ สู งสุ ด

- อัตราการเพิ มค่าจ้าง สู งสุ ด

ความสํ าคัญของการค้ าระหว่ างประเทศ ในระบบสั งคมนิยม

-ช่วงแรกทุกประเทศเน้นพึงพาตนเอง จึงมีการค้านะระดับตํา

-ตลาดโลกเป็ นแหล่งสําคัญของ วัสดุ เครื องจักร ค้าขายสิ นค้า จึงจําต้องมีการค้าระหว่างประเทศ


56
-การค้าระหว่างประเทศนํามาซึ ง รายได้ การจ้างงาน ทรัพยากร เครื องมือ เครื องจักรทีจําเป็ นในการผลิต

-การเปลียนแปลงสําคัญสุ ดคือ การเคลือนย้ายสิ นค้าจากฝั งตะวันออก สู่ ตะวันตก การค้าในสหภาพยุโรปพุ่งสู งอย่างรวดเร็ ว

-ตัวชีวัดทางเศรษฐกิจมหภาค ส่ งสัญญาณทีดีทีช่วยสนับสนุนภาคการค้าระหว่างประเทศ

เช่น กลไกราคา กลไกการค้าเสรี มากขึน เงินเฟ้ อลดลง ตลาดทุนได้รับการพัฒนาดีขึน

-จีนพัฒนาดีมากแต่มีผลลบ คือ สิ นเปลืองทรัพยากรมาก และ เกิดมลภาวะมาก


57

หน่ วยที 8

แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ ก่ อนสมัยคลาสสิ ก

You might also like