You are on page 1of 10

1

ุ สาหกรรม (Industrial
13 การปฏิว ัติอต
Revolution)
ื่ ..........................................................................ชน
ชอ ั ้ ม.4/...........เล
ขที.่ ...........

กิจกรรมที่ 1 ศึกษา สร้างองค์ความรู้


การปฏิวัติอุตสาหกรรม หมายถึง วิธีการ
เปลี่ยนแปลงการผลิต จากการใช้แรงงาน
คนและสัตว์มาเป็ นเครื่องจักร ซึ่งก่อให้
เกิดผลดีต่อการผลิตทัง้ ในด้านปริมาณ
และคุณภาพ
การปฏิวัติเริ่มขึน
้ ในคริสต์ศตวรรษ 18 โดยเริ่มขึน
้ ที่ประเทศอังกฤษ
เป็ นประเทศแรกที่มีการปฏิวัติ เนื่องจากอังกฤษมีสภาพการเมืองที่
มั่นคง มีเงินทุนมั่นคง มีตลาดการค้าซึง่ ก็คือดินแดนอาณานิคมเป็ น
จำนวนมาก ความก้าวหน้า
ทางวิทยาศาสตร์ก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการผลิต มีวัตถุดิบที่อุดมสมบูรณ์
มีแรงงานที่เป็ นกำลังสำคัญในการปฏิวัติ การมีกองทัพที่เข้มแข็ง มีท่าเรือ
ทางการค้าเป็ นจำนวนมาก

สาเหตุของการปฏิวัติอุตสาหกรรรม
 การขยายตัวทางการค้าจากยุคพาณิชย์นิยม และการล่าอาณานิคม
 ความพร้อมในด้านการลงทุน
 การเพิ่มขึน
้ ของจำนวนประชากร
 ความเจริญก้าวหน้าในวิทยาการและเทคโนโลยีแขนงต่าง ๆ จากการ
ปฏิวัติวิทยาศาสตร์
2

ระยะการปฏิวัติอุตสาหกรรม : ระยะที่ 1 สมัยแห่งพลังไอน้ำ


1. เทคโนโลยีที่ใช้ไม่สลับซับซ้อนมากนัก เป็ น
ยุคของการใช้ถ่านหินและ ไอน้ำ โดย
การนำวิธีการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ มี
ผลทำให้อังกฤษกลายเป็ นผู้นำทางด้าน
เทคนิคและวิทยาการส่วนมากเป็ น
เครื่องจักรอุตสาหกรรมทอผ้า
2. การทำอุตสาหกรรมเหล็กเป็ นวัสดุพ้น
ื ฐานของการทำอุตสาหกรรมอื่น
ๆ จนได้ช่ อ
ื ว่า “การปฏิวัติยุคเหล็ก”
3. สินค้าที่ผลิตส่วนมากสนองตอบต่อความต้องการของคนในทวีปยุโรป

ระยะที่ 2 สมัยแห่งก๊าช น้ำมัน และไฟฟ้ า


1. เป็ นสมัยการพัฒนาอุตสาหกรรมเคมีและไฟฟ้ าควบคู่กับการดำเนิน
การผลิตแบบเก่า เกิดอุตสาหกรรมใหม่ ๆ เช่น อุตสาหกรรมเคมี และ
เครื่องจักร
2. มีการรวมกลุ่มวิศวกรและนักวิทยาศาสตร์อย่างมีระบบ มีการค้นคว้า
และพัฒนาในห้องทดลอง และนำพลังงานใหม่ เช่น น้ำมัน และไฟฟ้ า
ในการขับเคลื่อน
3. การทำอุตสาหกรรมเหล็กมีความเจริญก้าวหน้ามากขึน
้ จนได้ช่ อ
ื ว่า
“การปฏิวัติยุคเหล็กกล้า”
4. มีการจัดระบบโรงงานอุตสาหกรรมแบบใหม่ โดยเยอรมนีเป็ นผู้นำทาง
ด้านเคมีภัณฑ์ และอุตสาหกรรมไฟฟ้ า
ระยะที่ 3 สมัยแห่งอิเลคทรอนิกส์ (สมัยปั จจุบัน)
1. เป็ นความก้าวหน้าทางวิทยาการที่เกี่ยวกับการดำเนินชีวิตประจำวัน
มากที่สุด
3

2. จากการค้นพบเรื่องไฟฟ้ าเป็ นผลทำให้การสื่อสารได้รับการพัฒนาให้


ก้าวหน้ามากขึน

ลักษณะการขยายตัวทางการผลิต
 การเกิดอุตสาหกรรมชนิดใหม่ภายหลังการผลิต เป็ นการเกิด
อุตสาหกรรมในลักษณะต่อเนื่อง เช่น อุตสาหกรรมยางรถยนต์
อุตสาหกรรมผลิตลวดทองแดง เพื่อช่วยในการผลิตกระแสไฟฟ้ า
 การขยายตัวทางด้านอุตสาหกรรมทำให้หัตถกรรมลดน้อยลง ระบบ
กรผลิตทางด้านอุตสาหกรรม ทำให้สามารถผลิตสินค้าได้ปริมาณมาก
ราคาถูกลง ช่างฝี มือทางด้านหัตถกรรมจึงลดความสำคัญลง
 การปรับปรุงด้านการสื่อสารและการคมนาคม เป็ นผลสืบเนื่องมา
จากการขยายตัวทางด้านการผลิต เพื่อให้ระบบการขนส่งเกิดความ
สะดวก จึงมีการสร้างถนน ขุดคลอง และสร้างเส้นทางรถไฟ ส่วน
ระบบการสื่อสาร มีการปรับปรุงระบบไฟฟ้ าข้ามทวีป มีการประดิษฐ์
เครื่องโทรเลขไร้สายโดยการใช้คลื่นวิทยุ ต่อมามีการผลิตหนังสือพิมพ์
ซึ่งนับว่าเป็ นวิธีการสื่อสารที่สามารถกระทำได้ในวงกว้างมากขึน

 การเติบโตของระบบอุตสาหกรรมและการลงทุนขนาดใหญ่ เมื่อคน
มีกำลังซื้อมากขึน
้ จึงมีมาตรฐานการดำรงชีวิตที่ดีขน
ึ ้ จึงทำให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงระบบการดำเนินงานไปสู่การตัง้ บริษัทร่วมทุน ในลักษณะ
ของการช่วยกันซื้อหุ้นบริษัท เมื่อมีกำไรก็ได้รับผลประโยชน์เท่าจำนวน
หุ้นที่มี

ผลกระทบของการปฏิวัตอ
ิ ุตสาหกรรม
ผลดีการปฏิวัติอุตสาหกรรม
4

ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ ด้านการเมือง


 บ้านเมืองมีความ  เกิดระบบโรงงานซึ่ง  เกิดลัทธิเศรษฐกิจ
เจริญมากขึน
้ มีการทำงานแบบ และลัทธิการเมือง
 เกิดความสะดวก จำแนกความชำนาญ ใหม่คือลัทธิเสรีนิยม
สบายในการดำเนิน เฉพาะอย่าง และสังคมนิยม
ชีวิตประจำวัน  การเปลี่ยนแปลงวิธี  ประชากรวัยแรงงาน
 อัตราการตายลดลง การผลิต คุณภาพ เพิ่มขึน
้ ทำให้มีส่วน
เนื่องจากวิทยาการ และผลผลิตทำให้ ร่วมทางการเมือง
ด้านการแพทย์ ทำให้ สินค้ามีมาตรฐาน มากขึน

มีวัยแรงงานเพิ่มขึน
้ เดียวกัน และมี
 เกิดระบบโรงงาน จำนวนเพิ่มมากขึน

อุตสาหกรรม อย่างมี  เกิดขยายตลาดการ
ระเบียบแบบแผน ค้าและระบบการค้า
 เกิดชนชัน
้ ใหม่ คือ กับต่างประเทศ
ชนชัน
้ นายทุนและ  การคมนาคมขนส่ง
ชนชัน
้ กรรมาชีพ เจริญก้าวหน้าอย่าง
รวดเร็ว
5

ผลเสียการปฏิวัติอุตสาหกรรม

ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ ด้านการเมือง


 เกิดปั ญหาการขูดรีด  เกิดความไม่เท่าเทียม  เกิดลัทธิ
แรงงาน กันด้านเศรษฐกิจ จักรวรรดินิยม
 เกิดความเหลื่อมล้ำ  ทรัพยากรและสิ่ง  การเรียกร้อง
ทางสังคม จากการ แวดล้อมเสื่อมโทรม สวัสดิการของชนชัน

แบ่งชนชัน
้ เกิด กรรมกร จนเกิดการ
ปั ญหาชุมชนแออัด จัดตัง้
 เกิดปั ญหาการ สหภาพแรงงานเพื่อ
เหลื่อมล้ำของการก การต่อรอง
ระจายรายได้  เกิดการแข่งขันใน
การสร้าง
แสนยานุภาพทัง้ ทาง
บกและทะเล
 เกิดความแตกต่าง
ทางด้านอุดมการณ์
ทางการเมือง

ผลการปฏิวัติอุตสาหกรรมด้านอื่น ๆ
 บทบาทของสตรีภายหลังการปฏิวัติอุตสาหกรรม คือ การ
เริ่มจ้างสตรีเข้าทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมและอาชีพอื่น
ๆ ตามความรู้ความสามารถ ซึ่งมีผลทำให้สตรีเรียกร้อง
สิทธิเท่าเทียมกับชายในเวลาต่อมา นอกจากนีใ้ นการ
ปฏิวัติระยะแรก ยังมีการใช้แรงงานเด็กในการทำงาน ค่า
6

ครองชีพที่ต่ำ และการมีชีวิตความเป็ นอยู่ยากลำบากของกรรมกรโรงงาน


อีกด้วย
 การเปลี่ยนแปลงทางด้านการศึกษา ภายหลังการปฏิวัตฝรั่งเศสและ
สหรัฐอเมริกา ได้เกิดแนวคิดเรื่องสิทธิมนุษยชน (Human Right) และ
ความจำเป็ นในการปกครองรูปแบบรัฐสภา ซึ่งจะต้องอาศัยประชาชนที่มี
การศึกษา จึงมีการจัดตัง้ โรงเรียนของรัฐบาลขึน
้ ทำให้ประชาชนทั่วไปได้
มีโอกาสศึกษาเล่าเรียนอย่างเท่าเทียมกัน
 มีการจัดตัง้ สหภาพแรงงาน เพื่อเปิ ดโอกาสให้ผู้ใช้แรงงานสามารถใช้
สหภาพแรงงานเป็ นสื่อกลางในการแสดงความคิดเห็นทางการเมืองและ
เรียกร้องสิทธิต่าง ๆ ต่อรัฐบาลได้ ซึ่งเป็ นการลดความกดดันทางการเมือง
อย่างหนึ่ง
 ความก้าวหน้าด้านการสื่อสารและคมนาคม จากการมีระบบ
โทรคมนาคมรูปแบบใหม่ ทำให้มีการส่งข่าวสารถึงกันได้สะดวกมากขึน

นอกจากนีย
้ ังมีหนังสือพิมพ์ที่
สามารถเผยแพร่ข่าวสารได้อย่าง
รวดเร็ว ส่วนด้านคมนาคม รถยนต์
ได้เข้ามามีบทบาทแทนรถไฟ
เนื่องจากมีความคล่องตัวและ
สะดวก ต่อมาได้มีการเดินทางโดย
เครื่องบิน ซึง่ เร็วกว่ารถยนต์ ส่วน
การเดินทางที่สามารถบรรทุกน้ำหนักได้มากที่สุด คือ การเดินทางด้วย
การเดินเรือ
 ความแตกต่างในการดำรงชีพ ภายหลังการปฏิวัติอุตสาหกรรม ทำให้
การดำรงชีวิตเสรีภาพในการทำงานของประชาชนในทวีปยุโรปดีขน
ึ ้ แต่
ในทวีปอื่น ๆ ยังสภาพความเป็ นอยู่ไม่แตกต่างจากเดิมมากนัก
7

 การค้าระหว่างประเทศเป็ นไปอย่างกว้างขวาง เนื่องจากมีการเพิ่มการ


ผลิตมากขึน
้ ทำให้จำเป็ นต้องขยายตลาดการค้าออกไป เป็ นรูปแบบการ
ค้าระหว่างประเทศ และการขยายการลงทุน เช่น อังกฤษ อเมริกา
ฝรั่งเศส ได้ขยายกิจการค้าไปในทวีปเอเชียและแอฟริกา โดยเฉพาะในดิน
แดนอาณานิคมของตนเอง

ผลของการปฏิวัติอต
ุ สาหกรรมที่มีตอ
่ โลกปั จจุบัน

ในคริสต์ศตวรรษที่ 21 มีแนวโน้มการปฏิวัติเทคโนโลยีที่สำคัญ คือ


การปฏิวัติคอมพิวเตอร์ (Computer Revolution)และการปฎิวัติพันธุกรรม
(Genomic Revolution)และการนำพลังงานธรรมชาติและพลังงาน
หมุนเวียนมาใช้มากขึน
้ เพื่อทดแทนพลังงานที่ขาดหายไป เช่น แสงอาทิตย์
พลังงานลม พลังน้ำ
เทคโนโลยีที่ก้าวหน้าในคริสต์ศตวรรษที่ 21
 ด้านอิเลคทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ ไมโครคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ที่
ทำงานแบบสมองคน
 ด้านวัสดุศาสตร์ ใช้วัสดุจากธรรมชาติน้อยลง โดยใช้พลาสติกเข้ามา
แทนที่
 เทคโนโลยีชีวภาพ ทางด้านการแพทย์ การวิจัยด้านต่าง ๆ การเกษตร
และอุตสาหกรรม การใช้ DNA ในการแก้ไขปั ญหาต่าง ๆ การโคลนนิ่ง
การใช้ Stem Cell ในการรักษาทางการแพทย์
 ด้านพันธุวิศวกรรม (Genetic Engineering) เป็ นการตัดต่อยีนส์พืช
GMOs เช่น ข้าว มะละกอ มันฝรั่งเป็ นต้น
 เทคโนโลยีหุ่นยนต์คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีอวกาศ และดาราศาสตร์
8

 เทคโนโลยีเลเซอร์ ใช้ในการพิมพ์ การแพทย์ การบันเทิง อุตสาหกรรม


และการสื่อสาร

ปั ญหาที่เกิดจากการใช้เทคโนโลยีที่ก้าวหน้าในปั จจุบัน
 ปั ญหาสิ่งแวดล้อม ปฏิกิริยาเรือนกระจก (Greenhouse Effect) ภาวะ
โลกร้อน (Global worming) และโรคที่เกิดจากมลพิษสิ่งแวดล้อมและ
สารพิษตกค้าง เช่น โรคมินามาตะ และโรคอิไตอิไต
 ปั ญหาทางสังคม เรื่องคุณธรรม จริยธรรม
 ปั ญหาด้านการเมือง และการทหาร การใช้อาวุธชีวภาพ อาวุธนิวเคลียร์
9

นักปฏิวต
ั ิอุตสาหกรรม

วงการ นักประดิษฐ์ ผลงาน


ทอผ้า จอห์น เคย์  กีก
่ ระตุก ทำให้ทอผ้าเร็วกว่าเดิม 2 เท่า
เจมส์ ฮาร์กรีฟส์  เครื่องปั่ นด้าย Spinning Jenny
ริชาร์ด อาค์ไรท์  เครื่องปั่ นด้าย Water Frame ใช้กำลัง
เอ็ดมันด์ คาร์ต น้ำหมุนแทนแรงงานคน
ไรท์  เครื่องทอผ้า Powerloom
แซมมวล ครอมป์  เครื่องปั่ นด้าย Spinning Mule
ตัน
เครื่องจักร โทมัส นิวโคเมน  เครื่องสูบน้ำที่ใช้พลังงาน
ไอน้ำ เจม วัตต์  เครื่องจักรไอน้ำ
เหล็ก จอห์น สมีตัน  เครื่องแยกอากาศออกจากถ่านทำให้มี
ถ่านหิน เฮนรี่ คอร์ด ควันน้อยลง
 ทำถ่านหินบริสุทธิไ์ ม่มีควัน
เหล็กกล้า เฮนรี่ เบสสิมอร์  คิดวิธีการทำเหล็กกล้า
สื่อสาร ประเทศอังกฤษ  ระบบไปรษณีย์ Penny Post
โทรคมนา แซมมวล มอร์ส  โทรเลขไฟฟ้ า
คม เกรแฮม เบลล์  โทรศัพท์
รูดอล์ฟ เฮิร์ตซ์  คลื่นวิทยุ
คมนาคม จอร์ช สตีเฟนสัน  รถไฟ
ขนส่ง โรเบิร์ต ฟุลตัน  เรือกลไฟ
คาร์ล เบนซ์  รถยนต์
กอตเลียบ เดม  รถยนต์
เลอร์  รถยนต์
10

อี โอลด์ส  รถยนต์
เฮนรี่ ฟอร์ด  น้ำมันดีเซล
รูดอล์ฟ ดีเซล  ยางรถยนต์
ชาร์สล์ กู๊ดเยียร์  เครื่องบิน
สองพี่น้องตระ
กูลไรท์
การแพทย์ เอ็ดเวิร์ด เจน  วัคซีนป้ องกันไขทรพิษ
เนอร์  วิธีการฆ่าเชื่อโรคในการผ่าตัด
โจเซฟ ลิสเตอร์  ใช้เอ็นเย็บแผลที่ผ่าตัด
เจมส์ ยัง ซิมป์  ใช้คลอโรฟอร์มมาเป็ นยาสลบ
สัน  เซรุ่ม แก้พิษงูและพิษสุนข
ั บ้า
หลุยส์  วัคซีนป้ องกันโรคอหิวาต์
ปลาสเตอร์
ชีววิทยา เกรกเกอร์ เมน  บิดาแห่งพันธุกรรม
เดล  ทฤษฎีวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
ชาร์ลส์ ดาร์วิน  การปรับตัวของสิ่งมีชีวิต

You might also like