You are on page 1of 5

อารยธรรมมนุษย์

ข้อ 1
การพัฒนาของศูนย์กลางอำนาจแหล่งอารยธรรม มีความสำคัญกับการพัฒนาเทคโนโลยีในปั จจุบนั
เป็ นอย่างมาก กล่าวคือ ในอดีตของแต่ละอารยธรรมนั้นได้มีการพัฒนาเทคโนโลยีของตนเองมาอย่างต่อ
เนื่อง ซึ่ งจะเป็ นพื้นฐานในการพัฒนาองค์ความรู ้ และเทคโนโลยีในปั จจุบนั อาธิ เช่น
อารยธรรมอียปิ ต์ ซึ่ งมีการพัฒนาเทคโนโลยีหลากหลายแขนง ไม่วา่ จะเป็ นเทคโนโลยีทางการแพทย์
เทคโนโลยีดา้ นวิศวกรรม และด้านอื่นๆอีกมากมาย โดย เมื่อประมาณ 4,000 ปี ก่อนคริ สต์ศกั ราช ชาวอียปิ ต์
โบราณได้ประดิษฐ์อกั ษรฮีโรกราฟิ ก (Hieroglyphic) ซึ่ งเป็ นอักษรภาพ ต่อมาอักษรภาพนี้ได้ดดั แปลงเป็ นตัว
เดโมติก (Demotic) ซึ่ งใช้ในภาษากรี กปัจจุบนั ชาวอียปิ ต์โบราณสามารถคำนวณพื้นที่ของสี่ เหลี่ยมจตุรัส
สี่ เหลี่ยมผืนผ้าและทรงกลม นอกจากนี้ ชาวอียปิ ต์โบราณยังมีความรู ้ดา้ นดาราศาสตร์อย่างดี และได้กำหนด
ปฏิทินของตนเอง โดยกำหนด 1 ปี มี 360 วัน และต่อมากำหนด 1 ปี มี 365 วัน โดยแบ่งออกเป็ น 12 เดือน
ความรู ้ดา้ นชีวภาพของชาวอียปิ ต์โบราณ คือ การศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับกายวิภาค และสรี รวิทยาของร่ างกาย
มนุษย์ ซึ่ งนำไปสู่ ความเจริ ญก้าวหน้าด้านการแพทย์สาขา ต่าง ๆ โดยเฉพาะจักษุแพทย์ ทันตแพทย์ และ
ศัลยแพทย์ ซึ่ งเป็ นพื้นฐานให้แก่ชาวกรี กในสมัยต่อมา
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย เป็ นอารยธรรมเก่าแก่ที่เกิดขึ้นในบริ เวณที่ราบลุ่มแม่น ้ำไทกริ ส (Tigris)
และแม่น ้ำยูเฟรตีส (Euphrates) คำว่า "เมโสโปเตเมีย" เป็ นภาษากรี ก หมายถึง ดินแดนที่อยูร่ ะหว่างแม่น ้ำทั้ง
สอง ปัจจุบนั คือ ประเทศอิรัก ณ ที่แห่งนี้มีชนชาติต่าง ๆ อพยพเข้ามาอยูอ่ าศัยมากมาย แต่ละชนชาติเหล่า
นั้นได้นำความเจริ ญมาสู่ เมโสโปเตเมีย เช่น ชาวสุ เมเรี ยนได้ประดิษฐ์อกั ษรคูนิฟอร์ม (Cuneiform) ซึ่ งเกิด
จากการใช้กระดูกมีลกั ษณะเป็ น รู ปลิ่ม กดบนดินเหนียวในขณะอ่อนตัว เป็ นรู ปร่ างต่าง ๆ เพื่อแสดงความ
หมายที่ตอ้ งการ นับเป็ นอักษรที่เก่าแก่ที่สุดในโลก นอกจากนี้ ชาวสุ เมเรี ยนยังเริ่ มมีการคิดค้นปฏิทินขึ้นใช้
โดยกำหนด 1 เดือน มี 29.5 วัน 1 ปี มี 12 เดือน และถือหน่วย 60 ในการนับวินาที และชัว่ โมง
ชาวแคลเดียน (Chaldean) เป็ นชนชาติหนึ่งที่เข้ามาอาศัยในเมโสโปเตเมีย และได้ทำให้ความรู ้ดา้ น
ดาราศาสตร์มีความเจริ ญและพัฒนามากขึ้น โดยมีความเชื่อว่าดาวเคราะห์มี 5 ดวง ประกอบด้วย ดาวพุธ ดาว
ศุกร์ ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี และดาวเสาร์ เมื่อรวมกับดวงอาทิตย์ และดวงจันทร์ ก็คือ เทพเจ้าที่ยิง่ ใหญ่ 7
องค์ อารยธรรมเมโสโปเตเมียได้ให้ความรู้แก่มนุษย์ชาติ และได้ใช้ตราบจนทุกวันนี้ คือ 1 สัปดาห์มี 7 วัน
การแบ่งหน้าปัทม์นาฬิกาเป็ น 12 ช่อง ๆ ละ 1 ชัว่ โมง ซึ่ งตัวอย่างเหล่านี้เป็ นเพียงบางส่ วนในการที่แสดงให้
เห็นว่า อารยธรรมโบราณ มีบทบาทกับเทคโนโลยีสมัยใหม่
อารยธรรมมนุษย์-ข้อ.2
สาเหตุที่อาจทำให้เกิดการล่มสลายของศูนย์กลางอำนาจ แหล่งอารยธรรมที่สำคัญของโลก อาจจะมี
ได้หลายปั จจัย ทั้งเกิดจาก การเมือง สังคม สภาพภูมิอาการ หรื อแม้แต่โรคระบาด ยกตัวอย่างเช่นการล่ม
สลายของอาณาจักรโรมัน สันนิฐานว่าเกิดจาก การปกครองกล่าวคือ ด้วยขนาดของอาณาจักรโรมันที่มีขนาด
ใหญ่มาก ทำให้ยากต่อการปกครองควบคุมด้วยจักรพรรดิเพียงองค์เดียว ดังนั้น จึงทำให้เกิดการจัดสรรแบ่ง
ปั นอำนาจในรู ปแบบที่เหมือนกับพีระมิด ซึ่ งมีจกั รพรรดิอยูบ่ นยอดสู งสุ ด ในระยะแรกกลไกการปกครองยัง
ใช้ระบบจักรพรรดิกบั สภาสูงที่มาจากชนชั้นนำในสังคม จากนั้นระบบได้ใช้ระบบราชการ ซึ่ งได้ค่อยๆ เพิ่ม
อำนาจครอบงำการบริ หารขึ้นทุกปี แต่แล้วเมื่อระบบไม่สามารถกระจายผลประโยชน์ให้กบั ทุกคนได้อย่างดี
พอ เมืองหลวงก็พยายามเฟ้ นหาจักรพรรดิใหม่ ในขณะที่ในส่ วนภูมิภาค พวกผูป้ กครองท้องถิ่นก็ต้ งั
จักรพรรดิของตนเองขึ้นมาปกครอง ด้วยเหตุน้ ี เอง ในช่วงคริ สต์ศตวรรษที่ 3 ซึ่ งถือเป็ นยุควิกฤตของ
อาณาจักรนี้พบว่า ได้เกิดจักรพรรดิจริ งและจอมปลอมขึ้นหลายคนด้วยกัน ทำให้สภาพของอาณาจักรเวลา
นั้นเป็ นแบบกระจัดกระจาย บางครั้งถึงกับมีอาณาจักรเกิดขึ้นซ้อนในอาณาเขตของอาณาจักรโรมันเสี ยเอง
การล่มสลายของอาณาจักรเก่าของอียปิ ต์ ในยุคปลายสุ ดของอาณาจักรอียปิ ต์ยคุ อาณาจักรเก่า
(2686-2181/2160 ปี ก่อน ค.ศ.) หรื อตกอยูใ่ นช่วงราชวงศ์ที่ 7 หรื อ 8 สภาพสังคมในเวลานั้นมีคนเปรี ยบว่า
เหมือนอยูใ่ น ‘ยุคมืด’ ซึ่ งกินเวลาระหว่าง 2181-2055 ปี ก่อน ค.ศ. โดยเกิดความวุน่ วายทางการเมืองอย่าง
หนัก บางช่วงเวลาเกิดสงครามกลางเมือง และความอดอยากแผ่กระจายไปทัว่ จนถึงขั้นที่กินกันเอง
(Cannibalism) ก็มี สภาพสังคมดังกล่าวนี้ยตุ ิลงเมื่อ 2055 ปี ก่อน ค.ศ. ภายใต้ฟาโรห์เมนทูโฮเทปที่ 2 แห่ง
ราชวงศ์ที่ 11 ผูไ้ ด้ชื่อว่าเป็ นฟาโรห์พระองค์แรกของอาณาจักรกลางสาเหตุของการล่มสลายของอาณาจักรนี้
ประกอบด้วยหลายปัจจัย แต่ที่น่าสนใจมีอยู่ 2 ปั จจัยคือ ปั จจัยแรกคือการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ

ปั จจัยถัดมาคือ การจัดการโครงสร้างทางการเมืองผิดพลาด กล่าวคือ ในปลายยุคของราชวงศ์ที่ 5 (2494-2345


ปี ก่อน ค.ศ.) ปรากฏว่ามีความพยายามในการกระจายอำนาจการปกครองไปยังขุนนางและผูป้ กครองระดับ
ท้องถิ่น/จังหวัด คนกลุ่มนี้กลับไปฝังรกรากจนสัง่ สมทั้งอำนาจและความมัง่ คัง่ ขึ้นมาได้ กระบวนการนี้ เกิด
ขึ้นยาวนาน

อารยธรรมมนุษย์-ข้อ.3

หากไม่มีลทั ธิจกั รรดินิยม ( Imperialism) และลัทธิ ล่าเมืองขึ้น (Colonalism) จะไม่สามารถ


เปลี่ยนแปลง สังคมในแต่ละภูมิภาคได้ ไม่ได้มีการนำเทคโนโลยีจากประเทศมหาอำนาจ มายังประเทศที่ยงั
ไม่มีการพัฒนาเท่าที่ควร อาจกล่าวได้วา่ หากไม่มีลทั ธิ จกั รรดินิยม ( Imperialism) และลัทธิ ล่าเมืองขึ้น
(Colonalism) จะไม่สามรถทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสิ่ งเหล่านี้ เช่น
1. การเกิดรัฐสมัยใหม่ที่ประกอบด้วยประชากร ดินแดน บุคคลและอำนาจอธิ ปไตย
2. การเกิดสถาบันการเมืองแบบตะวันตก คือรัฐบาลกลาง ทำหน้าที่บริ หารราชการตามแบบ
วิธีการสมัยใหม่แทน วิธีการแบบสมบูรณาญาสิ ทธิ ราชย์
3. การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ
1) การผลิตสิ นค้าชนิดใหม่ที่สำคัญ ได้แก่ ยางพารา ข้าว ดีบุก ยาสู บ กาแฟ อ้อย
2) การผลิตเพื่อส่ งออก ทำให้เกิดระบบการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจเพื่อยังชีพกลาย
เป็ นการผลิตเพื่อการค้าและส่ งออก
3) ชาวจีนเข้ามาประกอบอาชีพโดยเสรี และกลายเป็ นผูค้ วบคุมการค้าและอุตสาหกรรม
ส่ วนใหญ่ของประเทศขณะที่ชาวพื้นเมืองยังยากจนและประกอบอาชีพเกษตรกรรมเช่นเดิม
4) ระบบเศรษฐกิจที่ตอ้ งพึ่ง ระบบเศรษฐกิจของโลก และสัมพันธ์กบั นานาชาติมากขึ้น
4. การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
1) มีการนำวิทยาการตะวันตกมาศึกษาอย่างแพร่ หลาย แนวทางการพัฒนาประเทศให้ทนั
สมัยนั้นดำเนินตามแบบตะวันตก
2) เกิดการขยายตัวของชุมชนเมือง กลายเป็ นเมืองมหานครที่มีขนาดใหญ่ข้ ึนอย่างรวดเร็ ว
ซึ่ งขยายตัวทางการคมนาคมการสื่ อสาร อาคารและสิ่ งก่อสร้างขนาดใหญ่
3) เกิดสังคมที่ประกอบด้วยหลายเชื้อชาติ หลายภาษา เนื่องจากชาติตะวันตกได้นำเอา
แรงงานจากภูมิภาคอื่นเข้ามาทำงานในอาณานิคม

อารยธรรมมนุษย์-ข้อ.4
หากการปฏิวตั ิวิทยาศาสตร์ และอุตสาหกรรมของโลก เกิดขึ้นเป็ นครั้งแรกในเอเชียตะวันออกเฉี ยง
ใต้ อาจจะทำให้ภูมิภาคนี้มีความก้าวกระโดด ทางเทคโนโลยี และอุตสาหกรรม เพราะโดยพื้นฐานชาวเอเชีย
ตะวันออกเฉี ยงใต้ จะล้าหลังทางด้านเทคโนโลยี และอุตสาหกรรม กว่าฃาติตะวันตกอยูม่ าก
ผลของการปฏิวตั ิทางวิทยาศาสตร์ มีดงั นี้
1.ทำให้เกิดความรู้ใหม่แตกแยกออกไปหลายสาขา ทั้งคณิ ตศาสตร์ ดาราศาสตร์ ฟิ สิ กส์
พฤกษศาสตร์ และการแพทย์ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้ถูกนำมาประยุกต์ใช้ในงานต่างๆ
2. มีอิทธิพลต่อความคิดและความเชื่อ และเชื่อมัน่ ในอนาคตว่าจะสามารถนำความสำเร็ จมาสู่ ชีวิตได้
ทำให้เกิดความปรารถนาที่จะเรี ยนรู้ และประดิษฐ์สิ่งต่างๆ
3. นำไปสู่ การปฏิวตั ิทางภูมิปัญญา (INTELLECTUAL REVOLUTION) ในคริ สต์ศตวรรษที่ 18 อีก
ด้วย ซึ่ งหมายถึงยุคที่ชาวยุโรปกล้าใช้เหตุผลแสดงความเห็นเกี่ยวกับการเมือง การปกครอง ตลอดจนเรี ยก
ร้องสิ ทธิ เสรี ภาพ และความเสมอภาคเท่าเทียมกัน
ผลของการปฏิวตั ิอุตสาหกรรม มีดงั นี้
1. ประชากรทัว่ โลกเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว เพราะความ ก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และทางด้านการแพทย์
เจริ ญก้าวหน้า ขึ้นอย่างต่อเนื่อง
2. การก่อสร้างอาคารบ้านเรื อนและสถาปั ตยกรรม พัฒนาก้าวหน้ามากขึ้น
3. เกิดปัญหาสังคมต่างๆ มากมาย เช่น ชุมชนแออัด การแพร่ กระจายของเชื้อโรค ปั ญหาอาชญากรรม
การใช้ แรงงานเด็ก การเอารัดเอาเปรี ยบกัน ทำ
4. เกิดลัทธิเสรี นิยม) ซึ่ งเป็ นพื้นฐานการปกครองระบอบประชาธิ ปไตยและ

กล่าวได้วา่ การปฏิวตั ิอุตสาหกรรมก่อให้เกิดการแบ่งค่ายระหว่างลัทธิ ทุนนิยมกับลัทธิ สังคมนิยม


อย่างเป็ นรู ปธรรม ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อารยธรรมมนุษย์-ข้อ.5
จะเน้นพัฒนาที่การศึกษา สารสนเทศ สื่ อ และเทคโนโลยี เพราะเป็ นพื้นฐานที่จะนำไปพัฒนาประเทศ โดย
จะมุ่งเน้นดังนี้
การศึกษา
การคำนวนและการอ่านเขียนยังคงเป็ นพื้นฐานสำคัญต่อการเรี ยนรู ้ในอนาคต นักเรี ยนต้องได้รับ
การพัฒนาทักษะที่จำเป็ นสำหรับศตวรรษที่ 21 ด้วย เพื่อให้พวกเขาเติบโตได้ในยุคแห่งความไม่แน่นอนและ
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดอย่างรวดเร็วและตลอดเวลา ทักษะที่สำคัญดังกล่าวที่เราควรหันมาให้ความสำคัญ เช่น
การปรับตัว การคิดเป็ นระบบ การสร้างสรรค์ การแก้ไขปั ญหา และการทำงานร่ วมกับคนอื่น ซึ่ งเป็ นทักษะที่
นำไปใช้ได้ในสถานการณ์ที่แตกต่างกัน ตามแนวโน้มปั จจุบนั ที่คนรุ่ นใหม่จะเปลี่ยนงานข้ามสาขาวิชาชีพที่
หลากหลาย ซึ่ งเป็ นสิ่ งที่ทา้ ทายความสามารถในการนำทักษะที่มีไปปรับใช้ในสภาพแวดล้อมใหม่ ๆ
สารสนเทศ สื่ อ และเทคโนโลยี
ทักษะด้านสารสนเทศ สื่ อ และเทคโนโลยี เนื่องด้วยในปั จจุบนั มีการเผยแพร่ ขอ้ มูลข่าวสารผ่านทางสื่ อและ
เทคโนโลยีมากมาย ผูเ้ รี ยนจึงต้องมีความสามารถในการแสดงทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและปฏิบตั ิ
งานได้หลากหลาย โดยอาศัยความรู้ในหลายด้าน ดังนี้
ความรู ้ดา้ นสารสนเทศ
ความรู ้เกี่ยวกับสื่ อ
ความรู ้ดา้ นเทคโนโลยี
ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ ในการดำรงชีวิตและทำงานในยุคปั จจุบนั ให้ประสบความสำเร็ จ นักเรี ยนจะต้อง
พัฒนาทักษะชีวิตที่สำคัญดังต่อไปนี้
ความยืดหยุน่ และการปรับตัว
การริ เริ่ มสร้างสรรค์และเป็ นตัวของตัวเอง
ทักษะสังคมและสังคมข้ามวัฒนธรรม
การเป็ นผูส้ ร้างหรื อผูผ้ ลิต (Productivity) และความรับผิดชอบเชื่อถือได้ (Accountability)
ภาวะผูนำ
้ และความรับผิดชอบ (Responsibility)

You might also like