You are on page 1of 15

วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 มกราคม - มิถุนายน 2557

รัฐสยามกับล้านนา พ.ศ. 2417 – 24761


THE SIAMESE STATE AND LANNA, 1874 – 19331

เนื้ออ่อน ขรัวทองเขียว* จุฬิศพงศ์ จุฬารัตน์


Nuaon Khrouthongkhieo*, Julispong Chularatana

สาขาวิชาประวัติศาสตร์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


Department of History, Faculty of Arts, Chulalongkorn University, Thailand.

*Corresponding author, E-mail: lekkhrouthongkhieo@hotmail.com

บทคัดย่อ
งานวิจัยฉบับนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรัฐสยามและล้านนา พ.ศ. 2417–2476
ผลการศึ ก ษาพบว่ า การเปลี่ ย นแปลงความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งรั ฐ สยามกั บ ล้ า นนาจากรั ฐ ประเทศราช
มาเป็ น ส่ ว นหนึ่ งในพระราชอาณาเขตเป็ น กระบวนการหนึ่ ง ของการสร้ า งรั ฐ ชาติ โ ดยมี ปั จ จั ย สำ � คั ญ คื อ
การล่าลัทธิอาณานิคมของชาติตะวันตก แต่จากการปรับตัวของชนชั้นนำ�สยามในการเรียนรู้วิธีการจัดการ
ปกครองของเจ้าอาณานิคม ทำ�ให้รัฐสยามใช้วิธีการที่คล้ายคลึงกันนี้ผนวกล้านนาเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของรัฐ
วิธีการดังกล่าว ได้แก่ การออกกฎหมายและการบังคับใช้กฎหมาย การส่งข้าหลวงขึ้นไปกำ�กับราชการ
การเปลี่ยนแปลงการจัดเก็บภาษีอากรเพื่อนำ�มาใช้สร้างระบบราชการสยาม การทำ�แผนที่และสำ�มะโนครัว
พัฒนาการสื่อสารและการคมนาคมแบบสมัยใหม่ การวางรากฐานการศึกษาและควบคุมสถาบันสงฆ์
ส่งเสริมการเผยแพร่ศาสนาของมิชชันนารี โดยสยามได้นำ�วิธีการแบบรัฐจารีตมาใช้ควบคู่กันไป ได้แก่
การสร้างสายสัมพันธ์ทางเครือญาติกับเจ้าเมืองเชียงใหม่
ผลจากการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทำ�ให้
เกิดปฏิกิริยาต่อต้านจากกลุ่มอำ�นาจท้องถิ่นทั้งการจับอาวุธขึ้นสู้ในลักษณะของกบฏและการใช้ความเชื่อ
ดั้งเดิมเป็นพลังทางสังคมเพื่อต่อต้านอำ�นาจของสยาม นอกจากนี้ความรู้สึกแบ่งแยกระหว่างไทยเหนือ
และไทยใต้ และความหลากหลายทางชาติ พั น ธุ์ ทำ �ให้ ล้ า นนายั ง คงขาดความจงรั ก ภั ก ดี ต่ อ สยาม
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงปรับเปลี่ยนโยบายการปกครองล้านนาใหม่ให้แตกต่างไปจาก
สมั ย ก่ อ นหน้ า อย่ า งชั ด เจนโดยใช้ ลั ท ธิ ช าติ นิ ย มของตะวั น ตกผ่ า นสิ่ ง พิ ม พ์ การจั ด การศึ ก ษา และกิ จ กรรม
เสือป่า เพื่อปลูกฝังให้คนล้านนารู้สึกถึงความเป็นไทยร่วมกันกับส่วนกลาง รวมทั้งมีนโยบายดูแลทุกข์สุข
และการทำ�มาหากินของราษฎร และเพิ่มความสัมพันธ์ทางการค้าระหว่างกรุงเทพฯ และล้านนา อีกทั้งการเสด็จ
ประพาสมณฑลพายัพของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นการย้ำ�ให้คนล้านนาเห็นว่าอำ�นาจสูงสุด
ในการปกครองอยู่ที่กษัตริย์สยามมิใช่บรรดาเจ้านายอีกต่อไป

คำ�สำ�คัญ: รัฐสยาม ล้านนา รัฐชาติ พ.ศ. 2417–2476

ส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์จุฬาลงกรณ์


1

มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2553

63
วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 มกราคม - มิถุนายน 2557

Abstract
This research examines the relationships between the Siamese state and Lanna from
1874 to 1933. The outcomes of the research show that the change of Lanna’s status as
Siam dependency into that as an integral part of the Siamese kingdom was part of the process
of Siamese nation state building and resulted from western colonialism. However learning and
adapting colonial management from the western colonizers themselves, the Siamese state
applied the similar methods to annex Lanna into it. These methods include legislation and law
enforcement; administration by commissioners from the center; revenue collection to serve the
establishment of Siamese bureaucracy in Lanna; mapping and consensus; modern communication
and transportation, control of education and monastic institutions, and promotion of missionary
work. Parallelly, Siam still maintained the traditional method of forging kinship with the ruling
elite of Chieng Mai. The changes in the Siamese–Lanna relation during the reign of King
Chulalongkorn resulted in the resistance from the local power in the form of violence rebellion and
the use of traditional beliefs to counter Siam’s influence. Furthermore, there were the emotional
divide between Northern Thai and Southern Thai as well as the lack of loyalty to Siam among
diverse ethnics in Lanna. Consequently, King Vajiravudh formulated a the different policy for the
administration of Lanna. The Siamese tried to introduce the sense of being Thai to the Lanna
people through printed media, education, and “Sua Pa” Scout activities. It also began to care
for the social and economic life of the Lanna people as well as to increase the trade relations
between Bangkok and Lanna. Last but not least, the royal visit of King Prachatipok to Monthon
Phayap demonstrated to the people of Lanna the supreme power of the Siamese King which
had replaced that of the Lanna ruling elite.

Keywords: Siamese State, Lanna, Nation–State, 1874–1933

บทนำ� ไทยนั้ น เล่ า ถึ ง แม้ จ ะมี ค นแก่ เ ฒ่ า คิ ด ว่ า เป็ นไทย


“...นครเชี ย งใหม่ เ คยเป็ น เอกราชมี อิ ส ระมา เหนื อ และไทยใต้ อ ยู่ บ้ า งก็ ต าม แต่ ค นส่ ว นมาก
แต่โบราณ แต่ถ้าดูตามประวัติศาสตร์อย่างละเอียด ไม่ได้ถืออย่างนั้นเลย ต่างก็รู้สึกตัวว่าเป็นไทยแท้
แล้ ว พลเมื อ งคงเป็ น ชาติ ไ ทยอย่ า งเดี ย วกั น เป็นของประเทศสยาม มีความรักชาติไม่ยิ่งหย่อน
หาได้ เ ป็ น ลาวอย่ า งบางคนเข้ าใจไม่ คื อ ต่ า งเป็ น กว่าคนไทยในภาคอื่นๆ...”[1]
คนไทยนั่ น เอง แต่ ห ากต่ า งฝ่ า ยต่ า งแยกกั น อยู่ ถ้ อ ยคำ � ดั ง กล่ า วเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของปาฐกถา
นานเข้าภาษาที่พูดและขนบธรรมเนียมประเพณี ท า ง วิ ท ยุ ก ร ะ จ า ย เ สี ย ง ข อ ง ผู้ แ ท น ร า ษ ฎ ร
ก็ต่างกันไปบ้างและพลเมืองเชียงใหม่หาได้เข้าใจว่า จังหวัดเชียงใหม่เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2477
ตัวเป็นลาวไม่ คงถือตัวว่าเป็นชาติไทยอยู่ตลอด เป็ น การแนะนำ � จั ง หวั ด และพลเมื อ งของตนผ่ า น
มา ยิ่ ง ในเวลานี้ ถ้ า มี ผู้ ใ ดเรี ย กขานเขาว่ า เป็ น วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย งซึ่ ง เป็ น เทคโนโลยี ส มั ย ใหม่
ลาว เขาจะมี ค วามน้ อ ยใจเป็ น ที่ สุ ด เพราะเขา ที่สยามเพิ่งนำ�เข้ามาในต้นทศวรรษที่ 2480 ทำ�ให้
ถือตัวว่าเป็นไทยแท้หรือไทยเดิมเป็นต้นสกุลไทย คนต่างพื้นที่ได้รับรู้ข่าวสารร่วมกัน
ในภาคอื่ น ๆ...ส่ ว นความรู้ สึ ก ของประชาชนชาติ

64
วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 มกราคม - มิถุนายน 2557

หลั ง จากสยามเปลี่ ย นแปลงการปกครอง หนึ่ ง ปั จ จั ย จากอาณานิ ค มตะวั น ตกนั้ น


จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบ ไม่ ไ ด้ เ ป็ น เพี ย งการคุ ก คาม แต่ ไ ด้ ก ลายเป็ น
ประชาธิปไตยเมื่อ พ.ศ. 2475 สิ่งที่คณะราษฎร ต้นแบบทั้งในด้านแนวคิดและวิธีการซึ่งชนชั้นนำ�
ให้ ค วามสำ � คั ญ อย่ า งมากคื อ การที่ ส ยามต้ อ งเป็ น สยามนำ�มาปรับใช้กับล้านนา ทั้งนี้ผู้วิจัยให้ความ
อั น หนึ่ ง อั น เดี ย วกั น แบ่ ง แยกมิ ไ ด้ แม้ ว่ า จั ง หวั ด สำ � คั ญ กั บ การเสด็ จ ประพาสต่ า งประเทศของ
เชี ย งใหม่ ซึ่ ง เป็ น เมื อ งสำ � คั ญ ของล้ า นนาได้ รั บ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวระหว่าง
การผนวกเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของสยามตั้งแต่รัชสมัย พ.ศ. 2413–2415 เนื่ อ งจากเป็ น เหตุ ก ารณ์
พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว ที่ เ กิ ด ขึ้ น ก่ อ นที่ จ ะมี ก ารลงนามในสนธิ สั ญ ญา
แต่ยังคงมีความรู้สึกแบ่งแยกระหว่างไทยและลาว เชียงใหม่ฉบับที่ 1 ใน พ.ศ. 2417 ซึ่งนับเป็น
หรือไทยใต้กับไทยเหนือ ซึ่งเป็นอุปสรรคสำ�คัญต่อการ ก้ า วแรกของการเปลี่ ย นแปลงความสั ม พั น ธ์
รวมชาติ จนกระทั่งการเปลี่ยนแปลงการปกครอง จากรั ฐ ประเทศราชมาสู่ ก ารปกครองแบบพระ
ใน พ.ศ. 2475 คณะราษฎรยั ง คงระแวงว่ า ราชอาณาเขต การเปลี่ ย นแปลงแนวคิ ด ด้ า น
ล้านนาหรือมณฑลพายัพในขณะนั้นอาจแยกตัวเป็น ความสั ม พั น ธ์ ดั ง กล่ า วสยามได้ เ ลี ย นแบบวิ ธี คิ ด
อิ ส ระจึ งได้ มี ก ารเชิ ญ ตั ว เจ้ า แก้ ว นวรั ฐ เจ้ า เมื อ ง ของอังกฤษซึ่งเป็นเจ้าอาณานิคมในขณะนั้น โดยมอง
เชี ย งใหม่ ล งมาที่ ก รุ ง เทพฯ โดยมี ค ณะราษฎร ว่าการดำ�รงอยู่แบบรัฐจารีตของล้านนาเป็นความ
ทั้ ง คณะให้ ก ารต้ อ นรั บ ที่ ส ถานี ร ถไฟหั ว ลำ � โพง ล้าหลังป่าเถื่อน ด้วยวิธีคิดดังกล่าวทำ�ให้สยามต้อง
และส่งตำ�รวจอารักขาเนื่องจากมีข่าวลือว่าเชียงใหม่ ปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดิน และแข่งขันกับ
ไม่ยอมขึ้นกับกรุงเทพฯ [2] การกระทำ�ดังกล่าว เจ้าอาณานิคมในการผนวกล้านนาเข้ามาเป็นส่วน
แสดงให้เห็นว่านโยบายทางการปกครองที่รัฐสยาม หนึ่งของรัฐ
ใช้ กั บ ล้ า นนาตั้ ง แต่ ท ศวรรษที่ 2420–2480 สอง การกำ � เนิ ด รั ฐ แบบใหม่ ที่ มี ลั ก ษณะ
สยามเองก็ ยั งไม่ แ น่ ใ จว่ า ล้ า นนาจะถู ก กลื น เข้ า สู่ ก า ร บ ริ ห า ร แ บ บ ร ว ม ศู น ย์ เ ช่ น ส ย า ม ใ น ต้ น
รัฐสยามได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่ พุทธศตวรรษที่ 25 นี้ จำ�เป็นต้องใช้วิธีการบางอย่าง
ทั้ ง นี้ เนื่ อ งมาจากในอดี ต ล้ า นนาเคยเป็ น ในการสลายอำ � นาจท้ อ งถิ่ นเพื่ อ ดึ ง เอาทรั พ ยากร
ดิ น แ ด น ที่ เ ป็ น อิ ส ร ะ แ ล ะ มี ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ และผู้ ค นมาเป็ น ของรั ฐ ส่ ว นกลาง กรณี ข อง
ความเป็นมาที่ยาวนานของตนเอง ในช่วงที่ล้านนา ล้านนาที่มีรูปแบบการปกครองและระบบเศรษฐกิจ
ถู ก ผนวกเข้ า มาเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของรั ฐ สยามนี้ เป็นของตนเอง สยามใช้วิธีผสมกันระหว่างวิธีการ
เป็ น ช่ ว งเวลาสำ � คั ญ ในกระบวนการเปลี่ ย นผ่ า น ของเจ้ า อาณานิ ค มและธรรมเนี ย มแบบรั ฐ จารี ต
จากความสั ม พั น ธ์ แ บบรั ฐ จารี ต มาสู่ รั ฐ สมั ย ใหม่ วิ ธี ก ารของเจ้ า อาณานิ ค มได้ แ ก่ ก ารบั ง คั บ ใช้
ซึ่ ง มี ลั ก ษ ณ ะ ก า ร บ ริ ห า ร แ บ บ ร ว ม ศู น ย์ โ ด ย มี สนธิ สั ญ ญา การออกกฎหมายและบั ง คั บ ใช้
ปัจจัยสำ � คั ญ จากอาณานิ ค มตะวั น ตก งานศึ ก ษา กฎหมายจากส่วนกลาง การตั้งตำ�แหน่งที่เรียกว่า
ประวัติศาสตร์ล้านนาส่วนใหญ่มักอธิบายว่าปัจจัย “ข้าหลวง” เป็นการถาวรประจำ�ที่เมืองสำ�คัญๆ
จากอาณานิ ค มตะวั น ตกเป็ น “การคุ ก คาม” ในล้ า นนาเพื่ อ ควบคุ ม ดู แ ลผลประโยชน์ ข องตน
จนทำ � ให้ รั ฐ สยามต้ อ งเร่ ง ผนวกล้ า นนาเข้ า มา โดยมีเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลาง การทำ�แผนที่
เป็นส่วนหนึ่งของรัฐ [3] โดยสามารถทำ�ได้สำ�เร็จ เพื่ อ ประกาศเขตแดนแข่ ง ขั น กั บ เจ้ า อาณานิ ค ม
ภายหลั ง การสถาปนาระบบมณฑลเทศาภิ บ าล การดึ ง อำ � นาจการจั ด เก็ บ ภาษี เ พื่ อ นำ � มาเลี้ ย ง
ใน พ.ศ. 2442 และการปราบกบฏเงี้ยวเมืองแพร่ ระบบข้าราชการสยาม ฯลฯ วิธีการตามธรรมเนียม
ใน พ.ศ. 2445 การอธิบายในลักษณะดังกล่าว แบบรัฐจารีตคือ การสู่ขอเจ้านายชั้นสูงมาอยู่ใน
ผู้วิจัยตั้งข้อสังเกตไว้ดังนี้

65
วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 มกราคม - มิถุนายน 2557

ราชสำ�นักสยามและการประกาศตนเป็นผู้มีบารมี ใช้ลัทธิชาตินิยม [7] ดังที่ อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์


เหนื อ กว่ า โดยการอุ ป ถั ม ภ์ พ ระพุ ท ธศาสนา ตั้งข้อสังเกตไว้ว่าแนวคิดของรัฐที่มีต่อประชากร
โดยวิ ธี ก ารที่ ส ยามใช้ ผ นวกล้ า นนานี้ ง านศึ ก ษา ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ส่ ว นใหญ่ มุ่ ง อธิ บ ายขั้ น ตอนและวิ ธี ก ารทางด้ า น เปลี่ ย นไปจากเดิ ม คื อให้ ค วามสำ � คั ญ กั บ “คน”
การจัดการปกครอง ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้น ในฐานะหน่วยการผลิตที่สามารถเพิ่มรายได้ให้กับ
รวมทั้งผลสำ�เร็จของการจัดการ [4] ในงานศึกษา รัฐ ดังนั้นจึงมีการนำ�เอาแนวคิดเรื่องชาติและหน้าที่
ชิ้ น นี้ ผู้ วิ จั ย จึ ง ต้ อ งการนำ � เสนอให้ เ ห็ น ว่ า วิ ธี ก าร ของคนในชาติมาใช้เพื่อสร้างการรวมชาติ [8]
เหล่ า นั้ น สั ม พั น ธ์ กั บ วิ ธี ก ารของเจ้ า อาณานิ ค ม ดั ง ที่ ก ล่ า วไปแล้ ว ว่ า ภาพของการผนวก
โดยสยามนำ�มาปรับใช้ผสมกับวิธีการแบบรัฐจารีต ล้านนาเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของรัฐสยามในสมัยของ
ซึ่ ง เป็ น ประเด็ น ที่ ยั งไม่ มี ก ารศึ ก ษาและวิ เ คราะห์ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวดูจะเป็น
อย่างชัดเจนมาก่อน ไปอย่างราบรื่น แต่ในความเป็นจริงยังมีอุปสรรค
สาม งานศึ ก ษาส่ ว นใหญ่ ม องว่ า ภายหลั ง บางประการในการจัดการปกครอง ตัวอย่างเช่น
การปฏิ รู ป การปกครองด้ ว ยการจั ด ตั้ ง มณฑล ใน พ.ศ. 2456 มีความวุ่นวายเกี่ยวกับคนกลุ่มน้อย
เทศาภิ บ าลในล้ า นนาตั้ ง แต่ พ.ศ. 2442 ใ น ล้ า น น า ก ร ณี เ จ้ า พ ม่ า ชื่ อ เ ม่ ง กุ น ก ล่ อ ม
และภายหลังการปราบกบฏเงี้ยวใน พ.ศ. 2445 ชาวพม่าในล้านนาให้เข้ายึดโรงพักในเมืองเชียงใหม่
ล้ า นนาได้ เ ข้ า มาเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของรั ฐ สยาม เพื่ อ รวบรวมอาวุ ธ และกำ � ลั ง คนใช้ ขั บไล่ อั ง กฤษ
โดยสมบูรณ์ และนโยบายในการจัดการปกครอง ในพม่ า กรณี ดั ง กล่ า วกงสุ ล อั ง กฤษได้ กำ � ชั บให้
ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ฝ่ายสยามดูแล แม้ว่าเหตุการณ์ดังกล่าวไม่ได้เกิด
และพระบาทสมเด็ จ พระปกเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว แทบ ขึ้นจริง แต่ก็พบหลักฐานเป็นเอกสารพิมพ์แจกจ่าย
จะไม่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงไปจากสมั ย พระบาท ใ ห้ กั บ บ ร ร ด า พ่ อ ค้ าไ ม้ ช า ว พ ม่ าใ น ล้ า น น า
สมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว [5] แต่ จ าก รวมทั้งมีข่าวว่ามีการเกลี้ยกล่อมให้เจ้าเมืองลำ�พูน
ก า ร ศึ ก ษ า ข้ อ มู ล เ บื้ อ ง ต้ น พ บ ว่ า แ น ว คิ ด เข้าร่วมด้วย [9] จากเหตุการณ์ดังกล่าวเห็นได้ว่า
และวิธีการของรัฐสยามในสมัยดังกล่าวเปลี่ยนไป การปฏิรูปล้านนาที่ผ่านมาเป็นการได้มาซึ่งพื้นที่
เนื่ อ งจากการปฏิ รู ป ในสมั ย พระบาทสมเด็ จ และอำ � นาจในการบริ ห ารเท่ า นั้ น ในขณะที่ ค น
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้นเป็นการปรับโครงสร้าง หลากหลายชาติพันธุ์ในล้านนายังไม่มีความรู้สึก
การปกครองของรั ฐ ให้ เ ป็ น รั ฐ สมั ย ใหม่ ที่ เ รี ย ก เป็นชาติไทยร่วมกันกับส่วนกลาง
ว่ า รั ฐ สมบู ร ณาญาสิ ท ธิ์ [6] ทำ � ให้ ไ ด้ ม าซึ่ ง ตั ว อย่ า งอี ก ประการหนึ่ ง ได้ แ ก่ ร ายงานการ
“พื้นที่” และ “อำ�นาจการบริหาร” แต่สำ�หรับ เสด็ จ ตรวจราชการของกรมหลวงพิ ษ ณุ โ ลก
คนยังคงขาด “จิตสำ�นึกร่วมชาติ” ดังพระราชดำ�ริ ประชานาถ ซึ่งเสด็จขึ้นไปตรวจราชการมณฑล
ของพระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล้ า เจ้ า อยู่ พายัพ พ.ศ. 2461 ทรงบันทึกไว้ว่า “...ในส่วนทาง
หั ว ที่ ว่ า การปฏิ รู ป ต่ า งๆ ที่ พ ระบาทสมเด็ จ ราชการนั้นห้ามมิให้มีการใช้คำ�ว่า ลาว ให้เรียก
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทำ�ไว้นั้นเป็นเพียงการ ไทยเพราะต้ อ งการจู งใจให้ ค นพายั พ รู้ สึ ก ว่ า เป็ น
ปฏิ รู ป โครงสร้ า งทางด้ า นการปกครองให้ ดี ขึ้ น ส่ ว นหนึ่ ง ของชาติ เลิ ก เป็ น ประเทศราชเท่ า กั บ
เท่านั้น แต่มิได้แก้ปัญหาการขาดความร่วมมือกัน โคโลนี ข องฝรั่ ง นั้ น เสี ย ...” [10] (ขี ด เส้ นใต้ โ ดย
ระหว่ า งรั ฐ บาลกั บ ประชาชน และระหว่ า ง ผู้วิจัย) ผู้วิจัยตั้งข้อสังเกตว่าวิธีคิดของกรมหลวง
ประชาชาชนด้วยกันเอง สมัยของพระองค์จึงมีนโยบาย พิ ษ ณุ โ ลกประชานาถมองระบบประเทศราชว่ า
สร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในสังคมโดยการ เท่ากับระบบอาณานิคม ในขณะที่วิธีการที่รัฐสยาม

66
วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 มกราคม - มิถุนายน 2557

ปฏิบัติต่อล้านนาดูจะคล้ายคลึงกับระบบอาณานิคม ส่วนหนึ่งของรัฐเพราะในสมัยของพระองค์ยังคงมี
ของตะวันตกมากกว่ากลับถูกมองว่าเป็นการสร้าง ความพยายามเปลี่ยนคนล้านนาให้เป็นไทย [12]
ความเป็นหนึ่งเดียวของชาติ และพยายามลบภาพความเป็น “ลาว” ออกจาก
จากตัวอย่างดังกล่าวเห็นได้ว่าหลังจากที่ล้านนา คนล้านนาในการรับรู้ของคนสยาม [13] จากตัวอย่าง
เข้าสู่ระบอบเทศาภิบาลราว 15 ปี ปัญหาที่เกิดขึ้น ดังกล่าวผู้วิจัยจึงต้องการชี้ให้เห็นว่าแนวคิดของ
คือ การขาดความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของ รัฐสยามในการผนวกล้านนาเข้ามาเป็นส่วนหนึ่ง
คนในชาติ ไม่ว่าจะเป็นความรู้สึกของข้าราชการ ของรั ฐ มี ค วามต่ า งออกไปในแต่ ล ะช่ ว งเวลา
สยามที่ถูกส่งไปจากส่วนกลางและความรู้สึกของ ซึ่งส่งผลต่อวิธีดำ�เนินการที่ต่างกันออกไป
คนล้านนาที่มีต่อข้าราชการสยาม ดังนั้นในรัชสมัย สี่ งานศึกษาประวัติศาสตร์ล้านนาส่วนใหญ่
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงต้องมี มักกล่าวถึงปฏิกิริยาการแสดงออกถึงความไม่พอใจ
นโยบายบางอย่างเพื่อขจัดความรู้สึกแบ่งแยกเหล่านี้ ในการที่รัฐสยามเข้าไปจัดการปกครองในล้านนา
ซึ่งเป็นที่มาของลัทธิชาตินิยมในสมัยของพระองค์ ในรูปของกบฏครั้งสำ�คัญๆ เช่น กบฏของพระยา
โดยทั่วไปงานศึกษาลัทธิชาตินิยมในรัชสมัย ผาบสงครามใน พ.ศ. 2435 กบฏเงี้ยวเมืองแพร่
ของพระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว พ.ศ. 2445 โดยมักอธิบายถึงสาเหตุของกบฏ
มักได้รับการอธิบายว่าเป็นสิ่งที่ผลิตขึ้นมาเพื่อต่อต้าน เงี้ยวว่าเกิดจากการที่เจ้านายล้านนาสูญเสียอำ�นาจ
คนจีน ในกรณีของล้านนาเชื่อว่าแนวคิดดังกล่าวมี ทางเศรษฐกิจ [14] ในที่นี้ผู้วิจัยเสนอเพิ่มเติมว่า
ผลในทางปฏิบัติเช่นกัน ตัวอย่างจากรายงานของ กบฏเงี้ยวที่เกิดขึ้นนั้นมิได้มีอยู่เฉพาะในเมืองแพร่
พระยาศึกษาสมบูรณ์ที่ขึ้นไปตรวจราชการมณฑล พ.ศ. 2445 เท่านั้น แต่มีความต่อเนื่องในหัวเมืองอื่นๆ
พายัพใน พ.ศ. 2456 ได้สรุปสภาพความเป็นไป เช่น เมืองเชียงราย เมืองเชียงของ ใน พ.ศ. 2448
เกี่ ย วกั บ งานด้ า นการศึ ก ษาไว้ ว่ า “...ระเบี ย บ และเป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ชี้ให้เห็นถึงความหลากหลาย
การสอนและการโรงเรี ย นยั ง อ่ อ นอยู่ ม ากเพราะ ของกลุ่มชาติพันธุ์ในล้านนาที่การปฏิรูปโครงสร้าง
ขาดคนทำ� ครู ตลอดจนถึงเจ้าหน้าที่ก็ยังไม่ใคร่ การปกครองของรัฐสยามไม่สามารถเข้าถึงได้
เหมาะ ที่บกพร่องเป็นข้อสำ�คัญนั้นคือการขาดการ อีกประการหนึ่งที่สำ�คัญคือผู้วิจัยตั้งข้อสังเกตว่า
สอนให้เป็นไทยได้จริงๆ คือยังไม่ทราบว่าใครเป็น การแสดงออกถึ ง ความไม่ พ อใจของคนล้ า นนา
เจ้ า อั น สู ง สุ ด และควรปฏิ บั ติ อ ย่ า งไรต่ อ ท่ า น...” ไม่ได้ปรากฏในรูปของกบฏเสมอไป แต่ยังแสดงออก
[11] (ขีดเส้นใต้โดยผู้วิจัย) แสดงให้เห็นว่า แม้ใน ในรูปแบบอื่นๆ ตัวอย่างเช่น
รั ช สมั ย ของพระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล้ า เจ้ า อยู่ - กรณี ค รู บ าศรี วิ ชั ย นั บ เป็ น ความขั ด แย้ ง
หั ว ความเข้ าใจของคนล้ า นนาทั่ วไปยั งไม่ แ น่ ใ จ ระหว่างแนวคิดแบบดั้งเดิมทางพุทธศาสนาของคน
ว่ า จะต้ อ งเคารพใครว่ า มี อำ � นาจสู ง สุ ด ระหว่ า ง ล้านนากับแนวคิดในการรวมศูนย์อำ�นาจเพื่อเสริม
เจ้ า ผู้ ค รองนครหรื อ พระมหากษั ต ริ ย์ ข องสยาม อุดมการณ์แบบรัฐชาติโดยรัชสมัยพระบาทสมเด็จ
จากตั ว อย่ า งคำ � รายงานนี้ ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ว่ าโครงสร้ า ง พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้มีการตราพระราช-
การปกครองและระบบราชการแบบใหม่ที่รัฐสยามได้ บัญญัติการปกครองสงฆ์ ร.ศ.121 (พ.ศ. 2445)
สถาปนาขึ้นนั้นยังไม่สามารถเข้าถึงคนได้ทุกระดับ โดยมุ่ ง เน้ น ว่ า “ทุ ก วั น นี้ ก ารปกครองข้ า งฝ่ า ย
จนกระทั่ ง รั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระปกเกล้ า พระราชอาณาจั ก ร ก็ ไ ด้ ท รงพระราชดำ � ริ แ ก้ ไ ข
เจ้าอยู่หัวผลของการผนวกล้านนาที่ดำ�เนินมาอย่าง และจั ด ตั้ ง แบบแผนการปกครองให้ เ รี ย บร้ อ ย
ต่อเนื่องถึง 2 รัชกาลน่าจะสำ�เร็จด้วยดี แต่พบว่า เจริ ญ ดี ขึ้ น กว่ า แต่ ก่ อ นเปนหลายประการแล้ ว
ยั ง มี อุ ป สรรคในการรวมคนล้ า นนาเข้ า มาเป็ น และฝ่ า ยพุ ท ธจั ก รนั้ น การปกครองสงฆมณฑล

67
วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 มกราคม - มิถุนายน 2557

ย่อมเป็นการสำ�คัญทั้งในประโยชน์แห่งพระศาสนา เล่าเรียนจนสอบได้เปรียญ 4 ประโยค และเดินทาง


และประโยชน์ในความเจริญของพระราชอาณาจักร กลับเชียงใหม่ใน พ.ศ. 2439 ประจำ�อยู่ที่วัดเจดีย์
ด้วย...” [15] พระราชบัญญัติดังกล่าวเป็นการ หลวง ซึ่งต่อมาวัดดังกล่าวได้กลายเป็นศูนย์กลาง
เปลี่ ย นแปลงโครงสร้ า งการปกครองสงฆ์ ใ หม่ การเผยแพร่ของพระสงฆ์ฝ่ายธรรมยุตินับตั้งแต่นั้น
ซึ่งเป็นการรวมศูนย์อำ�นาจให้ขึ้นกับมหาเถรสมาคม [16] ผู้วิจัยตั้งข้อสังเกตว่าธรรมยุติกนิกายในสมัยนี้
เมื่ อ มี ก ารประกาศใช้ ใ นล้ า นนาจึ ง มี ป ฏิ กิ ริ ย า ได้กลายเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งของรัฐในการสลาย
แสดงออกถึงการไม่ยอมรับพระราชบัญญัตินี้ กรณี อำ�นาจท้องถิ่นในอีกรูปแบบหนึ่ง ดังนั้นการขยาย
ของครู บ าศรี วิ ชั ย เป็ น ตั ว อย่ า งของความขั ด แย้ ง ตัวของธรรมยุติกนิกายเข้าไปในล้านนาจึงเป็นอีก
ที่เห็นได้อย่างชัดเจน ประเด็นหนึ่งที่ควรวิเคราะห์เพิ่มเติม
อนึ่ ง พระราชบั ญ ญั ติ ลั ก ษณะปกครอง กรณีการก่อตัวของกระแสไทยเหนือ–ไทยใต้
คณะสงฆ์ ร.ศ.121 นอกเหนื อไปจากการมุ่ ง จั ด และคนเมือง มีนักวิชาการตั้งข้อสังเกตว่าการที่
ระเบี ย บการปกครองคณะสงฆ์ ใ ห้ ขึ้ น กั บ ส่ ว นกลาง คนล้านนาเรียกตนเองว่าเป็น “คนเมือง” เป็นอีก
แล้ ว ยั ง เป็ น หนึ่ งในวิ ธี ก ารเปลี่ ย นแปลงรากฐาน ปฏิกิริยาหนึ่งของความไม่พอใจของคนล้านนาที่มี
ของสังคมล้านนาที่สำ�คัญโดยเฉพาะสถาบันสงฆ์ ต่อรัฐสยาม [17] เนื่องจากรัชสมัยพระบาทสมเด็จ
และระบบการศึ ก ษา ภายหลั ง จากพระบาท พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คนล้านนาถูกเรียกว่า
สมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว กลั บ จากการ “ลาว” ซึ่งคำ�เรียกดังกล่าวมีนัยยะการดูถูกร่วมด้วย
เสด็จประพาสยุโรปใน พ.ศ. 2440 ทรงมองเห็น จ า ก ก า ร ที่ รั ฐ ส ย า ม ส่ ง ข้ า ห ล ว ง ขึ้ น ม า ช่ ว ย
ความจำ � เป็ น เร่ ง ด่ ว นในการปฏิ รู ป การศึ ก ษา ชำ�ระคดีความที่เกี่ยวกับคนในบังอังกฤษเป็นครั้งแรก
พระองค์ ไ ม่ ท รงพอพระทั ย งานของกระทรวง ใน พ.ศ. 2417 พระนรินทรราชเสนี ปลัดบัญชี
ธรรมการ ดังนั้นจึงมอบหมายงานด้านการศึกษา กรมพระกลาโหม ถูกส่งมาเป็นข้าหลวงสามหัวเมือง
ในเขตท้องถิ่นต่างๆ ให้คณะสงฆ์รับไปดำ�เนินงาน ซึ่งได้แก่ เมืองเชียงใหม่ เมืองลำ�ปาง และเมือง
ทำ�ให้สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมหมื่นวชิรญาณ ลำ�พูน รัฐสยามเรียกหัวเมืองทั้งสามว่า “หัวเมือง
วโรรสทรงรวมคณะสงฆ์ และจัดองค์กรใหม่ด้วย ลาวเฉียง” พระนรินทรราชเสนีจึงดำ�รงตำ�แหน่ง
อำ � นาจของกฎหมาย การที่ พ ระสงฆ์ ล้ า นนา “ข้าหลวงประจำ�หัวเมืองลาวเฉียง” ดังนั้นผู้คนใน
เคยมีบทบาทในการเป็นผู้นำ�ชุมชนและจิตวิญญาณ ล้านนาจึงกลายเป็น “คนลาวเฉียง” อย่างเป็นทางการ
ร ว ม ทั้ ง มี ห น้ า ที่ ถ่ า ย ท อ ด ค ว า ม รู้ ทั้ ง โ ล ก ผู้วิจัยเสนอว่าปฏิกิริยาการแบ่งแยกของคนพื้นเมือง
และทางธรรมอย่างอิสระภายใต้ระบบ “หัวหมวดวัด” ที่เรียกตนเองว่าเป็นไทยเหนือและเรียกคนกรุงเทพฯ
และ “หมวดอุโบสถ” เมื่อองค์กรสงฆ์ในล้านนา ว่ า เป็ นไทยใต้ นี้ เ กิ ด ขึ้ นในช่ ว งเวลาที่ รั ฐ สยามขึ้ น
ถูกปรับโครงสร้างใหม่และได้รับการกำ�หนดบทบาท ไปผนวกล้ า นนาเข้ า มาเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของรั ฐ
ให้มีหน้าที่ต่างไปจากเดิมจนทำ�ให้สถานภาพของ และการเรียกตนเองของคนล้านนาว่า “คนเมือง”
พระสงฆ์เปลี่ยนแปลงไปจนเกิดปฏิกิริยาดังกล่าว นี้ เ ป็ น การตอบโต้ ก ารถู ก เรี ย กอย่ า งดู ถู ก ว่ า เป็ น
ที่น่าสนใจอีกประการหนึ่งคือ การขยายตัว “ลาว” การศึ ก ษาที่ ม าของคำ � เรี ย กดั ง กล่ า วจึ ง มี
ของธรรมยุ ติ ก นิ ก ายเข้ า สู่ ล้ า นนา โดยพบว่ า ความน่าสนใจเช่นกัน
ช่วงเวลาที่กรมหมื่นพิชิตปรีชากร ข้าหลวงพิเศษ กรณี พ ระราชชายาเจ้ า ดารารั ศ มี การที่
ต่ า งพระองค์ ทรงขึ้ น ไปจั ด ราชการในล้ า นนา พระองค์ ท รงรั ก ษาเอกลั ก ษณ์ ค วามเป็ น ล้ า นนา
พ.ศ. 2427 ทรงส่งสามเณรคำ�ปิงมาศึกษาที่กรุงเทพฯ แม้ เ มื่ อ ประทั บ อยู่ ใ นพระบรมมหาราชวั ง เช่ น
โดยบวชแปลงเป็ น ธรรมยุ ติ ก นิ ก าย เมื่ อ ศึ ก ษา การพูดภาษาพื้นเมือง การแต่งกาย การทรงดนตรี

68
วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 มกราคม - มิถุนายน 2557

แบบพื้ น เมื อ ง ฯลฯ ผู้ วิ จั ย เสนอว่ า สิ่ ง เหล่ า นี้ คื อ อาณานิคมตะวันตกทำ�ให้รัฐสยามต้องเร่งเปลี่ยน


ปฏิกิริยาที่พระองค์ทรงแสดงออกถึงความไม่พอใจ ความสัมพันธ์จากรัฐประเทศราชมาเป็นส่วนหนึ่ง
ต่ อ การปฏิ รู ป ล้ า นนา แม้ ว่ า จะไม่ ใ ช่ ป ฏิ กิ ริ ย า ในพระราชอาณาเขต โดยสยามได้ปรับใช้แนวคิด
จากคนล้ า นนาในพื้ น ที่ โ ดยตรงแต่ แ สดงให้ เ ห็ น และวิธีการของเจ้าอาณานิคมผสมกับวิธีการแบบ
ความเป็ น ตั ว แทนของคนล้ า นนาที่ เ ข้ า มาอยู่ ใ น รั ฐ จารี ต เพื่ อ สลายอำ � นาจท้ อ งถิ่ น ด้ ว ยการดึ ง เอา
ศูนย์กลางอำ�นาจ งานศึกษาเกี่ยวกับพระราชชายา คนและทรั พ ยากรให้ เ ป็ น ของรั ฐ ส่ ว นกลาง
เจ้าดารา-รัศมีโดยทั่วไปมักอธิบายว่าการที่พระองค์ และสร้างระบบราชการให้เป็นเครื่องมือในการรวม
เข้ามาถวายงานในกรุงเทพฯ เป็นการเชื่อมความ ศูนย์อำ�นาจของรัฐ ในงานวิจัยชิ้นนี้ผู้วิจัยต้องการ
สั ม พั น ธ์ อั น ดี ร ะหว่ า งสยามกั บ ล้ า นนา และการ นำ�เสนอให้เห็นถึงแนวคิดและวิธีการของรัฐสยาม
ดำ�เนินกลยุทธ์ทางการเมืองของพระบาทสมเด็จ ที่ใช้กับล้านนาในแต่ละช่วงเวลา ปัญหาที่ตามมาจาก
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโดยการผูกสัมพันธภาพ วิธีการดังกล่าว รวมทั้งอธิบายปฏิกิริยาของคนล้านนา
กับเชียงใหม่ด้วยการหมั้นหมายกับพระราชชายา ต่อการถูกผนวกเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของรัฐสยาม
เจ้าดารารัศมีทำ�ให้ล้านนายังคงเป็นส่วนหนึ่งของ
ประเทศไทยทุกวันนี้ [18] วัตถุประสงค์ของการวิจัย
กรณีของพระราชชายาเจ้าดารารัศมีที่เข้ามาอยู่ 1. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรัฐสยาม
ในราชส�ำนั ก สยามตั้ ง แต่ พ.ศ. 2429 ซึ่ ง เป็ น และล้านนา พ.ศ. 2417–2476
ช่วงแรกๆ ของการที่รัฐสยามเข้าไปเปลี่ยนแปลง 2. เพื่ อ ศึ ก ษาแนวคิ ด ของชนชั้ น นำ � สยามที่
โครงสร้ า งการปกครองในล้ า นนา สถานะของ ส่งผลต่อวิธีการในการรวมล้านนาเข้ามาเป็นส่วนหนึ่ง
พระราชชายาเจ้าดารารัศมีจึงมีความหมายมากกว่า ของรัฐสยาม
การอยู ่ รั บ ราชการฉลองพระเดชพระคุ ณ ทั่ ว ไป 3. เพื่ อ ศึ ก ษาปฏิ กิ ริ ย าของคนล้ า นนาต่ อ
เมื่อเจ้าอินทวิชยานนท์ถึงแก่พิราลัยใน พ.ศ. 2440 การรวมเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของรัฐสยาม
พระราชชายาเจ้าดารารัศมีไม่ได้เสด็จกลับเมือง
เชียงใหม่เพื่องานพระศพแต่อย่างใด เนื่องจากช่วง วิธีดำ�เนินการวิจัย
เวลาดังกล่าวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า ผู้ วิ จั ย ใช้ วิ ธี ก ารศึ ก ษาทางประวั ติ ศ าสตร์
อยู่หัวเสด็จประพาสยุโรปและการปฏิรูปล้านนายัง โดยการวิ จั ย เอกสารชั้ น ต้ น ทั้ ง เอกสารราชการ
ไม่เรียบร้อย จนกระทั่ง พ.ศ. 2451 พระราชชายา จากกระทรวงต่างๆ พระราชหัตถเลขา รายงาน
เจ้าดารารัศมีทรงได้รับพระบรมราชานุญาตให้เสด็จ ของนั ก เดิ น ทางและบั น ทึ ก ของชาวต่ า งประเทศ
กลับล้านนาเป็นครั้งแรก ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ล้านนา ที่ ไ ด้ เ ข้ า มารั บ ราชการในรั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ
เข้าสู่ระบบมณฑลเทศาภิบาลและการสลายอ�ำนาจ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว พระบาทสมเด็ จ
ทางการเมืองและเศรษฐกิจของกลุ่มเจ้านายท้องถิ่น พระมงกุ ฎ เกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว และพระบาทสมเด็ จ
ได้ผลระดับหนึ่งแล้ว และงานศึกษาส่วนใหญ่ไม่ได้ พระปกเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว รวมทั้ ง สิ่ ง พิ ม พ์ ใ นสมั ย
กล่าวถึงบทบาทที่แท้จริงของพระองค์ในการเป็น รั ช กาลที่ 5–7 และศึ ก ษาจากเอกสารชั้ น รอง
ตัวแทนของทั้งกรุงเทพฯ และล้านนาว่ามีผลต่อ ที่ เ กี่ ย วกั บ ล้ า นนา ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งสยาม
การสร้ า งความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งกรุ ง เทพฯ และล้ า นนา เหตุ ก ารณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในสมั ย ดั ง
และล้านนาอย่างไร กล่ า วเพื่ อ ทำ � ความเข้ า ใจถึ ง ภู มิ ห ลั ง และบริ บ ท
กล่ า วโดยสรุ ป คื อ การศึ ก ษาความสั ม พั น ธ์ ทางประวัติศาสตร์ จากนั้นจึงนำ�ข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์
ระหว่างรัฐสยามกับล้านนาในช่วง พ.ศ. 2417 – 2476 ตีความและนำ�เสนอในแบบพรรณนาวิเคราะห์
นี้มีความเปลี่ยนแปลงไปโดยมีปัจจัยสำ�คัญมาจาก

69
วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 มกราคม - มิถุนายน 2557

ผลการวิจัย สรุปและอภิปรายผล
ผลการวิจัยพบว่าการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรัฐสยามกับ
ระหว่ า งรั ฐ สยามกั บ ล้ า นนาจากรั ฐ ประเทศราช ล้านนา พ.ศ. 2417–2476 พบว่า ในสมัยก่อน
ม า เ ป็ น ส่ ว น ห นึ่ ง ใ น พ ร ะ ร า ช อ า ณ า เ ข ต หน้ า ล้ า นนามี ฐ านะเป็ น ประเทศราชของสยาม
เป็ น กระบวนการหนึ่ ง ของการสร้ า งรั ฐ ชาติ มีหน้าที่ในการป้องกันพระราชอาณาเขตและถวาย
โ ด ย มี ปั จ จั ย สำ � คั ญ จ า ก ก า ร ล่ า อ า ณ า นิ ค ม เครื่องราชบรรณาการทุก 3 ปี จากธรรมเนียม
ของชาติ ต ะวั น ตก วิ ธี ก ารที่ ช นชั้ น นำ � สยาม ปฏิบัติดังกล่าวทำ�ให้ความสัมพันธ์ระหว่างสยาม
ใช้ ผ นวกล้ า นนาเข้ า มาเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของรั ฐ และล้ า นนามี น้ อ ยมาก โดยสยามเองแทบไม่ ยุ่ ง เกี่ ย ว
ได้แก่ การออกกฎหมายและการบังคับใช้กฎหมาย กั บ กิ จ การภายในไม่ ว่ า จะเป็ น ด้ า นการปกครอง
การส่งข้าหลวงกำ�กับราชการโดยตรง การเปลี่ยนแปลง สังคมและเศรษฐกิจ
การจั ด เก็ บ ภาษี อ ากรเพื่ อ นำ � มาใช้ ส ร้ า งระบบ เมื่อสยามเซ็นสัญญาเบาว์ริงใน พ.ศ. 2398
ราชการสยาม การทำ � แผนที่ แ ละสำ � มะโนครั ว ซึ่ ง เป็ น การเปิ ด เสรี ท างการค้ า และให้ สิ ท ธิ
พัฒนาการสื่อสารและการคมนาคมแบบสมัยใหม่ ทางการศาลกับคนในบังคับต่างประเทศส่งผลให้
การวางรากฐานการศึ ก ษาและควบคุ ม สถาบั น ชาวตะวันตกเดินทางเข้ามาติดต่อค้าขายมากขึ้น
สงฆ์ ส่งเสริมการเผยแพร่ศาสนาของมิชชันนารี ประกอบกั บ การที่ พ ม่ า แพ้ ส งครามกั บ อั ง กฤษ
โดยสยามได้นำ�วิธีการแบบรัฐจารีตมาใช้ควบคู่กันไป โดยอังกฤษยึดพม่าตอนใต้ไว้ได้ทำ�ให้พื้นที่บางส่วนของ
ได้ แ ก่ การสร้ า งสายสั ม พั น ธ์ ท างเครื อ ญาติ กั บ ล้านนามีอาณาเขตติดกับอาณานิคมของอังกฤษ
เจ้าเมืองเชียงใหม่ การเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ อั ง กฤษได้ ข ยายธุ ร กิ จ การทำ �ไม้ เ ข้ า มาในล้ า นนา
ในรั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า โดยมีบริษัทค้าไม้ขนาดใหญ่ได้เข้ามาขอทำ�สัมปทาน
เจ้าอยู่หัวทำ�ให้เกิดปฏิกิริยาต่อต้านจากกลุ่มอำ�นาจ ป่ า ไ ม้ กั บ บ ร ร ด า เ จ้ า น า ย ต า ม เ มื อ ง ต่ า ง ๆ
ท้ อ งถิ่ น ทั้ ง การจั บ อาวุ ธ ขึ้ น สู้ ใ นลั ก ษณะของกบฏ โดยไม่ผา่ นความเห็นชอบของสยาม เนือ่ งจากช่วงเวลา
และการใช้ความเชื่อดั้งเดิมเป็นพลังทางสังคมเพื่อต่อต้าน ดั ง กล่ า วความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งล้ า นนาและสยาม
อำ�นาจของสยาม นอกจากนี้ความรู้สึกแบ่งแยก เป็ น เพี ย งรั ฐ ประเทศราชซึ่ ง สยามไม่ ไ ด้ มี อำ � นาจ
ระหว่างไทยเหนือและไทยใต้ และความหลากหลาย ทางการปกครองเหนือล้านนาอย่างแท้จริง
ทางชาติพันธุ์ทำ�ให้ล้านนายังคงขาดความจงรักภักดี ในต้นทศวรรษที่ 2410 เริ่มมีข้อร้องเรียน
ต่อสยาม ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า มายั ง กงสุ ล อั ง กฤษเกี่ ย วกั บ ข้ อ พิ พ าทในการทำ �
เจ้ า อยู่ หั ว จึ ง ทรงปรั บ เปลี่ ย นโยบายการปกครอง ป่าไม้ระหว่างพ่อค้าไม้ซึ่งเป็นคนในบังคับอังกฤษ
ล้านนาใหม่ให้แตกต่างไปจากสมัยก่อนหน้า โดยใช้ และบรรดาเจ้านายตามเมืองต่างๆ โดยรัฐบาลสยาม
ลัทธิชาตินิยมของตะวันตกผ่านสิ่งพิมพ์ การจัดการศึกษา ไม่สามารถตัดสินคดีได้เนื่องจากสิทธิทางการศาล
และกิจกรรมเสือป่า เพื่อปลูกฝังให้คนล้านนารู้สึกถึง ที่ปรากฏในสัญญาเบาว์ริง จนถึงทศวรรษที่ 2420
ความเป็ นไทยร่ ว มกั น กั บ ส่ ว นกลาง โดยเฉพาะ คดีความฟ้องร้องเรื่องการทำ�ไม้เพิ่มขึ้นจำ�นวนมาก
การเสด็จประพาสมณฑลพายัพของพระบาทสมเด็จ ประกอบกั บ มี โ จรผู้ ร้ า ยปล้ น สะดมตามชายแดน
พระปกเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว เป็ น การย้ำ � ให้ ค นล้ า นนา ทำ �ให้ ค นในบั ง คั บ อั ง กฤษเสี ย ประโยชน์ กงสุ ล
เห็นว่าอำ�นาจสูงสุดในการปกครองอยู่ที่กษัตริย์สยาม อั ง กฤษได้ เ รี ย กร้ อ งให้ รั ฐ บาลสยามเข้ า ควบคุ ม
มิใช่บรรดาเจ้านายอีกต่อไป การปกครองล้านนาอย่างเด็ดขาด แต่รัฐบาลสยาม
ในขณะนั้ น ไม่ ส ามารถปฏิ บั ติ ต ามได้ เ นื่ อ งจาก
ไม่ เ คยมี อำ � นาจอย่ า งแท้ จ ริ ง ในล้ า นนามาก่ อ น

70
วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 มกราคม - มิถุนายน 2557

แต่หากปล่อยไว้อาจเป็นช่องทางให้อังกฤษใช้เป็น อย่ า งไรก็ ต าม การประกาศใช้ ก ฎหมาย


ข้ออ้างเพื่อยึดครองล้านนา ดังนั้นพระบาทสมเด็จ ไม่ เ กิ ด ผลในทางปฏิ บั ติ ห ากสยามไม่ ไ ด้ ส่ ง ข้ า หลวง
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชประสงค์ ขึ้นไปประจำ�เพื่อกำ�กับให้บรรดาเจ้านายปฏิบัติตาม
ที่ จ ะเปลี่ ย นหั ว เมื อ งล้ า นนาซึ่ ง มี ค วามสั ม พั น ธ์ ซึ่งตำ�แหน่งข้าหลวงที่สำ�คัญ 2 ตำ�แหน่งคือตำ�แหน่ง
แบบรั ฐ ประเทศราชให้ ก ลายเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ ข้าหลวงใหญ่และข้าหลวงตุลาการศาลต่างประเทศ
พระราชอาณาเขต ก า ร คั ด เ ลื อ ก ตั ว ข้ า ห ล ว ง ที่ ส่ ง ขึ้ น ไ ป มั ก เ ป็ น
จากการที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า ผู้ ที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว
เจ้าอยู่หัวเสด็จประพาสสิงคโปร์ พม่า และอินเดีย ทรงไว้ ว างพระทั ย ซึ่ ง มี ทั้ ง ที่ เ ป็ น ขุ น นางชั้ น ผู้ ใ หญ่
ซึ่งเป็นอาณานิคมของอังกฤษในต้นรัชกาล ทำ�ให้ และเชื้อพระวงศ์ แต่การทำ�งานของข้าหลวงบางท่าน
พระองค์ ท รงเรี ย นรู้ วิ ธี ก ารปกครองของอั ง กฤษ ได้ ส ร้ า งปั ญ หา เช่ น ทุ จ ริ ต ฉ้ อโกง วิ ว าทกั น เอง
แ ล ะ นำ � วิ ธี ก า ร เ ห ล่ า นั้ น ม า ป รั บใ ช้ ผ ส ม กั บ ปล่ อ ยปละละเลยบรรดาเจ้ า นายให้ ป ระพฤติ ผิ ด
วิ ธี ก า ร แ บ บ รั ฐ จ า รี ตโ ด ย มี จุ ด มุ่ ง ห ม า ย เ พื่ อ หรื อ ปฏิ บั ติ กั บ เจ้ า นายอย่ า งเข้ ม งวดเกิ น ไป ฯลฯ
สลายอำ�นาจท้องถิ่นของบรรดาเจ้านายและขุนนาง โดยพระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว
และดึ ง อำ � นาจการปกครองมาไว้ ที่ ก รุ ง เทพฯ ทรงวางนโยบายให้ข้าหลวงทำ�งานร่วมกับเจ้านาย
วิธีการของเจ้าอาณานิคมที่พระองค์ทรงนำ�มาปรับใช้ และเลื อ กใช้ วิ ธี ก ารเปลี่ ย นตั ว ข้ า หลวงคนใหม่
ไ ด้ แ ก่ ก า ร อ อ ก ก ฎ ห ม า ย ก า ร ส่ ง ข้ า ห ล ว ง ในกรณีที่มีความขัดแย้งกันอย่างรุนแรง
ขึ้นไปกำ�กับราชการ เปลี่ยนแปลงการจัดเก็บภาษี ในด้านการจัดทำ�แผนที่และสำ�มะโนประชากร
จัดทำ�แผนที่และสำ�มะโนประชากร พัฒนาการสื่อสาร เ ดิ ม ที รั ฐ จ า รี ต เ ช่ น ส ย า ม แ ล ะ ล้ า น น าไ ม่ ใ ห้
และการคมนาคมแบบสมั ยใหม่ ส่ ง เสริ ม การเรี ย น ความสำ � คั ญ กั บ พื้ น ที่ ที่ มี เ ส้ น แบ่ ง อาณาเขตรวม
หนังสือไทยและควบคุมสถาบันสงฆ์ ทั้งประชากรที่ต้องสังกัดรัฐใดรัฐหนึ่งอย่างแน่ชัด
ในด้ า นการออกกฎหมายและการส่ ง ข้ า หลวง แต่ความวุ่นวายซึ่งเกิดจากการที่พม่าทำ�สงครามกับ
ขึ้ น ไปกำ � กั บ ราชการสยามใช้ ก ารที่ เ จ้ า เมื อ ง อังกฤษครั้งที่ 3 โดยพม่าได้สูญเสียอำ�นาจในการ
เชียงใหม่แพ้คดีความกับคนในบังคับต่างประเทศ ปกครองชนกลุ่มน้อยตามรอยต่อระหว่างหัวเมือง
จนต้องยืมเงินพระคลังข้างที่ชำ�ระไปก่อนล่วงหน้า ต่ า งๆ ที่ ติ ด กั บ เขตแดนเมื อ งเชี ย งใหม่ รวมทั้ ง
และการแต่งตั้งให้เป็นเจ้าเมืองเชียงใหม่เป็นเงื่อนไข สยามเองได้ สู ญ เสี ย การครอบครองบริ เ วณ
ให้ เ จ้ า เมื อ งเชี ย งใหม่ ต้ อ งยอมรั บในสนธิ สั ญ ญา ฝั่งซ้ายของแม่น้ำ�โขงให้กับฝรั่งเศสทำ�ให้สยามต้อง
เชียงใหม่ที่สยามได้ลงนามไว้กับอังกฤษใน พ.ศ. ตกลงปั ก ปั น เขตแดนและจั ด ทำ � แผนที่ แ ข่ ง ขั น
2417 กฎหมายระยะแรกที่ ส ยามประกาศใช้ กั บ ชาติ ต ะวั น ตกเพื่ อใช้ เ ป็ น เครื่ อ งมื อในการประกาศ
ส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการติดต่อกับต่างประเทศ เช่น อำ�นาจรัฐและเก็บเกี่ยวผลประโยชน์ได้อย่างชอบธรรม
การชำ�ระความศาลต่างประเทศ การส่งผู้ร้ายข้ามแดน รวมทั้ ง จั ด ทำ � บั ญ ชี สำ � มะโนประชากรเพื่ อ เปลี่ ย น
ฯลฯ จากนั้ น จึ ง มี ก ารออกกฎหมายเพื่ อ ควบคุ ม ให้คนทุกชาติพันธุ์ในขอบเขตของแผนที่กลายเป็น
ด้านการปกครองและเศรษฐกิจ เช่น พระราชบัญญัติ คนในบังคับสยาม
เสนา 6 ตำ � แหน่ ง พระธรรมนู ญ ศาลหั ว เมื อ ง ในด้านการพัฒนาการสื่อสารและการคมนาคม
พระราชบั ญ ญั ติ ก ารเก็ บ เงิ น ค่ า แรงแทนเกณฑ์ สมัยใหม่ เนื่องจากล้านนาห่างไกลจากกรุงเทพฯ
พระราชบั ญ ญั ติ ก ารเก็ บ อากรที่ ดิ น ฯลฯ ทั้ ง นี้ การสื่อสารคมนาคมทำ�ได้ลำ�บาก รวมทั้งข้าหลวง
ก็เพื่อสลายอำ�นาจของบรรดาเจ้านายและนำ�เงินภาษี ที่ ถู ก ส่ ง ขึ้ นไปกำ � กั บ ราชการมั กไม่ ทั น กั บ ชั้ น เชิ ง
มาวางรากฐานระบบข้าราชการสยาม ทางการทูตของชาติตะวันตก ในทศวรรษที่ 2430

71
วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 มกราคม - มิถุนายน 2557

ส ย า ม จึ ง พั ฒ น าโ ท ร เ ล ข เ พื่ อใ ช้ ส่ ง ข่ า ว ส า ร การส่งเสริมการเรียนหนังสือไทยมีจุดประสงค์
และขอพระราชวิ นิ จ ฉั ย ของพระบาทสมเด็ จ เ พื่ อ ผ ลิ ต ค น พื้ น เ มื อ ง เ ข้ า สู่ ร ะ บ บ ร า ช ก า ร
พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว ได้ อ ย่ า งทั น ท่ ว งที โดยรัฐบาลสยามเชื่อว่าการจัดสอนภาษาไทยแทนที่
ในขณะที่การสร้างทางรถไฟสายเหนือมีวัตถุประสงค์ ภาษาพื้ น เมื อ งจะช่ ว ยสร้ า งความสั ม พั น ธ์ ที่ ดี
เพื่ อ กั น มิ ใ ห้ อั ง กฤษดึ ง ผลประโยชน์ จ ากล้ า นนา และลดความรู้ สึ ก แบ่ ง แยกระหว่ า งคนไทย
ไปไว้ ที่ ต นเอง โดยระยะแรกชนชั้ น นำ � สยาม และคนพื้นเมือง ทั้งนี้การเข้าควบคุมสถาบันสงฆ์ควบคู่
เห็นว่าการสร้างทางรถไฟสายใต้เป็นสิ่งจำ�เป็นเร่งด่วน ไปกั บ การจั ด การศึ ก ษาเป็ น สิ่ ง จำ � เป็ น เพราะสยาม
กว่ารถไฟสายเหนือ แต่หลังกบฏเงี้ยวเมืองแพร่ ตระหนั ก ดี ว่ า พระสงฆ์ มี อิ ท ธิ พ ลในการปลู ก ฝั ง
ทำ �ให้ ส ยามต้ อ งส่ ง กำ � ลั ง ทหารขึ้ น ไปประจำ � การ ความคิ ด ให้ กั บ ราษฎร ประกอบกั บ แผนการ
จำ�นวนมาก จนทำ�ให้คลังมณฑลพายัพล่ม และเสี่ยง จั ด การศึ ก ษาตามหั ว เมื อ งจำ � เป็ น ต้ อ งใช้ วั ด
ต่ อ การสู ญ เสี ย อำ � นาจในการปกครองชนชั้ น นำ � และพระสงฆ์ รวมทั้งทัศนคติของส่วนกลางที่มองว่า
สยามจึ ง ให้ ค วามสำ � คั ญ ในการสร้ า งทางรถไฟ การศาสนาตามหัวเมืองมีความหละหลวม ทำ�ให้
สายเหนือโดยพิจารณาถึงความคุ้มค่าในการลงทุน สยามต้ อ งเข้ า ควบคุ ม สถาบั น สงฆ์ โ ดยใช้ อำ � นาจ
ว่ า จะตั ด ผ่ า นเมื อ งใดระหว่ า งเมื อ งแพร่ แ ละเมื อ ง ของกฎหมายเพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ โครงสร้ า ง
ลำ�ปาง โดยท้ายที่สุดเลือกที่จะผ่านทั้ง 2 เมือง การปกครองทางโลก แม้ว่าสยามพยายามส่งเสริม
เพื่อความสะดวกในการจัดการปกครอง ตลอดจน บทบาทของธรรมยุติกนิกายให้เข้าแทนที่บทบาท
รักษาความสงบภายใน ของพระสงฆ์พื้นเมืองแต่จากการที่พระพุทธศาสนา
ในด้ า นการส่ ง เสริ ม การเผยแพร่ ศ าสนาของ ในหัวเมืองล้านนามีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน
มิชชันนารี เนื่องจากสยามเห็นถึงความเปลี่ยนแปลง และมีรากฐานมั่นคง ประกอบกับการที่พระสงฆ์
และประโยชน์ ที่ เ กิ ด จากกิ จ กรรมการเผยแพร่ ส่ ว นใหญ่ ยั ง คงยึ ด มั่ น ในระบบหั ว หมวดวั ด
ศาสนาของมิชชันนารีในกรุงเทพฯ จึงสนับสนุน และหั ว หมวดอุ โ บสถจึ ง ทำ � ให้ ธ รรมยุ ติ ก นิ ก าย
ให้ มี ก ารเผยแพร่ ศ าสนาคริ ส ต์ ใ นล้ า นนา แม้ ว่ า ไม่แพร่หลายเท่าที่ควร
สยามไม่ได้ให้งบประมาณในการสนับสนุน แต่ใช้ ในขณะที่วิธีการสร้างสายสัมพันธ์ทางเครือญาติ
วิธีประกาศพระบรมราชโองการให้นับถือศาสนา โดยการถวายตัวของพระราชชายาเจ้าดารารัศมี
ได้อย่างเสรีซึ่งเป็นการลิดรอนอำ�นาจการควบคุม ทำ �ให้ พ ระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว
ไพร่ ข องเจ้ า นาย ทั้ ง นี้ มิ ช ชั น นารี ใ ช้ ยุ ท ธศาสตร์ ทรงมี ช่ อ งทางสื่ อ สารเป็ น การส่ ว นพระองค์ กั บ
สำ � คั ญ 2 ประการในการเผยแพร่ ศ าสนาคื อ เจ้ า เมื อ งเชี ย งใหม่ โ ดยใช้ ค วามสั ม พั น ธ์ นี้ ดึ ง เอา
การศึ ก ษาและการแพทย์ แ บบสมั ยใหม่ วิ ธี ก าร อำ � นาจการให้ สั ม ปทานป่ า ไม้ ม าไว้ ที่ ก รุ ง เทพฯ
เหล่านี้ได้สร้างความเปลี่ยนทางสังคมและวัฒนธรรม และมีส่วนทำ�ให้ล้านนาเข้ามาอยู่ภายใต้การปกครอง
ในล้านนาหลายประการ โดยเฉพาะความเชื่อพื้นฐาน แบบรวมศูนย์ได้ราบรื่นยิ่งขึ้น [19]
ของคนทั่วไปที่มีต่อโรคภัยไข้เจ็บและภูติผีปีศาจ จนถึงทศวรรษที่ 2460 ความพยายามของ
ซึ่งมีส่วนเชื่อมโยงกับกลไกการควบคุมพฤติกรรม พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวซึ่งทรง
ของคนในสั ง คม การจั ด การศึ ก ษาแบบใหม่ ต้องการเปลี่ยนความสัมพันธ์จากรัฐประเทศราช
ทำ �ให้ เ กิ ด ชนชั้ น กลางขึ้ นในสั ง คมและตอบสนอง มาเป็นส่วนหนึ่งในพระราชอาณาเขตโดยการปรับ
ความต้ อ งการของสยามในการกระตุ้ น ให้ เ กิ ด ใช้วิธีการของเจ้าอาณานิคมผสมไปกับวิธีการแบบ
การขยายตัวทางเศรษฐกิจ รัฐจารีตเริ่มปรากฏผล โดยสถานภาพทางสังคม

72
วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 มกราคม - มิถุนายน 2557

และเศรษฐกิ จ ของเจ้ า นายและไพร่ เ ริ่ ม มี ค วาม ในการไม่ ป ฏิ บั ติ ต ามคำ � สั่ ง ของข้ า หลวง โดยผี
ใกล้เคียงกันโดยมีฐานะเป็นประชากรส่วนหนึ่งของ ถู ก นำ � มาใช้ เ ป็ น พลั ง ทางสั ง คมเพื่ อ ขจั ด อำ � นาจ
รัฐสยาม อำ�นาจของเจ้านายที่มีต่อไพร่เริ่มคลาย ของสยามเนื่องจากคนเหล่านั้นหมดหวังที่จะต่อสู้
ความศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ล งสั ง เกตได้ จ ากไพร่ เ ริ่ ม ฟ้ อ งร้ อ ง ในแนวทางอื่ น จึ ง หั นไปพึ่ ง พาผี ห รื อ สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์
เจ้ า นายในกรณี ที่ ถู ก รั ง แกและไม่ ไ ด้ รั บ ความ เหนือธรรมชาติ ซึ่งวิธีการดังกล่าวเป็นวิธีที่ใช้ได้ผล
เป็นธรรมโดยอาศัยระบบศาลของสยาม แต่การลิดรอน กับคนกลุ่มใหญ่ซึ่งมีอำ�นาจเหนือกว่าใช้ขับไล่ผู้ที่ตน
อำ � นาจของเจ้ า นายที่ ส ยามได้ ก ระทำ � มาตลอด ไม่ต้องการให้ออกไปจากสังคม แต่วิธีนี้ใช้ไม่ได้
ระยะเวลา 40 ปี ส่งผลให้เกิดปฏิกิริยาการต่อต้าน ผลเนื่องจากบรรดาเจ้านายรวมทั้งไพร่แม้ว่าจะมี
ในรูปแบบต่างๆ ซึ่งมีทั้งการรวมตัวกันจับอาวุธ จำ�นวนมากกว่าแต่อำ�นาจทางการปกครองที่แท้จริง
ขึ้นสู้ การใช้ผีในการต่อต้านอำ�นาจของกรุงเทพฯ ตกอยู่ในมือข้าหลวงสยามทำ�ให้การใช้ผีไม่มีพลัง
ความรู้ สึ ก แบ่ ง แยกระหว่ า งไทยเหนื อ และไทย มากพอที่จะทำ�ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้ ภายหลัง
ใต้ จ นนำ � ไปสู่ ก ารเรี ย กตนเองของคนพื้ น เมื อ ง กบฏเงี้ยวเมืองแพร่สยามเอาใจใส่กับความเชื่อเรื่อง
ว่ า คนเมื อ ง และกรณี ค รู บ าศรี วิ ชั ย ที่ ไ ม่ ย อมรั บ ภู ติ ผี ข องคนล้ า นนามากขึ้ น ทำ � ให้ ก ารต่ อ ต้ า น
พระราชบั ญ ญั ติ ก ารปกครองคณะสงฆ์ รวมทั้ ง โดยการใช้ผีค่อยๆ ลดลง
ปัญหาที่เกิดจากความหลากหลายทางกลุ่มชาติพันธุ์ จากการที่สยามส่งข้าราชการขึ้นมาปกครอง
ในล้านนาที่เชื่อมโยงกับสิทธิสภาพนอกอาณาเขต โดยตรง โดยข้ า ราชการสยามส่ ว นใหญ่ มั ก ดู ถู ก
การต่ อ ต้ า นจากอำ � นาจท้ อ งถิ่ น ปรากฏ คนล้านนาว่ามีความเจริญน้อยกว่าจนทำ�ให้เกิดความ
ในรูปของกบฏครั้งสำ�คัญ จำ�นวน 2 ครั้ง คือกบฏ รู้ สึ ก แบ่ ง แยกระหว่ า งคนสยามหรื อ ไทยใต้ กั บ
พระยาผาบสงครามใน พ.ศ. 2432 และกบฏเงี้ยว คนพื้ น เมื อ งหรื อ ไทยเหนื อ จนเกิ ด การเรี ย กกลุ่ ม ของ
เมืองแพร่พ.ศ. 2445 กบฏทั้ง 2 ครั้งมีสาเหตุ ตนเองว่า “คนเมือง” โดยใช้คำ�ดังกล่าวเป็นตัวแทนของ
มาจากการที่ ส ยามเปลี่ ย นแปลงการจั ด เก็ บ ภาษี ทุ ก กลุ่ ม ชาติ พั น ธุ์ ใ นล้ า นนาเพื่ อ สร้ า งสำ � นึ ก ร่ ว ม
และควบคุ ม กิ จ กรรมทางด้ า นเศรษฐกิ จ มากขึ้ น กั นในการต่ อ ต้ า นอำ � นาจจากกรุ ง เทพฯ แม้ ว่ า
โดยทัศนะของชนชั้นนำ�สยามกบฏพระยาผาบสงคราม การรวมตัวกันนี้ไม่ได้สร้างปัญหาทางการปกครอง
มีความเกี่ยวข้องกับบรรดาเจ้านายชั้นสูงในเมือง ให้ กั บ รั ฐ สยามอย่ า งชั ด เจนเหมื อ นการก่ อ กบฏ
เชียงใหม่แต่สยามไม่ให้ความสำ�คัญกับกบฏครั้งนี้ แต่ เ ป็ น อุ ป สรรคในการรวมชาติ ทำ �ให้ ก รุ ง เทพฯ
มากนั ก สั ง เกตจากจำ � นวนทหารที่ ป ระจำ � การ ต้ อ งทบทวนนโยบายในการจั ด การปกครองใหม่
ในหัวเมืองล้านนา ในขณะที่กบฏเงี้ยวเมืองแพร่ กรณีครูบาศรีวิชัยก็เช่นกัน โดยท่านเป็นตัวอย่างของ
ไ ด้ ส ร้ า ง ค ว า ม เ สี ย ห า ย ม า ก ก ว่ า เ นื่ อ ง จ า ก ความขัดแย้งระหว่างแนวคิดดั้งเดิมทางพุทธศาสนา
มีข้าราชการสยามเสียชีวิตหลายท่าน โดยสยาม ของคนล้านนากับแนวคิดในการรวมศูนย์อำ�นาจ
ต้องส่งกองทหารขึ้นไปประจำ�การและไม่สามารถ เพื่อเสริมอุดมการณ์แบบรัฐชาติ ท่ามกลางวิกฤต
จัดเก็บภาษีได้ แต่จากการที่สยามใช้วิธีปราบกบฏ ทางสังคมและเศรษฐกิจที่เกิดจากการขยายอำ�นาจ
อย่างรุนแรงทำ�ให้ในเวลาต่อมาไม่มีกลุ่มอำ�นาจท้องถิ่น การปกครองของสยามทำ �ให้ ร าษฎรต้ อ งปรั บ ตั ว
จั บ อาวุ ธ ขึ้ น ต่ อ ต้ า นในบริ เ วณศู น ย์ ก ลางสำ � คั ญ เพื่อรับกับการเปลี่ยนแปลงโดยเจ้านายและขุนนาง
อีกต่อไป ท้องถิ่นไม่สามารถปกป้องพวกเขาอีกต่อไป ทำ�ให้
นอกจากการต่ อ ต้ า นการปกครองของ คนล้ า นนานำ � ความเชื่ อ ดั้ ง เดิ ม เรื่ อ งตนบุ ญ
สยามด้ ว ยการจั บ อาวุ ธ ขึ้ น สู้ แ ล้ ว ยั ง มี ก ารใช้ ผี หรื อ ผู้ วิ เ ศษที่ จ ะลงมาปกป้ อ งพระพุ ท ธศาสนา
และความเชื่ อ ตามจารี ต พื้ น บ้ า นเป็ น ข้ อ อ้ า ง และช่วยเหลือสัตว์โลกให้พ้นทุกข์มาใช้เป็นพลังทาง

73
วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 มกราคม - มิถุนายน 2557

สังคมเพื่อพาตนเองหลีกหนีไปสู่สังคมแบบอุดมคติ ความเป็นชาตินิยมให้เกิดขึ้นกับราษฎรมณฑลพายัพ
ผ่านการทำ�บุญร่วมกับครูบาศรีวิชัย แต่ในมุมมอง พระองค์ ท รงใช้ วิ ธี ก ารทั้ ง ทางตรงและทางอ้ อ ม
ของสยามที่ต้องการรวมศูนย์อำ�นาจทางการปกครอง วิธีสร้างความรู้สึกชาตินิยมทางตรง ได้แก่ การออก
กลับมองสิ่งเหล่านี้ว่าคือการต่อต้านอำ�นาจรัฐ กฎหมายบังคับใช้ ได้แก่ พระราชบัญญัติแปลงชาติ
นอกจากการต่ อ ต้ า นอำ � นาจของสยามใน พระราชบัญญัติสัญชาติ พระราชบัญญัติขนานนามสกุล
รูปแบบต่างๆ แล้ว ปัญหาที่สำ�คัญประการหนึ่ง พระราชบัญญัติโรงเรียนราษฎร์และพระราชบัญญัติ
ในการจั ด การปกครองคื อ ความหลากหลายทาง ประถมศึกษา วิธีการทางอ้อม ได้แก่ การเผยแพร่
ชาติพันธุ์ของคนล้านนาซึ่งเป็นปัญหาที่เกี่ยวเนื่อง งานเขียนและการสร้างสัญลักษณ์แทนตัวพระองค์
กั บ สิ ท ธิ ส ภาพนอกอาณาเขต เนื่ อ งจากล้ า นนา โดยเฉพาะการจัดตั้งกองเสือป่า การแจกพระบรมรูป
มีคนกลุ่มต่างๆ เข้ามาทำ�ธุรกิจป่าไม้จำ�นวนมาก และธง โดยกิจกรรมดังกล่าวได้รับการจัดตั้งขึ้น
ซึ่งส่วนใหญ่เป็นคนในบังคับต่างประเทศ รวมทั้ง ในทุ ก จั ง หวั ดโดยใช้ โ รงเรี ย นและศาลารั ฐ บาล
กลุ่ ม ชาติ พั น ธุ์ ที่ อ าศั ย อยู่ ใ นพื้ น ที่ สู ง ที่ อำ � นาจ เป็นสถานที่ในการส่งผ่านความคิด ทั้งนี้การประดับ
ของสยามยังเข้าไปไม่ถึง โดยกลุ่มชาติพันธุ์ที่สร้าง พระบรมรูปและธงชาติตามสถานที่ราชการต่างๆ
ปัญหาอย่างมากคือพม่าและเงี้ยวซึ่งเคยเดินทางไปมา ก็ เ พื่ อให้ ร าษฎรที่ ม าติ ด ต่ อ ราชการและนั ก เรี ย น
และทำ�การค้าได้อย่างอิสระ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 ที่เข้ารับการศึกษาเคยชินกับพระบรมฉายาลักษณ์
รัฐเพื่อนบ้านของสยามเริ่มมีการเคลื่อนไหวขับไล่ ของกษั ต ริ ย์ ส ยามและตระหนั ก ถึ ง อำ � นาจสู ง สุ ด
เจ้ า อาณานิ ค มโดยโดยพม่ า และเงี้ ย วบางกลุ่ ม ในการปกครองว่ามิใช่อยู่ที่เจ้านายพื้นเมืองอีกต่อไป
ใช้ ล้ า นนาเป็ น ฐานเคลื่ อ นไหวทางด้ า นการเมื อ ง ทั้ ง นี้ โ รงเรี ย นสอนหนั ง สื อไทยได้ ก ลายเป็ น
และหลบซ่ อ นจากการจั บ กุ ม ของอั ง กฤษ อี ก ทั้ ง เครื่ อ งมื อ สำ � คั ญในการเปลี่ ย นคนล้ า นนาให้ รู้ สึ ก
พยายามสร้างแนวร่วมจากกลุ่มชาติพันธุ์เดียวกัน ถึ ง ความเป็ น ไทยมากขึ้ น ประกอบกั บ การใช้
ที่อาศัยอยู่ในล้านนาเข้าโจมตีสยามเพื่อยึดอาวุธ พระราชบัญญัติโรงเรียนราษฎร์และพระราชบัญญัติ
และรวบรวมผู้คนต่อต้านอังกฤษ ปัญหาดังกล่าว ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า เ พื่ อ บั ง คั บใ ห้ เ ด็ ก ทุ ก ค น ไ ด้
มี ผ ลต่ อ ความมั่ น คงภายในและเป็ น ปั ญ หา เข้าเรียนโดยใช้ภาษาไทยเป็นสื่อกลางในการเรียน
ทางการเมืองระหว่างรัฐ ประกอบกับทศวรรษที่ 2460 การสอน หลักสูตร เนื้อหาวิชา และตำ�ราเรียนได้รับ
รั ฐ บาลสยามได้ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงโครงสร้ า ง การควบคุ มโดยกระทรวงธรรมการซึ่ ง นอกจาก
ก า ร ป ก ค ร อ ง ส่ ว น ภู มิ ภ า คโ ด ย ย้ า ย สั ง กั ด จะสอนให้มีความรู้พื้นฐานแล้วยังปลูกฝังความคิด
สมุ ห เทศาภิ บ าลจากกระทรวงมหาดไทยไปขึ้ น เกี่ยวกับรัฐประชาชาติ ความจงรักภักดีต่อสถาบัน
ตรงต่ อ พระมหากษั ต ริ ย์ ความขั ด แย้ ง ภายใน ชาติและพระมหากษัตริย์ รวมทั้งเชื่อฟังต่ออำ�นาจ
และความไร้ประสิทธิภาพในการทำ�งานของข้าราชการ รั ฐ สมั ย ใหม่ ที่ สำ � คั ญ ในตำ � ราเรี ย นได้ แ สดงถึ ง
สยามทำ �ให้ ก ารรวมศู น ย์ อำ � นาจในการปกครอง ความพยายามของรั ฐ บาลสยามในการลบภาพ
ยั ง ไม่ ไ ด้ ผ ลอย่ า งแท้ จ ริ ง ดั ง นั้ น รั ฐ สยามต้ อ ง ความเป็ น ลาวออกจากคนล้ า นนาโดยอธิ บ ายว่ า
ปรับเปลี่ยนนโยบายใหม่ในการปกครองโดยเปลี่ยน คนล้านนานั้นเป็นคนไทยเช่นเดียวกันกับคนสยาม
ให้ ค นเหล่ า นั้ น เกิ ด ความจงรั ก ภั ก ดี แ ละรู้ สึ ก ถึ ง นอกจากนี้ สิ่ ง พิ ม พ์ แ ละหนั ง สื อ พิ ม พ์ ที่ ถู ก ส่ ง
ความเป็นชาติไทยร่วมกันกับส่วนกลาง ขึ้ น มาจากกรุ ง เทพฯ อย่ า งต่ อ เนื่ อ งได้ ก ลายเป็ น
พระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว เครื่องมือสื่อสารให้คนต่างพื้นที่รับรู้ถึงการดำ�รงอยู่
ทรงมี นโยบายสร้ า งความเป็ น อั น หนึ่ ง อั น เดี ย วกั นให้ เ กิ ด ของคนกลุ่มอื่นๆ ภายใต้จินตนาการถึงความเป็นชาติ
ขึ้ น ในชาติ โ ดยใช้ ลั ท ธิ ช าติ นิ ย ม ในการปลู ก ฝั ง ไทยร่วมกัน เมื่อหนังสือพิมพ์ภาษาไทยฉบับแรก

74
วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 มกราคม - มิถุนายน 2557

ถูกผลิตขึ้นโดยคนพื้นเมืองแสดงให้เห็นถึงความสำ�เร็จ ทรงเป็ น พระประมุ ข ของราษฎรในมณฑลพายั พ


ของรัฐบาลสยามในการสอนหนังสือไทยและปลูกฝัง ซึ่งกลายเป็นส่วนหนึ่งของสยามโดยสมบูรณ์
ความรู้ สึ ก จงรั ก ภั ก ดี ต่ อ กษั ต ริ ย์ ส ยามรวมทั้ ง ภายหลั ง จากการเสด็ จ ประพาสฯ พระบาท
สร้ า งสำ � นึ ก ของความเป็ น ชาติ ไ ทยร่ ว มกั น กั บ สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงงดเว้นการแต่งตั้ง
กรุงเทพฯ แต่จากการที่คนล้านนามีความสัมพันธ์ เจ้าเมืองลำ�ปางและทรงใช้นโยบายอุปถัมภ์บรรดา
ทางเศรษฐกิ จ กั บ พม่ า และหั ว เมื อ งเงี้ ย วมาเป็ น เจ้านายให้เสมอกันกับที่ทรงอุปถัมภ์ราชสกุลวงศ์
เวลานาน ชนชั้นนำ�สยามจึงมีนโยบายสร้างความ อื่นๆ ของสยาม ทั้งนี้นโยบายของสยามที่ใช้อุปถัมภ์
สัมพันธ์ทางเศรษฐกิจกับมณฑลพายัพให้มากขึ้น บรรดาเจ้ า นายที่ ก ระทำ � ต่ อ เนื่ อ งมาโดยตลอด
โดยการดูแลทุกข์สุขของราษฎรทั้งในด้านสุขภาพ ได้แก่ การส่งเสริมให้การศึกษากับบรรดาบุตรหลาน
และการประกอบอาชีพ มีการจัดตั้งเกษตรมณฑล ของเจ้านาย พระราชทานเงินเดือนให้กับเจ้าเมือง
เพื่อส่งเสริมการเพาะปลูกและการเลี้ยงสัตว์รวมทั้ง และเชื้อพระวงศ์ระดับสูงที่รับตำ�แหน่งทางราชการ
พัฒนาเส้นทางคมนาคมให้เชื่อมต่อระหว่างเมือง ให้ สิ ท ธิ ใ นการทำ � ไม้ เ ป็ น พิ เ ศษกว่ า รายอื่ น ๆ
สำ�คัญๆ เพื่อขนส่งสินค้าได้อย่างสะดวก เมื่อรถไฟ รวมทั้ ง พยายามสร้ า งความสั ม พั น ธ์ ส่ ว นตั ว
สายเหนือแล้วเสร็จส่งผลให้มูลค่าการค้าระหว่าง ให้ บ รรดาเจ้ า นายรู้ สึ ก ว่ า ตนเองมี ค วามสำ � คั ญ
มณฑลพายัพและกรุงเทพฯ มีเพิ่มมากขึ้น ราษฎร ต่อราชวงศ์จักรี
เริ่มเข้าสู่กระบวนการผลิตเพื่อการค้าเพื่อนำ�เงิน จนถึงต้นทศวรรษที่ 2480 รัฐบาลมีนโยบาย
มาจ่ายภาษีให้กับรัฐและซื้อสิ่งอำ�นวยความสะดวก ไม่แต่งตั้งตำ�แหน่งเจ้าเมืองอีกต่อไปโดยต้องการ
ในชีวิตประจำ�วัน พ่อค้าชาวจีนเป็นกลุ่มคนสำ�คัญ ให้ ม ณฑลพายั พ มี ก ารปกครองเหมื อ นมณฑล
ที่ มี บ ทบาททางด้ า นเศรษฐกิ จโดยเป็ น ตั ว กลาง อื่นๆ ในพระราชอาณาเขต [20] ในขณะที่เจ้านาย
ในการเชื่ อ มโยงเศรษฐกิ จ ระหว่ า งกรุ ง เทพฯ ซึ่งรับราชการสยามและมีความดีความชอบรัฐบาลได้
และมณฑลพายัพ ตั้งเงินตอบแทนเพื่อเป็นการเอาใจเจ้านายเหล่านั้น
ใน พ.ศ. 2469 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475
เจ้ า อยู่ หั ว เสด็ จ ประพาสมณฑลพายั พ โดยมี และได้มีการจัดตั้งรัฐบาลใหม่ กรุงเทพฯ เกรงว่า
พระราชประสงค์ทอดพระเนตรความเป็นไปด้วย มณฑลพายั พ อาจแยกตั ว เป็ น อิ ส ระทำ �ให้ รั ฐ บาล
พระองค์ เ อง เนื่ อ งจากขณะนั้ น ชนชั้ น นำ � สยาม ใหม่ ยั ง คงใช้ นโยบายเดิ ม ในการอุ ป ถั ม ภ์ เ จ้ า นาย
มีความเห็นขัดแย้งเรื่องการแต่งตั้งเจ้านายล้านนา โดยแต่ ง ตั้ งให้ ทำ � หน้ า ที่ เ ป็ น กรมการพิ เ ศษและมี
ขึ้ น เป็ น เจ้ า เมื อ ง ซึ่ ง เรื่ อ งดั ง กล่ า วเกี่ ย วข้ อ งกั บ เบี้ยเลี้ยงเป็นรายเดือน จนกระทั่งเจ้าเมืองลำ�พูน
งบประมาณที่ รั ฐ บาลสยามต้ อ งจ่ า ยเงิ น ประจำ � ซึ่ ง เ ป็ น เ จ้ า เ มื อ ง อ ง ค์ สุ ด ท้ า ย ถึ ง แ ก่ พิ ร า ลั ย
ตำ�แหน่งให้กับเจ้านายเหล่านั้นเป็นรายปี การเสด็จ บุ ต รหลานของบรรดาเจ้ า นายเหล่ า นั้ น ไม่ ไ ด้ รั บ
ในครั้ ง นี้ มี ค วามสำ � คั ญ มากเพราะเป็ น ครั้ ง แรก สิทธิพิเศษอีกต่อไปโดยมีฐานะเป็นราษฎรส่วนหนึ่ง
ที่ พ ระมหากษั ต ริ ย์ ส ยามเสด็ จ ประพาสมณฑล ของประเทศไทยในที่สุด
พายั พ จึ ง มี ก ารตระเตรี ย มพิ ธี ก ารที่ ยิ่ ง ใหญ่
แ ล ะ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ค น ทุ ก ก ลุ่ ม ไ ม่ ว่ า จ ะ เ ป็ น
เจ้านาย ราษฎร และชาวต่างชาติอื่นๆ ที่อาศัยอยู่
พิธีรับเสด็จและหมายกำ�หนดการต่างๆ ถูกนำ�มาใช้
ผสมกั น ทั้ ง พิ ธี ต ามจารี ต ของล้ า นนาและพิ ธี ก าร
แบบสมั ยใหม่ ทั้ ง นี้ เ พื่ อ แสดงให้ เ ห็ น ว่ า พระองค์

75
วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 มกราคม - มิถุนายน 2557

เอกสารอ้างอิง
[1] ปาฐกถาของผู้แทนราษฎรเรื่องสภาพของจังหวัดต่างๆ. (2539). กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้ง
แอนด์พับลิชชิ่ง.
[2] อนุสรณ์พระราชทานเพลิงศพ เจ้าวงศ์จันทร์ คชเสนี. (ม.ป.ป.). ณ เมรุวัดมกุฎกษัตริยาราม
กรุงเทพฯ: ม.ป.พ.
[3] พรพรรณ จงวั ฒ นา. (2517). กรณี พิ พ าทระหว่ า งเจ้ า นครเชี ย งใหม่ กั บ คนในบั ง คั บ อั ง กฤษ
เป็นเหตุให้รัฐบาลสยามจัดการปกครองมณฑลพายัพ พ.ศ. 2401 – 2445. วิทยานิพนธ์ อ.ม.
(ประวัติศาสตร์). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[4] วัลลภา เครือเทียนทอง. (2519). การปฏิรูปการปกครองลานนาไทยในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. วิทยานิพนธ์ อ.ม. (ประวัติศาสตร์). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[5] สรัสวดี ประยูรเสถียร. (2523). การปฏิรูปการปกครองมณฑลพายัพ พ.ศ. 2436 – 2476.
วิทยานิพนธ์ กศ.ม. (ประวัติศาสตร์). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
[6] สมเกียรติ วันทะนะ. (2533, มิถุนายน). รัฐสมบูรณาญาสิทธิ์ในสยาม 2435 – 2475. วารสาร
สังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์. 17(1): 23 – 44.
[7] Greene, Stephen. (1970). “King Wachirawut’s Policy of Nationalism”, In Memoriam Phya
Anuman Rajadhon. Bangkok: The Siam Society.
[8] อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์. (2538). การเปลี่ยนแปลงโลกทัศน์ของชนชั้นผู้นำ�ไทยตั้งแต่รัชกาลที่ 4 –
พ.ศ. 2475. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[9] หจช. ร.6 ก.1/23 พวกเจ้าเม่งกุนเกลี้ยกล่อมคนในมณฑลพายัพ (11 กุมภาพันธ์ – มีนาคม
พ.ศ. 2456).
[10] หจช. ร.6 ก.1/27 รายงานสมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงพิษณุโลกเสด็จตรวจราชการมณฑลตะวันออก
และมณฑลพายัพ (15 ตุลาคม พ.ศ. 2458 – 24 เมษายน พ.ศ. 2461).
[11] หจช. ศ.43/14 พระยาไพศาลไปตรวจราชการมณฑลพายัพ (6 พฤษภาคม – 28 สิงหาคม
พ.ศ. 2456).
[12] หจช. ร.7 ม.30/2 รัฐประศาสนโนบายเรื่องจะคิดให้ลาวในมณฑลพายัพกลับเป็นไทย (20 มีนาคม
พ.ศ. 2468).
[13] หจช. ร.7 รล.2/6 เรื่องตั้งเจ้าประเทศราชมณฑลพายัพ (20 มีนาคม พ.ศ. 2468 – 14 กุมภาพันธ์
พ.ศ. 2469).
[14] สมศั ก ดิ์ ลื อ ราช. (2529). ความสำ � คั ญ ของเมื อ งแพร่ แ ละน่ า นในรั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. (ประวัติศาสตร์). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
[15] เสถียร ลายลักษณ์; และคณะ. (2478). ประชุมกฎหมายประจำ�ศก เล่ม 18. พระนคร: เดลิเมล์.

76
วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 มกราคม - มิถุนายน 2557

[16] ปราณี ศิริธร ณ พัทลุง. (2508). เมื่อพระธรรมยุตินิกายมาจัดตั้งระเบียบการปกครองคณะสงฆ์


มหานิกายในมณฑลพายัพ ใน วรทัศน์อนุสรณ์. งานพระราชทานเพลิงศพ เจ้าวรทัศน์ ณ ลำ�พูน
2508.
[17] ธเนศวร เจริญเมือง. (2544). คนเมือง. เชียงใหม่: คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
[18] นงเยาว์ กาญจนจารี. (2539). ดารารัศมี. เชียงใหม่: สุริวงศ์บุ๊คเซนเตอร์.
[19] หจช. ร.5 ม.16.3/5 คิดจะเก็บเงินค่าตอไม้แขวงเชียงใหม่พระเจ้าเชียงใหม่มีหนังสือกราบทูล
ยังไม่ยอมตกลงในเรื่องนี้ (19 ธันวาคม พ.ศ. 2439 - 9 เมษายน พ.ศ. 2440)
[20] หจช. สร.0201.32/6 เจ้าราชบุตรกับพวกขอให้แต่งตั้งเจ้าราชวงศ์สิทธิสาร ณ น่าน เป็นเจ้า
ผู้ครองนคร (พ.ศ. 2475 - 2476)

77

You might also like