You are on page 1of 34

คำอธิบำยของปั ญญำชนฝ่ ำยที่สนับสนุน

กับฝ่ ำยที่ต่อต้ ำนกำรปฏิวัตสิ ยำม 2475

รองศาสตราจารย์ ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์*

บทนำ

การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองการปกครองของประเทศสยามเมื่อ วันที่ 24 มิถนุ ายน 2475


นับเป็ นเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์ หนึ่งที่มีผลกระทบอย่างมากต่อบุคคลหลายกลุ่ม
และหลายฝ่ าย และที่สาคัญคือ มีความหมายที่แตกต่างกันเป็ นอย่างมากในการรับรู้ของปั ญญาชน
และในระหว่างคนกลุ่มต่างๆ ทัง้ ในอดีต ที่ผ่านไปแล้ ว ในห้ วงเวลาที่ผ่าน และในยุคสมัยปั จจุบนั
ฉะนัน้ บทความนี ้ จึงมี ความประสงค์ ที่จะแยกแยะให้ เห็นว่าความหมายที่แตกต่างอย่างสุดขัว้
ระหว่างกลุ่ม/พันธมิตรที่สนับสนุนเหตุการณ์ 24 มิถุนายน 2475 กับกลุ่ม/พันธมิตรที่คดั ค้ านและ
ต่อต้ านเหตุการณ์ 24 มิถุนายน 2475 ว่ามีลกั ษณะที่แตกต่างกันอย่างไร มีการให้ เหตุผลอย่างไร
และมีน ้าหนัก และจุดเน้ นในคาอธิบายของกลุม่ ตนอย่างไร
อย่ า งไรก็ ต าม เนื่ อ งด้ ว ยความคิ ด เห็ น ของกลุ่ม /พัน ธมิ ต รที่ ส นับ สนุน เหตุก ารณ์ 24
มิถนุ ายน 2475 นัน้ เป็ นสิ่งที่เกิดขึ ้นก่อน และเป็ นคาอธิบายที่มีพลังก่อนที่ความคิดเห็นของกลุ่ม/
พันธมิ ตรที่ ต่อต้ านเหตุการณ์ 24 มิ ถุนายน 2475 จะมี เริ่ ม อิทธิ พ ลและแพร่ หลายในสังคมการ
เมืองไทย ดังนัน้ ในที่นี ้ ผู้เขียนจึงขอศึกษากลุ่ม/พันธมิตรฝ่ ายสนับสนุนเหตุการณ์ 24 มิถุนายน
2475 เป็ นลาดับแรก และจะศึกษากลุม่ /พันธมิตรที่คดั ค้ านหรื อต่อต้ านเป็ นลาดับที่สอง
ในอันที่จริ ง ความคิดเห็นของปั ญญาชนทังสองกลุ ้ ่มอาจจะเกิดขึ ้นพร้ อมๆ กัน หรื อเกิดขึ ้น
ในห้ วงเวลาเดียวกัน แต่ความคิดเห็นของฝ่ ายสนับสนุนนันเห็ ้ นได้ ชดั ว่า มี อิทธิพลและมีพลังอย่าง
มากอยูใ่ นช่วงเวลาแรกภายหลังการสถาปนาระบอบรัฐธรรมนูญขึ ้นเป็ นผลสาเร็ จ ด้ วยเหตุนี ้ ความ
คิดเห็นของกลุ่ม/พันธมิตรที่คดั ค้ านต่อต้ านเหตุการณ์ 24 มิถนุ ายน 2475 จึงดูว่าจะไม่มีพลังมาก
นักในช่วงเวลาแรก แต่จะมีเสียงที่ดงั มากขึ ้น และมีความสาคัญมากขึ ้นภายหลังสิ ้นสุดสงครามโลก
ครัง้ ที่สองเป็ นต้ นมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งภายหลังการรัฐประหารปี 2490 ซึ่งเป็ นช่วงเวลาที่กลุ่ม
ก้ าวหน้ าของคณะราษฎร นาโดยปรี ดี พนมยงค์ ได้ เสื่อมอานาจลงไปนัน้ กล่าวได้ ว่า ความคิดเห็น
ของกลุ่ม/พันธมิตรที่คดั ค้ านและต่อต้ านเหตุการณ์ 24 มิถนุ ายน 2475 จะมี อิทธิพลและมีพลังขึ ้น
มาก รวมทังมี ้ อย่างต่อเนื่องตราบจนปั จจุบนั

*
คณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

1
ในประการต่อมา และโดยเหตุผลที่ ได้ กล่าวแล้ วว่า การศึกษาในที่นี ้ ได้ จัดลาดับความ
คิดเห็นของฝ่ ายสนับสนุนขึ ้นก่อน และศึกษาความคิดเห็นของฝ่ ายต่อต้ านในภายหลัง บทความนี ้
จึงขอใช้ คาว่า “การปฏิวตั สิ ยาม 2475” เป็ นแกนกลางของการเล่าเรื่ องทังหมด ้ ทังนี
้ ้ เพื่อให้ เกิดการ
เปรี ยบเทียบความคิดเห็นของทังสองฝ่ ้ ายได้ อย่างมีระบบว่ามีลกั ษณะที่เหมือนกันและแตกต่างกัน
อย่างไร
ในการศึกษาเรื่ องราวในลักษณะนี ้ ในอันที่จริ งสามารถกระทาได้ ในหลายลักษณะ ทังที ้ ่
เป็ นการศึกษาปั ญญาชนและผู้คนที่เกี่ ยวข้ องกับทัง้ สองฝ่ ายทัง้ หมด ทัง้ ในอดีตและในปั จจุบัน
ประการหนึ่ง และศึกษาความคิดต้ นแบบ ซึ่งปั ญญาชนคนสาคัญๆ ของทังสองกลุ ้ ่มได้ คิดและได้
เขียนคาอธิบายของตนไว้ ด้วยตนเองอย่างโดดเด่นในอีกประการหนึง่ อย่างไรก็ดี ด้ วยข้ อจากัดบาง
ประการ ผู้เขียน ขอเลือกใช้ แนวทางการศึกษาในประการหลัง ทังนี ้ ้ เพื่อให้ เกิดความเข้ าใจที่ชดั เจน
และเพื่ อให้ เ ห็นลัก ษณะที่ เ ป็ นจุดกาเนิ ด และเป็ นแบบแผนของความคิดเห็ นของทัง้ สองกลุ่ม /
พันธมิตรเป็ นสาคัญ ฉะนัน้ ในที่นี ้ ผู้เขียนจึงได้ เลือกนักคิดที่มีความโดดเด่นและมี สามารถเป็ น
ตัวแทนของแต่ละกลุม่ /พันธมิตร โดยเลือกกลุม่ /พันธมิตรละ 3 คน โดยที่ตวั แทนของกลุ่ม/พันธมิตร
แรก ได้ แก่ หม่อมเจ้ าวรรณไวทยากร วรวรรณ, ปรี ดี พนมยงค์ และกุหลาบ สายประดิษฐ์ ส่วนตัว
แทนของกลุม่ /พันธมิตรที่คดั ค้ านต่อต้ านการปฏิวตั สิ ยาม 2475 ผู้เขียนได้ เลือกที่จะศึกษางานเขียน
ของ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช, จงกล ไกรฤกษ์ และ อุดม ศรี สวุ รรณ เป็ นตัวแทน
แน่นอนว่าบุคคลทัง้ 6 ท่านนัน้ มีลักษณะเฉพาะของตนเองอยู่ด้วยเป็ นอันมาก และใน
หลายๆ กรณีแต่ละคนต่างมีความขัดแย้ งกันเอง และมีการกล่าวโจมตีกันเองอยู่ด้วย ซึ่งอาจทาให้
ไม่สามารถจัดเป็ นกลุ่มเดียวกันได้ ในหลายๆ เรื่ อง แต่กล่าวเฉพาะเหตุการณ์ 24 มิถุนายน 2475
แล้ ว พบได้ ว่า 3 คนแรก มี การแสดงความคิดเห็นที่ สนับสนุนและให้ การรั บรองเหตุการณ์ 24
มิถุนายน 2475 ว่ามี ความชอบธรรมทางการเมื อง และมีส่วนสาคัญในการผลักดันให้ ประเทศ
สยามกลายเป็ นรัฐสมัยใหม่ มีการปกครองอย่างใหม่ที่ดีกว่าที่เป็ นมาแต่เดิม ความคิดเห็นและ
จุดยืนดังกล่าวตรงข้ ามโดยสิ ้นเชิงกับความเห็นร่ วมกันของ 3 คนในกลุ่ม/พันธมิตรกลุ่มหลัง ที่เห็น
ว่า เหตุก ารณ์ 24 มิ ถุน ายน 2475 นอกจากจะไม่ไ ด้ มี ค วามส าคัญ แต่ป ระการใด แล้ ว ยัง เป็ น
เหตุการณ์ ที่ได้ สร้ างความชั่วร้ าย หรื อความเลวร้ ายขึน้ ในระบบการเมืองไทยอย่างต่อเนื่องเป็ น
เวลานาน

กลุ่ม/พันธมิตรที่ให้ กำรสนับสนุนกำรปฏิวัติ 2475

2
หม่อมเจ้ าวรรณไวทยากร วรวรรณ
หม่อมเจ้ าวรรณไวทยากร วรวรรณ (ประสูติ พ.ศ.2434 และสิ ้นพระชนม์เมื่อ พ.ศ. 2519)
ทรงเป็ นโอรสพระเจ้ าบรมวงศ์เธอกรมพระนราธิปประพันธ์ พงศ์ กับหม่อมหลวงต่วนศรี วรวรรณ
ทรงจบการศึกษาชันมั ้ ธยมจากโรงเรี ยนราชวิทยาลัยในปี พ.ศ.2448 และได้ ทรงศึกษาต่อที่ประเทศ
อังกฤษจนสาเร็ จการศึกษาชันปริ้ ญญาโทจากมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ ด ทางด้ านประวัติศาสตร์
และการทูต หลังจากนัน้ ได้ ทรงเข้ ารับราชการในกระทรวงการต่างประเทศ เป็ นปลัดทูลฉลอง และ
เป็ นอัครทูตไทย ณ กรุงลอนดอน อย่างไรก็ดี ในปี พ.ศ.2472 ได้ ทรงลาออกจากราชการกระทรวง
การต่างประเทศ และเสด็จ กลับมาประเทศสยาม โดยเป็ นศาสตราจารย์ ในคณะอักษรศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และในปี พ.ศ.2475 ได้ ก่อตังหนั ้ งสือพิมพ์ “ประชาชาติ” ขึ ้น ทรงมีงาน
นิพนธ์เป็ นจานวนมากในทางรัฐศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์ การต่างประเทศ และภาษาศาสตร์ และเป็ น
ที่ปรึ กษาของกระทรวงต่างประเทศ รวมทังเป็ ้ นที่ปรึ กษาของนายกรัฐมนตรี ในทางกฎหมายและ
การเมืองอีกตาแหน่งหนึง่ ด้ วยนับตังแต่
้ ปี พ.ศ.2476 เป็ นต้ นมา
ในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ไม่ปรากฏหลักฐานว่าหม่อมเจ้ าวรรณไวทยากร วรวรรณ
ได้ แสดงความคิดเห็นวิพากษ์ วิจารณ์การเมืองอันใดไว้ ทังที ้ ่โดยส่วนลึกของพระทัย พระองค์ทรง
กล่าวไว้ ภายหลังเหตุการณ์ 24 มิถนุ ายน 2475 ว่า “ข้ าพเจ้ านิยมการปกครองแบบรัฐธรรมนูญนี ้มา
ช้ านานแล้ ว”1 เหตุผลประการหนึ่งคงเป็ นเพราะทรงเป็ นหม่อมเจ้ า ย่อมทรงอยู่ในขอบเขตของ
โบราณราชประเพณีที่ถือว่าองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั ทรงเป็ นประมุขทังของประเทศและ

ของพระราชวงศ์ ดังนัน้ พระราชวินิจฉัยต้ องผูกมัดพระราชวงศ์ทงหมดไม่ั้ ว่ากฎหมายบ้ านเมืองจะ
เปลี่ยนแปลงไปอย่างไรก็ตาม 2 ในประการต่อมาคงเป็ นเพราะพระอัธยาศัยของพระองค์เอง ซึ่งใน
ตลอดพระชนม์ชีพ ไม่ทรงเคยแสดงความคิดที่รุนแรงคัดค้ านผู้มีอานาจโดยตรงเลย 3 แม้ ว่าจะทรงมี
ความคิดความรู้ทางการเมืองก็เป็ นของส่วนตัวไม่ใช่เรื่ องที่จะต้ องไปโฆษณาในที่สาธารณะ เพราะ
ไม่ต้องด้ วยวัฒนธรรมประเพณีภายในกลุ่มสังคมของตน นอกจากนี ้เฉพาะในส่วนของหม่อมเจ้ า
วรรณไวทยากรในอีกประการหนึ่ง น่าจะเนื่ องมาจากการที่ ทรงเป็ นนักการทูต เพราะโดยหลัก
วิชาชีพของนักการทูตของไทยไม่พึงแสดงความคิดทางการเมืองแบบใดแบบหนึ่งให้ ปรากฏอย่าง

1
พระองค์เจ้ าวรรณไวทยากร, อภิปรำยร่ ำงรัฐธรรมนูญแห่ งรำชอำณำจักรไทย (พระนคร: ไทย
พานิช, 2488), หน้ า 8.
2
เรื่ องเดียวกัน, หน้ า 40 – 41.
3
พระยามานวราชเสวี (บรรณาธิการ), ชุมนุมนิพนธ์ เพื่อถวำยพระเกียตริแด่ พลตรี พระเจ้ ำวรวงศ์
เธอกรมหมื่นนรำธิปพงศ์ ประพันธ์ (พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์ , 2506), หน้ า 11.

3
เห็นได้ ชัด มี แต่ผ ลประโยชน์ รวมของชาติเท่า นัน้ ที่ ต้องรั กษา ทัง้ นี ห้ ลักการดัง กล่าวย่อมมี การ
เปลี่ยนแปลงไปได้ ตามสถานการณ์การเมืองภายในและการเมืองระหว่างประเทศ4
เมื่อมีการยึดอานาจวันที่ 24 มิถุนายน 2475 ได้ สาเร็ จเรี ยบร้ อยแล้ ว พระองค์ทรงแสดง
ความคิดเห็นอย่างส าคัญ โดยไม่ชัก ช้ าในสองประการ คือ หนึ่ง เรื่ องภาษาการเมื องที่ พึงใช้ ใน
ระบอบการเมืองสมัยใหม่ กับ สอง คือ หลักวิชารัฐศาสตร์ ที่เกี่ยวข้ องด้ วยกับรัฐธรรมนูญและสภา
ผู้แทนราษฎร ทังสองประการนี
้ ้กล่าวโดยทัว่ ไปแล้ วเป็ นเรื่ องที่ผ้ คู นจานวนหนึ่งอาจจะพอมีความนึก
คิดอยู่บ้าง แต่ในเรื่ องนี ด้ งั กล่าวนี ้ เราสามารถกล่าวได้ ว่า หม่อมเจ้ าวรรณไวทยากร วรวรรณ ทรง
เป็ นนักปราชญ์ของประเทศที่ให้ ความสาคัญกับเรื่ องดังกล่าวมากที่สดุ ตัวอย่างเช่น ในคราวแสดง
ปาฐกถาที่จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปลายปี พ.ศ.2475 พระองค์ทรงกล่าวถึงเรื่ องภาษาไว้ ว่ามี
ความสาคัญในอันที่จะช่วยให้ มีการเปลี่ยนแปลง ในขณะเดียวกันก็มีการรักษาระเบียบแบบเดิมๆ
เอาไว้

“…ภาษาไทยนี ้แหละจะเป็ นหลักประกันแห่งความมัน่ คงของประชาชาติไทยต่อไป


เพราะว่า ถ้ าเรานิยมใช้ คาฝรั่งทับศัพท์ในคาที่เกี่ยวกับความคิดเห็นแล้ ว เราอาจ
เดินเร็วเกินไปก็ได้ กล่าวคือเราอาจถ่ายแบบของเขามาโดยตรง แทนที่จะดัดแปลง
เสียก่อนให้ เข้ ารูปเข้ าทานองความคิด…”5

และจากฐานทางปรั ช ญาความคิดว่าด้ ว ยภาษาเป็ นตัวก ากับวิ ธี คิดของมนุษ ย์ แ ละกากับ การ


เปลี่ยนแปลงของโลกนี ้เอง ส่งผลให้ พระองค์มีบทบาทอย่างแข็งขันและต่อเนื่องในการถ่ายศัพท์
จากต่างประเทศให้ เข้ ารูปกับทานองความคิดของไทย ซึ่งมีตวั อย่างที่น่ากล่าวถึงในที่นี ้ ได้ แก่ พระ
อธิบายในความหมายของคาว่า “ปฏิวตั ิ” เพื่อใช้ ทดแทนคาว่า “พลิกแผ่นดิน” หรื อ “เปลี่ยนแปลง
การปกครอง” ซึง่ ปั ญญาหลายคนในเวลานันได้ ้ ใช้ กนั อยู่
คาว่า “ปฏิวตั ิ” เป็ นคาซึ่งพระองค์ทรงบัญญัติขึ ้นเพื่อเรี ยกเหตุการณ์วนั ที่ 24 มิถนุ ายน
พ.ศ.2475 แทนคาว่า “รัฐประหาร” หรื อคาว่า “ยึดอานาจ” หรื อ “เปลี่ยนแปลงการปกครอง” ซึ่ง
ฝ่ ายคณะราษฎรในสมัยแรกๆ นันนิ ้ ยมใช้ รวมทังค
้ าว่า “พลิกแผ่นดิน” ซึ่งหลวงวิจิตรวาทการได้ ใช้
อยูใ่ นปี พ.ศ.2475 พระองค์ทรงให้ เหตุผลว่า คาที่กล่าวมาทังหมดเป็
้ นคาเก่า ไม่เหมาะสาหรับการ

4
หลวงภัทรวาที, “การทูตดัง่ ที่ข้าพเจ้ าเรี ยนรู้มาจากเสด็จในกรม” ใน ชุมนุมนิพนธ์ เพื่อถวำยพระเกีย
ตริแด่ พลตรี พระเจ้ ำวรวงศ์ เธอกรมหมื่นนรำธิปพงศ์ ประพันธ์ , หน้ า 1 – 7 และดู สง่า นิลกาแหง และ
คณะ, ปำฐกถำของข้ ำรำชกำรกระทรวงกำรต่ ำงประเทศ (พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์ , 2486).
5
หม่อมเจ้ าวรรณไวทยากร, “ปาฐกถาพิเศษเรื่ องสยามพากย์”, วิทยำจำรย์ , ปี ที่ 33 ฉบับที่ 1, 2475,
หน้ า 67.

4
สื่อความหมายของการเปลี่ยนแปลงวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.2475 เนื่องด้ วยมีความสาคัญมาก
ดังนัน้ จึงควรมีคาใหม่ที่ถอดมาจากคาว่า Revolution ในการนี ้พระองค์ทรงแปลคาดังกล่าวว่าการ
“ปฏิวตั ิ” ซึ่งมีความหมายทางการเมืองแฝงไว้ อย่างสาคัญ ว่าคือการหมุนกลับหรื อหมุนรอบของ
หลักมูลฐานในทางการเมืองการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไปสู่ประชาธิปไตย

“…การเปลี่ยนแปลงของเรานัน้ ไม่ใช่การพลิกแผ่นดินแต่เป็ น Revolution การ


เปลี่ยนแปลงจากราชาธิ ปไตยมาเป็ นระบอบรัฐธรรมนูญนัน้ แม้ ไทยจะว่ากระไร
ฝรั่งก็วา่ เป็ น Revolution เพราะเป็ นการเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวง เพราะฉะนัน้
ถ้ าไม่ใช่คาว่าปฏิวตั กิ ็จะเข้ าใจความคิดเห็นของฝรั่งในเรื่ องนี ้หาได้ ไม่”6

พระอธิบายข้ างต้ นมีหลักเหตุผลเป็ นที่ยอมรับของชนชันน้ าจานวนมากในสมัยนัน้ และใน


ระยะต่อมาด้ วย ทัง้ ที่ ตามความจริ ง คณะราษฎรฝ่ ายพลเรื อนยัง นิยมเรี ยกเหตุการณ์ วันที่ 24
มิถนุ ายน พ.ศ.2475 ว่าคือการยึดอานาจ (coup d’etat) มากกว่า ทังนี ้ ้เพื่อให้ ราษฎรเข้ าใจว่าสิ่ง
สาคัญที่ต้องกระทาต่อไปในวันข้ างหน้ ายังมีอีกมาก นับตังแต่
้ การแก้ ไขรัฐธรรมนูญ การบารุ งสุข
สมบูรณ์ทางเศรษฐกิจ และการแสวงหาเอกราชสมบูรณ์ 7 ส่วนหม่อมเจ้ าวรรณไวทยากร วรวรรณ
กลับทรงเห็ นว่า การแปรสภาพมูล ฐานทางสัง คมการเมื อ งได้ เ กิ ดขึน้ เรี ยบร้ อยแล้ วในวันที่ 24
มิถนุ ายน 2475และโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ.2475 เพียงแต่อาการที่จะเป็ นไป
ในวันข้ างหน้ าย่อมอยูใ่ นเงื่อนไขแห่งกาลเทศะ ขยายความได้ วา่

“…ในการปฏิวตั ิหรื อเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองนันเปรี ้ ยบประดุจการแกว่ง


แห่งลูกตุ้มนาฬิกา ถ้ าแกว่งไปข้ างซ้ ายไกลย่อมกลับแกว่งไปข้ างขวาไกล ถ้ าแกว่ง
แรงไปข้ างหนึ่งก็ย่อมกลับแกว่งแรงไปอีกข้ างหนึ่ง แต่ถ้าแกว่งพอประมาณตาม
สมควรแล้ ว อาการแกว่งก็จะเป็ นไปตามปรกติวิสยั ด้ วยความราบรื่ นเรี ยบร้ อย”8

6
กรมพระนราธิปพงศ์ประพันธ์, วิทยำสำรำนุกรม (พระนคร: แพร่พิทยา, 2514), หน้ า 252 – 253.
7
ปรี ดี พนมยงค์ ได้ อธิบายในภายหลังว่า คณะราษฎรไม่ได้ ถือเรี ยกเหตุการณ์ 24 มิถนุ ายน พ.ศ.2475
ว่าเป็ นการ “ปฏิวตั ”ิ รวมทังไม่
้ ได้ ทะนงตนว่าเป็ นนักปฏิวตั ิด้วย เนือ่ งด้ วยเหตุการณ์วนั ที่ 24 มิถนุ ายน วันเดียว
เป็ นการยึดอานาจจากกษัตริ ย์ ซึง่ เป็ นเงื่อนไขจาเป็ นต่อการนาการเปลีย่ นแปลงในวันอื่นๆ ต่อไปอีกหลายเรื่ องใน
วันข้ างหน้ า ตัวอย่างเช่น การยกเลิกเงินรัชชูปการ การยกเลิกการยึดทรัพย์กสิกร การแก้ ไขสนธิสญ ั ญาให้ ประเทศ
มีเอกราชสมบูรณ์ และการแก้ ไขรัฐธรรมนูญต่อไปให้ เป็ นรัฐธรรมนูญประชาธิปไตยสมบูรณ์ เป็ นต้ น ดูใน นำย
ปรีดีตอบคำถำม (กรุงเทพฯ: อมริ นทร์ การพิมพ์, 2525), หน้ า 43 – 65.
8
กรมพระนราธิปพงศ์ประพันธ์, วิทยาวรรณกรรม (พระนคร: แพร่ พิทยา, 2514), หน้า 1025.

5
นัน่ หมายความว่า การเปลี่ยนแปลงใดๆ ที่มากเกินกว่าในเรื่ องของหลักมูลย่อมเกิดขึ ้นได้
เนื่ องด้ ว ยผู้คนนัน้ มี อารมณ์ ม ากกว่าหลักเหตุผล แต่ก ารเปลี่ ยนแปลงชนิ ด นัน้ ก็ เ หมื อนลูก ตุ้ม
นาฬิกา คือแกว่งไปแกว่งมาเท่านันเอง ้ ต่างจากอาการแกว่งที่พอดีจากฐานของหลักมูลซึ่งเป็ นสิ่งที่
พึ่งปรารถนามากที่สุด เพราะเป็ นการเปลี่ยนแปลงอย่างสาคัญที่จะทาให้ บ้านเมืองมีความสงบ
เรี ยบร้ อยเป็ นปกติสขุ ได้
นอกจากค าดัง กล่า วแล้ ว หม่อ มเจ้ า วรรณไวทยากร วรวรรณ ยัง ได้ ท รงบัญ ญัติศัพ ท์
ทางการเมื องขึน้ อี ก เป็ นจ านวนมาก ซึ่ง หลายคาเลยที เ ดียวได้ รับ การยอมรั บอย่างแพร่ ห ลาย
ตัวอย่างเช่น คาว่า ประชาชน ลัทธิรัฐธรรมนูญ รัฐศาสตร์ สัญญาประชาคม มติมหาชน เป็ นต้ น
ส าหรั บแนวความคิดของหม่อ มเจ้ าวรรณไวทยากร ในอี กประการหนึ่ง ที่ เกี่ ยวข้ องกับ
รัฐธรรมนูญและกิจกรรมของสภาผู้แทนราษฎร เป็ นเรื่ องที่แน่ชดั ว่าพระองค์ทรงสนับสนุนระบอบ
ใหม่ อ ย่ า งแข็ ง ขัน โดยทรงใช้ วิ ช าความรู้ อธิ บ ายปรากฏการณ์ ต่า งๆ ที่ เ กิ ด ขึ น้ และด ารงอยู่
ตัวอย่างเช่น คาว่า “รั ฐธรรมนูญ ” เป็ นคาที่พ ระองค์ทรงมีส่วนบัญญัติขึน้ ใช้ แทนคาว่า “พระ
ธรรมนูญ” และแทนคาว่า “พระราชบัญญัติ” 9 พระองค์ทรงกล่าวว่าทรงนิยมชมชอบหลักการของ
ลัทธิรัฐธรรมนูญมาเป็ นเวลานานแล้ ว เนื่องด้ วยหลักการนี ้มีความสาคัญยิ่ง เพราะเป็ นหลักแห่ง
ชีวิตการเมืองของประเทศ พระองค์ทรงเห็นว่ารัฐธรรมนูญของไทยควรเปรี ยบเทียบได้ เฉพาะแต่
อัง กฤษและฝรั่ ง เศส และไม่ค วรน ารั ฐ ธรรมนูญ ของไทยไปเปรี ย บเที ย บกับ ญี่ ปุ่ นเป็ นอัน ขาด
เนื่องจากมีภาพลวงตาอยู่มาก เพราะในประเทศญี่ ปนสมเด็ ุ่ จพระจักรพรรดิมิได้ ทรงใช้ อานาจมา
นานแล้ ว และรัฐธรรมนูญญี่ ปนเป็ ุ่ นรัฐธรรมนูญที่ฝ่ายพระมหากษัตริ ย์พระราชทานเองโดยตรง 10
ซึ่งตรงกันข้ ามกับประเทศไทยที่มีคณะราษฎรเป็ นผู้ก่อการ ทาการปฏิวตั ิเปลี่ยนแปลงไปสู่ระบอบ
รัฐธรรมนูญ
ส าหรั บ กิ จ กรรมของสภาผู้แ ทนราษฎรนัน้ หม่อมเจ้ า วรรณไวทยากร วรวรรณ ทรงมี
ความเห็นว่า การเมืองภายในระบอบรัฐสภาต้ องให้ สภาผู้แทนราษฎรควบคุมรัฐบาลอยู่เนืองนิตย์
นัน่ คือสมัยของการประชุมของสภาควรมีประมาณครึ่ งปี เป็ นอย่างน้ อย รัฐบาลเป็ นเพียงอุปกรณ์
ดาเนินการของอานาจอธิปไตย ฉะนัน้ หากมีประชุมสภาแต่น้อยวัน หรื อมีสมัยการประชุมไม่นาน
นัก อานาจทางการเมืองและการบริ หารย่อมตกไปอยู่ในมือของคณะผู้บริ หารประเทศจานวนน้ อย
คน และเรื่ องนี ้ประชาชนในระบอบประชาธิปไตยต้ องระมัดระวังมากที่สดุ 11

9
พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร, อภิปรายร่ างรัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย.
10
เรื่ องเดียวกัน, 4 – 5.
11
เรื่ องเดียวกัน, 142 – 143.

6
พิจารณาแนวความคิดของหม่อมเจ้ าวรรณไวทยากร วรวรรณ ดั งกล่าว ย่อมเห็นได้ ว่า
พระองค์ทรงเป็ นผู้ที่มีความรอบรู้และทรงนิยมหลักลัทธิรัฐธรรมนูญอย่างมากคนหนึ่งของยุคสมัยนี ้
พระองค์มีความประสงค์ประคับประคองระบอบใหม่ให้ แกว่งต่อไปแบบ “ลูกตุ้มนาฬิกาที่ แกว่ง
พอประมาณ” กล่าวคือ ให้ การเปลี่ยนแปลงเป็ นดาเนินอย่างค่อยเป็ นค่อยเป็ นไป และเป็ นที่ยอมรับ
ได้ ของคนส่วนใหญ่
บทบาทในทางการเมืองของหม่อมเจ้ าวรรณไวทยากร วรวรรณ มีจุดเปลี่ยนแปลงอย่าง
สาคัญในช่วงต้ นปี พ.ศ.2476 เมื่อรัฐบาลพระยามโนปกรณ์นิติธาดาได้ ตราพระราชกฤษฎีกาให้ ปิด
ประชุมสภาผู้แทนราษฎรและงดใช้ รัฐธรรมนูญบางมาตราในวันที่ 1 เมษายน พ.ศ.2476 รวมทัง้
ตราพระราชบัญญัติคอมมิวนิสต์ พุทธศักราช 2476 ในวันถัดมา ในสถานการณ์ เช่นนี ้ ดูจะเป็ น
เหตุการณ์ เพียงครัง้ เดียวเท่านันที
้ ่พระองค์ได้ ตดั สินพระทัยเสี่ยงภัยทาการวิจารณ์ รัฐบาลอย่าง
รุนแรง โดยมีบทความในหน้ าหนังสือพิมพ์ประชาชาติ กล่าวว่าการประกาศงดใช้ รัฐธรรมนูญบาง
มาตราของฝ่ ายรัฐบาลทาให้ รัฐธรรมนูญคงเหลือแต่มาตรา “ที่ไม่มีสาระเป็ นอย่างยิ่ง”12 ทรงกล่าว
วิจ ารณ์ พ ระราชบัญญัติคอมมิ วนิสต์ของรั ฐบาลว่า “ถ้ ากล่าวพูดตามหลักวิชาแล้ ว เรากาหนด
ความหมายในลัท ธิ ค อมมิ ว นิ ส ต์ ก ว้ างกว่ า ที่ ฝ รั่ ง เขาเข้ าใจกัน คื อ เรารวมลัท ธิ ค อเล็ ค ติ วิ ส ต์
(Collectivism) หรื อลัทธิสเตตโซเซียลิสม์ (State Socialism) เข้ าไปด้ วย”13
จากเหตุการณ์ ความผันผวนทางการเมื องในครั ง้ นี ้ และถัดต่อมา เมื่ อพระยาพหลพล
พยุหเสนาได้ ก้าวขึ ้นมาเป็ นนายกรัฐมนตรี นบั จากเดือนมิถุนายน 2476 เป็ นต้ นไป ปรากฏว่าทาง
รัฐบาลได้ เชิญให้ หม่อมเจ้ าวรรณไวทยากร วรวรรณ ไปเป็ นที่ปรึ กษาของรัฐบาล พระองค์ทรงเข้ า
ร่ ว มประชุม สภาผู้แ ทนราษฎรเป็ นประจ าในฐานะที่ ปรึ กษาของนายกรั ฐ มนตรี และที่ ป รึ ก ษา
กระทรวงการต่างประเทศ และเมื่อที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีข้อติดขัดในเรื่ องหลักวิชารัฐศาสตร์
ทางรั ฐ บาลก็ ร้ องขอประธานสภาผู้แ ทนราษฎรอนุญ าตให้ ห ม่อ มเจ้ า วรรณไวทยากร ทรงให้
คาอธิบายแก่ที่ประชุม14 อาจกล่าวได้ วา่ ความคิดเห็นของพระองค์ทรงมีความสาคัญต่อการจรรโลง
การปกครองในระบอบใหม่ และช่วยเสริ มเจตนารมณ์ของฝ่ ายคณะราษฎรในการจัดการปกครอง
ในระบอบกษัตริ ย์อยู่ใต้ กฎหมาย และยังช่วยประคับประคองระบอบรั ฐธรรมนูญให้ เดินทางสาย
กลาง ที่มีความต่อเนื่องจากระบอบเก่าและไม่ใช่เป็ นการเปลี่ยนแปลงไปอย่างถอนรากถอนโคน ซึ่ง
แนวทางการเปลี่ยนแปลงทางสังคมการเมืองและทางความคิด แบบค่อยเป็ นค่อยไปนี ้ เชื่อว่าจะทา
ให้ ระบอบใหม่ดาเนินไปได้ อย่างราบรื่ นและมีเสถียรภาพ

12
ประชาชาติ, 8 เมษายน 2476.
13
ประชาชาติ, 29 เมษายน 2476.
14
รายงานประชุมสภาผูแ้ ทนราษฎร ครั้งที่ 22/2477, 17 กุมภาพันธ์ 2477.

7
หลวงประดิษฐ์ มนูธรรม หรือ ปรีดี พนมยงค์
หลวงประดิษฐ์ มนูธรรม (ปรี ดี พนมยงค์, พ.ศ.2443 – 2526) เกิดที่ตาบลท่าวาสุกรี อาเภอ
กรุ งเก่า จังหวัดพระนครศรี อยุธยา เป็ นบุตรนายเสียง กับนางลูกจันทร์ พนมยงค์ เรี ยนหนังสือชัน้
มัธยมจากโรงเรี ยนสวนกุหลาบ ต่อมาได้ เข้ าศึกษาที่โรงเรี ยนกฎหมายของกระทรวงยุติธรรม และ
สาเร็ จการศึกษาจากโรงเรี ยนกฎหมายได้ เป็ นเนติบณ ั ฑิตสยามเมื่อปี พ.ศ.2462 หลังจากนัน้
เดินทางไปศึกษาต่อที่ประเทศฝรั่งเศสจนจบปริ ญญาเอกแห่งรัฐ จากมหาวิทยาลัยปารี ส และได้
ประกาศนียบัตรการศึกษาชัน้ สูงในทางเศรษฐศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยปารี สอี กสาขาหนึ่ ง ใน
ระหว่ า งที่ ศึก ษาอยู่ใ นประเทศฝรั่ ง เศสนัน้ ปรี ดี เ ป็ นหนึ่ ง ในเจ็ ด ของผู้ร่ ว มก่ อ การจัด ตัง้ กลุ่ ม
“คณะราษฎร” เพื่อเปลี่ ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิ ราชย์เป็ นระบอบ
ราชาธิปไตยภายใต้ รัฐธรรมนูญ กลุ่มคณะราษฎรนี ้ได้ ประชุมกันเป็ นครัง้ แรกที่กรุงปารี ส ในเดือน
กุมภาพันธ์ พ.ศ.2469 (ปฏิทินใหม่คือปี พ.ศ.2470) ถัดต่อมาในปี พ.ศ.2470 ปรี ดีได้ เดินทางกลับ
ประเทศสยาม และทางานเป็ นผู้พิพากษา กับเป็ นผู้ช่วยเลขานุการ กรมร่างกฎหมาย รวมทังเป็ ้ น
อาจารย์สอนหนังสือที่โรงเรี ยนกฎหมายในแผนวิชากฎหมายฝรั่งเศส ซึ่งถือได้ ว่า ปรี ดีเป็ นอาจารย์
ชาวไทยคนแรกๆ ที่ได้ บรรยายในแผนกวิชานี 15้ รวมทังเป็ ้ นเจ้ าของโรงพิมพ์และผู้พิมพ์วารสาร
กฎหมายชื่อ “นิตสิ าส์น” (พ.ศ.2471 – ปั จจุบนั ) ในระยะเริ่มแรกด้ วย
ในเดือนมิถนุ ายน พ.ศ.2475 ปรี ดีได้ ร่วมทาการยึดอานาจจากรัฐบาลของกษัตริ ย์ในฐานะ
หัวหน้ ากลุ่มพลเรื อนของ “คณะราษฎร” ตามเจตนารมณ์ที่มีมาแต่เดิม และหลังจากนันก็ ้ ได้ มี
บทบาทเป็ นผู้นาในการบริหารงานการเมืองในหลายๆ ด้ าน ตัวอย่างเช่น เป็ นกรรมการราษฎร เป็ น
อนุกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ และเป็ นผู้ร่างเค้ าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติในปลายปี พ.ศ.2475 ซึ่ง
ได้ รับคาวิจารณ์ว่าเป็ นโครงการแบบคอมมิ วนิสต์ อันเป็ นสาเหตุของการถูกเนรเทศไปต่างประเทศ
ระยะหนึ่ง แต่ก็ได้ กลับมามีบทบาทอีกครัง้ หนึ่ง ตามคาเชื ้อเชิญของคณะรัฐบาลพระยาพหลพล
พยุหเสนานับตังแต่ ้ เดือนกันยายน พ.ศ.2476 เป็ นต้ นมา นอกจากนี ้ ปรี ดียงั เป็ นผู้ประศาสน์การ
มหาวิทยาลัยวิช าธรรมศาสตร์ และการเมื อง เป็ นรั ฐมนตรี ว่าการกระทรวงมหาดไทย และเป็ น
รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงต่างประเทศในระหว่างปี พ.ศ.2477 จนถึงปี พ.ศ.2480

15
แต่เดิมการศึกษาวิชากฎหมายของสยามในระยะแรกเป็ นไปตามแบบแผนของอังกฤษแนวทางเดียว
เท่านัน้ ต่อมาเมื่อสยามได้ ประกาศใช้ กฎหมายลักษณะอาญาในปี พ.ศ.2451 และโดยแรงผลักดันของรัฐบาล
ฝรั่งเศส โรงเรี ยนกฎหมายจึงได้ มกี ารเปิ ดการเรี ยนการสอนแผนกกฎหมายฝรั่งเศสขึ ้น สาหรับการศึกษาใน
ช่วงแรกนันเนื
้ ่องจากแผนกกฎหมายฝรั่งเศสเพิ่งเปิ ดสอนได้ ไม่นานนัก จึงไม่มีอาจารย์ชาวไทยบรรยาย และใช้
ผู้บรรยายเป็ นชาวฝรั่งเศสเป็ นส่วนใหญ่ เช่น นาย ร.แลงกาต์, นายเอกูต์ และนายดูปลาตร์ เป็ นต้ น

8
สาหรับแนวคิดทางการเมืองของหลวงประดิษฐ์ มนูธรรมหรื อปรี ดี พนมยงค์นนั ้ กล่าวได้
สรุปว่า เป็ นไปตามกรอบวิธีคิดของนักเรี ยนกฎหมายฝรั่งเศส กล่าวคือ ปรี ดีเชื่อว่ามนุษย์ทกุ คนนัน้
ย่อมเกิดมามีทงสิ ั ้ ทธิและหน้ าที่ที่จะดารงชีวิต และรวบรวมกันอยู่ได้ เป็ นหมู่คณะ ดังนัน้ สิทธิและ
หน้ าที่ เหล่านีย้ ่อมมีขึน้ จากสภาพตามธรรมดาของการเป็ นมนุษย์นนั ้ เอง ซึ่งอาจจาแนกได้ เป็ น
ความอิสรเสรี ภาพ ความเสมอภาคหรื อสมภาพ และความช่วยเหลือซึ่งกันและกั นฉันท์พี่น้องหรื อ
ภราดรภาพ16 หลักแนวคิดดังกล่าวแม้ ดเู ป็ นของตะวันตก คือถือกาเนิดในประเทศฝรั่งเศส แต่ก็ดจู ะ
เป็ นความจริ งเช่นกันว่า มนุษย์สามารถมีความเชื่อและศรัทธาได้ โดยไม่มีปัญหาว่าหลักการนันถื ้ อ
กาเนิดในประเทศใด ในกรณี นี ้ ปรี ดีเป็ นคนแรกที่ได้ อธิบายเรื่ องสิทธิ และเสรี ภาพในที่สาธารณะ
ในขณะที่โดยทั่วไปในขณะนัน้ ผู้คนและข้ าราชการยังคงมีความเชื่อกันว่า เงินเดือนที่ได้ รับโดย
หลักการแล้ วไม่ถือว่าเป็ น “สิทธิ” หากเป็ นบาเหน็จที่พระเจ้ าแผ่นดินทรงพระกรุณาพระราชทานแก่
“ข้ าแผ่นดิน” ของพระองค์17
นอกจากนี ้ ปรี ดีก็ยังมีความเห็นว่า ประเทศที่เจริ ญแล้ วทัง้ หลาย จะต้ องมีการแบ่งแยก
อานาจสูงสุดออกจากกัน เพื่อให้ มีการตรวจสอบและทัดทานกัน ซึ่งหลักการแบ่งแยกอานาจเช่นนี ้
เห็นได้ ชัดว่าไม่มีอยู่ในประเพณี การปกครองของประเทศสยามก่อนหน้ าการเปลี่ ยนแปลงการ
ปกครองในปี พ.ศ.247518 ฉะนัน้ เมื่อประเทศสยามได้ เ จริ ญก้ าวหน้ าขึน้ ตามลาดับ ก็มีความ
จาเป็ นต้ องรับหลักการดังกล่าว โดยนาเข้ ามาเพื่ อเปลี่ยนแปลงแก้ ไ ขหลักการเดิมของประเทศ
สยามของเราเอง
จากแนวคิดทางการเมืองดังกล่าว ส่งผลให้ ปรี ดี พนมยงค์ อธิบายการเมืองสยามก่อนปี
พ.ศ.2475 ว่าคือ ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ที่มีลกั ษณะเด่นคือมีรัฐบาลซึ่งพระบาทสมเด็จ
พระเจ้ าอยู่หวั ทรงอานาจเต็มที่ จะใช้ อานาจสูงสุด และไม่มีหลักการแบ่งแยกอานาจใดๆ อยู่ใน
ระบบการเมืองเลย ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในทัศนะของปรี ดี พนมยงค์ จึงเป็ นมรดกของ
พัฒนาการที่ล่าช้ า และไม่ได้ แสดงภาวะความเจริ ญของประเทศ รวมทังไม่ ้ ได้ มีหลักประกันใน
หลักการที่มนุษย์มีความเสมอภาคโดยธรรมชาตินนเลย ั้ ด้ วยเหตุนี ้การเปลี่ยนแปลงเพื่อให้ สงั คม
การเมืองหลุดพ้ นจากความล้ าหลังจึงจาเป็ นต้ องเกิดขึ ้น และการยึดอานาจจากรัฐบาลกษัตริ ย์ใน
วันที่ 24 มิถนุ ายน พ.ศ.2475 ในแง่หนึง่ เป็ นผลมาจากแรงผลักดันของแนวคิดดังกล่าว

16
ปรี ดี พนมยงค์, ประชุมกฎหมายมหาชนและเอกชน (กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ,
2526), หน้า 151 – 158.
17
กจช. ร.7 ค.11/5 เรื่ องสาเนาการประชุมอภิรัฐมนตรี ครั้งที่ 35/2569, 9 มีนาคม 2469.
18
ปรี ดี พนมยงค์, ประชุมกฎหมายมหาชนและเอกชน, หน้า 175.

9
สาหรับแนวคิดในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ปรี ดี พนมยงค์ มีความต้ องการที่จ ะ
เปลี่ ยนการปกครองทัง้ ระบบ คือเปลี่ ยนจากระบอบสมบูร ณาญาสิทธิ ราชย์ ให้ เ ป็ นระบอบ
ประชาธิปไตยสมบูรณ์ ไม่ใช่เป็ นเพียงการเรี ยกร้ องให้ มีการปรับปรุ งเปลี่ยนแปลงภายในระบอบ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์ ซึง่ เขาได้ กล่าวไว้ วา่

“การที่จะแก้ ความชั่วร้ ายก็ โดยที่จะต้ องจัดการปกครองโดยมีสภา ส่วนผู้เป็ น


ประมุขของประเทศนัน้ คณะราษฎรไม่ประสงค์จะทาการชิงราชสมบัติ ฉะนันจึ ้ งขอ
เชิญให้ กษัตริ ย์องค์นี ้ดารงตาแหน่งต่อไป แต่จะต้ องอยู่ใต้ กฎหมายธรรมนูญการ
ปกครองแผ่นดิน จะทาอะไรโดยลาพังไม่ได้ นอกจากความเห็นชอบของสภา
ผู้แทนราษฎร”19

จะเห็นได้ ว่า แนวคิดในการเปลี่ยนแปลงการปกครองของปรี ดี พนมยงค์ คือ การสถาปนา


หลักการของกฎหมายรัฐธรรมนูญขึ ้นมาจากัดอานาจพระมหากษัตริ ย์ โดยให้ พระมหากษัตริ ย์อยู่
ใต้ กฎหมาย ไม่ใช่กษัตริ ย์อยู่เหนือกฎหมาย20 ดังเช่นที่บุคคลบางกลุ่มเรี ยกร้ องและถวายฎีกาให้
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้ าเจ้ าอยู่หวั ทรงพระราชทานรัฐธรรมนูญ โดยที่กษัตริ ย์ยงั คงอยู่เหนือ
กฎหมาย21 ก่อนปี พ.ศ.2475 ก็ดีหรื อในกรณีของรัฐธรรมนูญญี่ปนที ุ่ ่ผ้ มู ีอานาจสูงสุดยังคงได้ แก่
พระเจ้ าแผ่นดิน ก็มิใช่เป็ นรูปแบบที่ปรี ดี พนมยงค์มีความประสงค์ต้องการเช่นกัน
หลักการความคิดตามลัทธิรัฐธรรมนูญของปรี ดี พนมยงค์ ซึ่งต้ องการให้ มีรัฐธรรมนูญลาย
ลักษณ์อกั ษรและให้ มีกษัตริย์ "ใต้ " กฎหมายนัน้ เป็ นที่นา่ สังเกตว่ามีความขัดแย้ งและแตกต่างจาก
ความคิดที่ดารงอยู่ในสังคมไทยในช่วงก่อน พ.ศ.2475 อยู่เป็ นอันมาก ในกรณีของคนชันสู ้ งกล่าว
ได้ ว่าตรงข้ ามกันเลยที เ ดียว ส่วนในกรณี ของคนชัน้ กลางและชัน้ ล่าง ซึ่ง ในช่วงเวลานัน้ แสดง
ความคิดผ่านหนังสือพิมพ์บ้าง และการถวายฎีกาบ้ าง 22 กล่าวได้ ว่า แม้ ผ้ คู นจะเรี ยกร้ องให้ มี "คอน
สติตชู นั่ " และให้ ประเทศสยามมี "ปาร์ เลียเมนต์" (ใช้ ทบั ศัพท์เพราะก่อน พ.ศ.2475 ยังไม่มีคาแปล)

19
“ประกาศคณะราษฎร”, ใน ไพโรจน์ ชัยนาม, รัฐธรรมนูญ บทกฎหมำยและเอกสำรสำคัญ
ในทำงกำรเมืองของประเทศไทย (กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , 2520), หน้ า 6 – 8.
20
ปรี ดี พนมยงค์, “เกี่ยวกับการก่อตังคณะราษฎรและระบบประชาธิ
้ ปไตย” ใน รัฐศำสตร์ 14 ฉบับ
ปฏิวัติและประชำธิปไตย (กรุงเทพฯ: ชมรมหนังสือยูงราแพน, 2517), หน้ า 212.
21
ดังเช่น กรณีของนายภักดี และนายไทย (ไม่ทราบชื่อจริง) ได้ ถวายฎีกาว่าเห็นควรตังกฎหมายคอน

สติตชู นั่ เมื่อปี พ.ศ.2468 ดูใน กจช. ร.7 บ.2/7
22
ดูรายละเอียดเพิม่ เติมใน นคริ นทร์ เมฆไตรรัตน์, การปฏิวตั สิ ยาม พ.ศ.2475 (กรุ งเทพฯ: อมริ นทร์,
2546).

10
แต่ก็ไม่ได้ แสดงให้ เห็นอย่างเด่นชัดว่ากษัตริ ย์ต้องอยู่ "ใต้ " กฎหมายแต่ประการใด ความแตกต่าง
ทางความคิดที่เกิดขึ ้นนีใ้ นแง่หนึ่งน่าจะเป็ นผลมาจากการที่ปรี ดี พนมยงค์นนเป็ ั ้ นนักกฎหมายที่
เคร่ งครัดกับกาเนิดและเจตนารมณ์ของรั ฐธรรมนูญ ดังนัน้ เขาเองจึงมีคาอธิบายทางกฎหมายที่
แตกต่างจากความรู้สกึ นึกคิดของบุคคลทัว่ ไปในสมัยนัน้
ในระยะต่อมาความขัดแย้ งทางความคิดในหลักการของลัทธิ รัฐธรรมนูญปรากฏให้ เห็น
อย่างชัดเจนมากขึ ้น ดังเช่น เมื่อคณะราษฎรมีหนังสือถึงพระบาทสมเด็จพระปกเกล้ าเจ้ าอยู่หวั เมื่อ
วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.2475 คณะราษฎรกล่าวอัญเชิญพระปกเกล้ าเจ้ าอยู่หวั ให้ ทรงเป็ น
พระมหากษัตริย์ใต้ พระธรรมนูญ แต่พระเจ้ าอยู่หวั ทรงมีพระหัตถเลขาตอบว่าทรงยอมรับเป็ นพระ
เจ้ าแผ่นดินตำมพระธรรมนูญ23 และในเรื่ องของการแก้ ไขเปลี่ยนแปลงหลักการแบ่งอานาจตาม
พระธรรมนูญชัว่ คราว พ.ศ.2475 ซึ่งผู้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับชัว่ คราว คือ ปรี ดี พนมยงค์ได้ วางหลัก
แนวคิดแบ่งอานาจอธิปไตยไว้ เป็ น 4 ทางได้ แก่ พระมหากษัตริ ย์ สภาผู้แทนราษฎร คณะกรรมการ
ราษฎร และศาล ทังนี ้ ้ ผู้ร่างคือ ปรี ดี พนมยงค์ มุ่งหวังให้ มีการกาหนดสิทธิและอานาจหน้ าที่ของ
แต่ละส่วนโดยให้ มีการตรวจสอบและถ่วงดุลซึ่งกันและกัน และให้ สภาผู้แทนราษฎรมีอานาจ
สูงสุด แต่อย่างไรก็ตามในกระบวนการทางการเมืองสมัยใหม่ ไม่มีใครและฝ่ ายใดกาหนดอะไรได้
ตามใจชอบเพียงฝ่ ายเดียว ดังนัน้ จึงมีการประนีประนอมด้ วยการร่ างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่มีผล
เป็ นรัฐธรรมนูญฉบับเดือนธันวาคม พ.ศ.2475 แบ่งอานาจอธิปไตยใหม่ออกเป็ น 3 ทาง จัดอานาจ
ลดหลัน่ ตามโครงสร้ างหน้ าที่ และให้ ฝ่ายบริหารมีอานาจสูงสุดเป็ นอิสระและมีสิทธิริเริ่ ม นอกจากนี ้
พระมหากษัตริ ย์ทรงมีอานาจเพิ่มขึ ้น และสถาบันการปกครองตามประเพณีอื่นๆ อย่างเช่น การ
ถวายฎีกา การร้ องทุกข์ ฯลฯ ถูกสงวนไม่กล่าวให้ ชดั เจนไว้ ในรัฐธรรมนูญ24 ดังนันรั ้ ฐธรรมนูญฉบับ
10 ธันวาคม พ.ศ.2475 จึงเป็ นเพียงโครงครอบทางการเมืองแบบใหม่ที่ไม่ได้ แตะต้ องกับประเพณี
การปกครอง เป็ นเสมือนสิ่งที่ถูกสร้ างขึ ้นใหม่มากกว่าจะพัฒนาหลักการปกครองเก่าให้ ผสานเข้ า
ด้ วยกับหลักการใหม่ๆ
กล่า วโดยสรุ ป แล้ ว การเปลี่ ย นแปลงในเรื่ องของรั ฐ ธรรมนูญได้ ก่อ ให้ เกิ ด มี ท ฤษฎี
รัฐธรรมนูญขึ ้นใน 2 ลักษณะ คือ พวกแรกเห็นว่ารัฐธรรมนูญเกิดจากการพระราชทาน (charter)
เพราะพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั เท่านันที ้ ่ทรงมีพระราชอานาจในระบอบประเพณี และทรง
ยินยอมมาเป็ นกษัตริย์ตามรัฐธรรมนูญ กับอีกพวกหนึง่ เห็นว่ารัฐธรรมนูญเกิดจากมีการยึดอานาจ

23
ประเสริ ฐ ปั ทมะสุคนธ์ (ผูร้ วบรวม), รัฐสภาไทยในรอบสี่สิบสองปี (2475-2517) (กรุ งเทพฯ: ชุมนุม
ช่าง, 2517), หน้า 13.
24
นคริ นทร์ เมฆไตรรัตน์, การปฏิวตั สิ ยาม พ.ศ.2475.

11
ขึน้ ก่อน หลัง จากนัน้ ผู้ปกครองกับราษฎรได้ มาตกลงกัน (pact) โดยที่พระบาทสมเด็จ พระ
เจ้ าอยูห่ วั ทรงยินยอมมาเป็ นกษัตริย์ใต้ รัฐธรรมนูญ25
พิจารณาตามแนวความคิดที่อยูเ่ บื ้องหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองดังกล่าว ปรี ดี
พนมยงค์ จึงมีความคิดเห็นและอธิบายว่าเหตุการณ์ 24 มิถนุ ายน 2475 และผลสืบเนื่องว่า มี
ฐานะเป็ น “การอภิวฒ ั น์” (Revolution) ซึง่ แปลว่า “การเปลี่ยนแปลงที่สภาวะใหม่ของสังคมได้
ประสานกันเข้ าเปลี่ยนระบบเก่าที่ล้าหลังกว่าความพัฒนาในสภาพความเป็ นอยูท่ างชีวปั จจัยของ
สังคม อันเป็ นการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพโดยกระทาฉับพลันหรื อกระทาชุดเดียว” 26 คาอธิบายนี ้
ต่างจากคาอธิบายของพระองค์เจ้ าวรรณไวทยากร วรวรรณ ซึง่ ได้ ทรงอธิบายว่า เหตุการณ์ 24
มิถนุ ายน 2475 มีฐานะเป็ นการ “ปฏิวตั ิ” ซึง่ แปลว่าการหมุนกลับของหลักมูลของการปกครองไปสู่
ระบอบประชาธิปไตยอีกครัง้ หนึง่ 27 อย่างไรก็ดีตราบจนปั จจุบนั นี ้คงเป็ นที่เห็นได้ ชดั ว่าคาว่า
“ปฏิวตั ิ” นันได้ ้ รับการยอมรับ และมีการใช้ กนั ทัว่ ไปอย่างกว้ างขวาง ส่วนความหมายของคาว่า
“ปฏิวตั ิ” นันก็ ้ คงมีการเปลี่ยนแปลงไป เรื่ องนี ้ถือเป็ นธรรมดาว่าคงมีหลากหลายความหมาย
รวมทังความหมายแบบดั
้ งเดิ
้ มนันก็
้ เข้ าใจว่าน่าจะยังคงมีอยู่ในสมัยปั จจุบนั ด้ วย
วิเคราะห์จากคาอธิบายดังกล่าว ปรี ดี พนมยงค์จงึ มีความเห็นว่า การยึดอานาจวันที่ 24
มิถนุ ายน พ.ศ. 2 4 7 5 เป็ นเพียงฉากแรกของการเริ่มต้ นสถาปนาระบอบใหม่เท่านัน้ และการมี
กฎหมายรัฐธรรมนูญไม่ใช่ภารกิจสุดท้ ายของการอภิวฒ ั น์ หากแต่ยงั คงมีภารกิจและการ
ดาเนินงานอื่นๆ ที่จาเป็ นต้ องกระทาอีกมากเพื่อให้ การอภิวฒ ั น์ที่เกิดขึ ้นมุง่ ไปสูค่ วามสมบูรณ์ ซึง่
การดาเนินงานการเมืองอื่นๆ ที่เขาเห็นว่ามีความจาเป็ นต้ องทาก็คือ การเปลี่ยนแปลงทาง
เศรษฐกิจ อันจะเป็ นรากฐานให้ กบั การสร้ างความสมบูรณ์พนู สุขให้ แก่ราษฎร และทาให้ การ
อภิวฒ ั น์มีความสมบูรณ์ 28 นอกจากนี ้ ได้ แก่ การผลักดันให้ ประเทศมีเอกราชสมบูรณ์ โดยทาการ
แก้ ไขสนธิสญ ั ญาไม่เสมอภาคกับมหาอานาจ ซึง่ ในเรื่ องนี ้สาเร็จบริ บรู ณ์ในปี พ.ศ.2481 และใน

25
ดูหนังสือคลาสสิคของ เดือน บุนนาค และไพโรจน์ ชัยนาม, คำอธิบำยกฎหมำยรัฐธรรมนูญ, เล่ม
2 (พระนคร: โรงพิมพ์นิติสาส์น, 2477) และดู หลวงประเจิดอักษรลักษณ์, กฎหมำยรัฐธรรมนูญ (พระนคร:
มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์ และการเมือง, 2477).
26
ปรี ดี พนมยงค์, ควำมเป็ นอนิจจังของสังคม (พระนคร: สานักพิมพ์เกวียนทอง, 2501), หน้ า 95.
27
ม.จ.วรรณไวทยากร วรวรรณ, วิทยำสำรำนุกรม.
28
หลวงประดิษฐ์ มนูธรรม ได้ กล่าวถึงแนวความคิดของเขาดังกล่าวไว้ อย่างน้ อย 3 ครัง้ คือ ในเดือน
มิถนุ ายน พ.ศ.2475 เขียนไว้ ในประกาศคณะราษฎร ฉบับที่ 1 ถัดมาคือในเดือนมีนาคม พ.ศ.2476 กล่าวแถลง
ในที่ประชุมคณะกรรมานุการพิจารณาร่างเค้ าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ และต่อมาในเดือนตุลาคม พ.ศ.2477
เขียนไว้ เป็ นคานาในหนังสือ กำรปฏิวัติฝรั่งเศส ซึง่ เป็ นหนังสือทีน่ ิพนธ์ขึ ้นโดยพระองค์เจ้ าอาทิตย์ทิพอาภา.

12
ระยะต่อมาปรี ดี พนมยงค์ก็ได้ ผลักดันให้ ประเทศมีรัฐธรรมนูญประชาธิปไตยสมบูรณ์ ขึ ้นสาเร็จในปี
29
พ.ศ. 2 4 8 9 ในอีกส่วนหนึง่ ด้ วย

กุหลาย สายประดิษฐ์
กุหลาบ สายประดิษฐ์ (พ.ศ.2448 - 2517) เกิดที่กรุงเทพฯ เป็ นบุตรของนายสมบุญและ
นางสุวรรณ สายประดิษฐ์ กุหลาบเรี ยนหนังสือชันมั ้ ธยมจากโรงเรี ยนเทพศิรินทร์ และในช่วงที่เรี ยน
มัธยมอยู่นี ้ กุหลาบก็ได้ เริ่ มต้ นมีงานเขียนของตนเอง โดยทาหนังสือพิมพ์ในชันเรี
้ ยนชื่อ ดรุณสาร
และหนังสือชื่อศรี เทพ นอกจากนี ้ กุหลาบยังได้ ไปสมัครเรี ยนที่สานักรวมการแปลของนายโกศล
โกมลจันทร์ 30 สานักรวมการแปลนี ้ถือได้ ว่าเป็ นโรงเรี ยนการประพัน ธ์ ของกุหลาบ สายประดิษฐ์
เพราะไม่เพียงแต่จะได้ รับคาแนะนาด้ านการประพันธ์นิยายและภาษาอังกฤษแล้ ว นามปากกา “ศรี
บูรพา” ซึ่งหมายความว่า โลกตะวันออกก็ได้ ถือกาเนิดขึ ้นที่นี่ โดย โกศล โกมลจันทร์ เป็ นผู้ตงให้
ั้
ต่อมาหลังจากจบชันมั ้ ธยม 8 แล้ ว กุหลาบได้ สมัครเป็ นครู ในนาม “นักเรี ยนสอน”31 ที่โรงเรี ยน
เทพศิรินทร์ และยังเป็ นครูสอนภาษาอังกฤษตอนค่าที่โรงเรี ยนรวมการสอนและสานักงานรวมการ
แปล ขณะสอนอยูท่ ี่โรงเรี ยนรวมการสอน กุหลาบและคณะครูได้ รวมตัวกันทานิตยสารขึ ้นฉบับหนึ่ง
ชื่อ “สาส์นสหาย” แต่ทาอยู่ได้ ไม่นานก็ต้องหยุดไป พร้ อมๆ กับการปิ ดตัวเองลงของโรงเรี ยนรวม
การสอน
หลังจากนัน้ กุหลาบ สายประดิษฐ์ ได้ เข้ ามาเป็ นผู้ช่วยบรรณาธิการให้ กบั นิตยสาร “เสนา
ศึกษาและแผ่วิทยาศาสตร์ ” และในปี พ.ศ.2472 กุหลาบก็ได้ รวบรวมเพื่อนสนิทที่ชอบงานประพันธ์
และงานหนังสือพิมพ์ตงเป็ ั ้ นคณะ “สุภาพบุรุษ” และออกหนังสือรายปั กษ์ ชื่อ “สุภาพบุรุษ” ขึ ้น ซึ่ง
ประสบความสาเร็ จอย่างมากในขณะนัน้ อย่างไรก็ตามหนังสือ “สุภาพบุรุษ” ออกอยู่ได้ ไม่นานก็
ล้ มเลิกไป เนื่องจากปั ญหาทางด้ านการจัดการ และในปี ถัดมา กุหลาบก็เปลี่ยนสถานะเป็ น
นักหนังสือพิมพ์อาชีพ โดยรับงานเป็ นบรรณาธิการและร่วมเป็ นกองบรรณาธิการให้ แก่หนังสือพิมพ์
หลายฉบับไม่ว่าจะเป็ น “บางกอกการเมือง” “ไทยใหม่” “ศรี กรุง” “ประชาชาติ” “สุภาพบุรุษ” และ
“ประชามิตร” เป็ นต้ น

29
ดูเพิ่มเติม เฉลิมเกียรติ ผิวนวล, ควำมคิดทำงกำรเมืองของปรีดี พนมยงค์ (เอกสารวิจยั ของ
สถาบันไทยคดีศกึ ษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , 2527).
30
โกศล โกมลจันทร์ เป็ นนักประพันธ์ที่มีชื่อเสียงทางการเขียนลาตัดการเมือง ใช้ นามปากกาว่า “เสือ
เตี ้ย” ในการเขียนลาตัด และ “ศรี เงินยวง” ในงานประพันธ์อื่นๆ เช่น นวนิยายแปล.
31
การเป็ นครูในนาม “นักเรี ยนสอน” นี ้ ไม่ได้ มีสถานะเป็ นครูเต็มตัว ต้ องไปเรี ยนต่อวิชาครูแล้ วสอบให้
ได้ ประกาศนียบัตรชันต ้ า่ ป.ป. ชันสู
้ ง ป.ม. ดูใน ยศ วัชรเสถียร, กุหลำบ สำยประดิษฐ์ ศรีบูรพำที่ข้ำพเจ้ ำ
รู้จัก (กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์อาร์ ต แอนด์ ชายน์, 2525).

13
ในช่วงที่เข้ ามาทาหนังสือพิมพ์นี เ้ อง กุหลาบ สายประดิษฐ์ ได้ เริ่ มเขียนบทความแสดง
ความคิดเห็นทางการเมือง ซึ่งบทความที่น่าสนใจและได้ รับการกล่าวถึงอย่างมากในช่วงก่อนปี
พ.ศ.2475 บทความหนึ่ง ได้ แก่ บทความเรื่ อง “มนุษยภาพ”32 ที่ลงพิมพ์ทงในไทยใหม่
ั้ และศรี กรุง
ในบทความชิ ้นนี ้ได้ แสดงให้ เห็นถึงหลักการและความเชื่อมัน่ ในหลักแนวคิดเรื่ องสิทธิและเสรี ภาพ
ของมนุษย์ โดยกุหลาบ สายประดิษฐ์ กล่าวว่า มนุษย์ทกุ คนมี “สิทธิ” ตามสภาพความเป็ นมาของ
มนุษย์ซึ่งถือกาเนิดมาโดยธรรมชาติแบบเดียวกัน และในชุมชนการเมืองใดๆ ย่อมมีหลักนิติธรรม
การปกครองดารงอยู่ โดยที่หลักนิติธรรมนี ้ย่อมมีเกิดขึ ้นในภายหลังจากมีมนุษย์ ขึ ้นแล้ ว ในทาง
ปรัชญาถือว่าความจริ ง ความซื่อตรง และคุณธรรมเป็ นบ่อเกิดของหลักนิติธรรมชนิดต่างๆ และ
จากความเชื่อในลักษณะดังกล่าวนี ้ กุหลาบได้ วิพากษ์ วิจารณ์ สภาพการณ์ก่อนเดือนมิถุนายน
2475ว่า รัฐบาลและคนชันสู ้ งไม่ยอมสู้หน้ ากับความจริ ง โดยหลงใหลไปว่าอานาจจะบันดาลความ
นิยมทุกอย่าง และการปฏิเสธความจริ งในทางหลักปรัชญาดังกล่าว เขาถือว่าเป็ นการขาด “เอส
เสนซ์ (แปลว่าแก่นแท้ – ผู้อ้าง) ของความเป็ นมนุษย์”33
นอกจากในเรื่ องของสิทธิและเสรี ภาพแล้ ว ในบทความชิ ้นนี ้กุหลาบยังได้ ชี ้ให้ เห็นถึงความ
จริงของสังคมสยามในสมัยนันด้ ้ วยว่า

“…บุคคลผู้มีอานาจอันประกอบขึ ้นด้ วยชาติ ตระกูล ด้ วยยศศักดิ์ หรื อด้ วยเงินก็


ตาม มักพอใจปั่ นให้ คนทังหลายหลงด้
้ วยวาจาอันไพเราะเพราะพริ ง้ ของเขา เขาทา
ดังนันเพื
้ ่อประโยชน์ของใคร ข้ าพเจ้ าไม่อยากตอบ แต่แน่นอนไม่ใช่ประโยชน์ของ
ชาติ จริงอยูใ่ นสมัยนี ้คนโง่มีมาก หรื อคนฉลาดที่ไม่เอาธุระของเพื่อนร่วมชาติก็ยงั มี
อยูด่ าษดื่น ผู้มีอานาจดังกล่าวแล้ วจะดาเนินการพูดเพราะของเขาไปได้ โดยราบรื่ น
แต่ทกุ คนย่อมรู้ว่า โลกที่เราอาศัยอยู่นี ้มันหมุน และสรรพสิ่งในโลกจะไม่หยุดอยู่
กับที่ ฉะนันจึ ้ องพบอุปสรรคในวันหนึง่ ”34
้ งเป็ นการแน่นอนที่เขาเหล่านันจะต้

32
กุหลาบ สายประดิษฐ์ ได้ เขียนบทความนี ้เป็ นครัง้ แรกในปี พ.ศ.2474 โดยในขณะนันเขาเป็
้ น
บรรณาธิการของหนังสือพิมพ์ “ไทยใหม่” แต่หลังจากตีพมิ พ์บทความนี ้ไปในบางส่วนแล้ ว ปรากฏว่าได้ สร้ างไม่
พอใจให้ กบั รัฐบาลและคนชันสู ้ งในขณะนันอย่ ้ างมาก ส่งผลให้ กุหลาบและคณะต้ องลาออก และได้ ย้ายไป
ทางานใหม่ในกองบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ “ศรี กรุง” ซึง่ กุหลาบ ก็ได้ มีโอกาสปรับปรุงแก้ ไขและพิมพ์บทความ
เรื่ อง “มนุษยภาพ” เพิ่มเติมจากที่ได้ พิมพ์ในหนังสือพิมพ์ไทยใหม่ โดยในคราวนี ้ กุหลาบได้ ลงชื่อจริ งในฐานะคน
เขียนไว้ ด้วย.
33
กุหลาบ สายประดิษฐ์ , “มนุษยภาพ”, ไทยใหม่ (8 และ 11 ธันวาคม, 2474).
34
กุหลาบ สายประดิษฐ์ , “มนุษยภาพ”, ศรีกรุ ง (21 มกราคม 2474).

14
และกุหลาบยังได้ เรี ยกร้ องให้ ทุกคนหันมาสู้หน้ ากับความเป็ นจริ ง เพื่อสร้ างความเป็ นธรรมให้
เกิ ด ขึ น้ แก่ ช นทุ ก ชั น้ บทความดั ง กล่ า วจึ ง เท่ า กั บ เป็ นการจี จ้ ุ ด อ่ อ นของระบอบ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์ ซึ่งก็ส่งผลให้ เขาต้ องลาออกจากหนังสือพิมพ์ “ไทยใหม่” และในกรณีของ
หนังสือพิมพ์ “ศรี กรุง” ได้ ถกู รัฐบาลสัง่ ปิ ดและยึดใบอนุญาตในระยะต่อมา
กุหลาบ สายประดิษฐ์ ถือได้ ว่าเป็ นนักหนังสือพิมพ์ที่มีความศรัทธาและเชื่อมัน่ ในระบอบ
ประชาธิ ปไตยอย่างมากคนหนึ่ง ดัง จะเห็นได้ ว่า เขาได้ แสดงความเห็นและเผยแพร่ แนวคิด
ประชาธิ ปไตยอย่างเปิ ดเผยในผลงานของตนมาในช่วงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475
ดังนัน้ จึงไม่น่าแปลกใจเลยที่เขาจะเป็ นผู้หนึ่งที่เห็นด้ วยและให้ การสนับสนุนการปฏิวตั ิ 2475 แต่
อย่างไรก็ดี แม้ นว่าเขาจะให้ การสนับสนุนคณะราษฎรในการยึดอานาจเปลี่ยนแปลงการปกครอง
แต่เขาก็ยงั คงวางตัวเป็ นกลางไม่เข้ าร่ วมก่อการกับคณะราษฎรอย่างเป็ นทางการแม้ จะได้ รับการ
ทาบให้ เข้ าร่วมก็ตาม ทังนี ้ ้ในส่วนหนึ่งน่าจะเป็ นเพราะการไม่เข้ าร่วมเป็ นฝ่ ายเป็ นพวกใด จะทาให้
การเขียนหนังสือแสดงความคิดเห็นในเรื่ องต่างๆ เป็ นไปอย่างถูกต้ องและยุติธรรมมากกว่า 35 ซึ่งใน
ระยะต่อมาเขาก็ได้ แสดงว่า ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 แล้ ว กุหลาบ สาย
ประดิษฐ์ ได้ ทาหน้ าที่นกั หนังสือพิมพ์ในการตรวจสอบและวิพากษ์ วิจารณ์รัฐบาลอย่างแข็งขัน
เหตุการณ์วนั ที่ 24 มิถนุ ายน พ.ศ.2475 แม้ ว่าจะเป็ นการเปลี่ยนแปลงการปกครองที่ไม่
ต้ องเสียเลือดเสียเนื ้อและเป็ นไปโดยราบรื่ น หากการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ ้นก็เป็ นเพียงการรวมกลุ่ม
ของพลเรื อนและทหารกลุม่ หนึ่งเท่านัน้ มิใช่การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ ้นจากการรวมกลุ่มร่วมมือของ
ประชาชนทัง้ ประเทศ ฉะนันประชาชนส่ ้ วนใหญ่ของประเทศจึงยังคงยึดติดอยู่กับทัศนคติและ
ค่านิยมเก่าๆ ในระยะหัวเลี ้ยวหัวต่อทางการเมืองเช่นนัน้ กุหลาบ สายประดิษฐ์ ได้ ทาหน้ าที่เป็ น
สะพานเชื่อมโลกเก่ากับโลกใหม่ เติมช่องว่างที่เกิดขึ ้นทางการเมือง โดยอธิบายให้ ประชาชนเห็นถึง
ประโยชน์ที่เกิดขึ ้นจากการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองของประเทศ เขาได้ เน้ นความสาคัญ
ของการเปิ ดใจให้ กว้ างเพื่อให้ โอกาสแก่คณะราษฎรได้ ปฏิบตั ิหน้ าที่เต็มความสามารถ และเห็น
ความสาคัญของการเปลี่ยนแปลงทัศนคติของประชาชนที่ยึดติดอยู่กบั โลกเก่ามาสู่โลกของความ

35
ชนิด สายประดิษฐ์ , “บันทึกและงานของกุหลาบฯ”, โลกหนังสือ 2,2(พฤศจิกายน, 2521) ใน
ขณะเดียวกันนัน้ กุหลาบ สายประดิษฐ์ เองก็ถกู ชักชวนจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั ให้ เป็ น
บรรณาธิการหนังสือพิมพ์ที่เป็ นปากเสียงของรัฐบาลสมบูรณาญาสิทธิราชย์ด้วย แต่เรื่ องนี ้ยังไม่ทนั การ เพราะว่า
คณะราษฎรก็ทาการยึดอานาจเสียก่อน เรื่ องเดียวกันนี ้ วิทยากร เชียงกูล ได้ ให้ ความเห็นว่า กุหลาบซึง่ ตอนนัน้
เป็ นนักหนังสือพิมพ์หนุม่ ทีม่ ีความคิดเสรี ประชาธิปไตยเป็ นตัวของตัวเองมาโดยตลอด คงจะไม่ยอมเป็ นเครื่ องมือ
ของฝ่ ายใดอย่างง่ายๆ ดู วิทยากร เชียงกูล, ศึกษำบทบำทและควำมคิดศรีบูรพำ (กรุงเทพฯ: โครงการวิจยั
ชุมชนเพื่อการพัฒนา และสานักพิมพ์ผลึก, 2532), หน้ า 25 – 26.

15
จริ งในปั จจุบนั ผ่านการเขียนบทความในหน้ าหนังสือพิมพ์ ดังตัวอย่างเช่น บทความเรื่ อง “สร้ าง
สยามใหม่ในช่วงเวลา 7 วัน” ซึง่ ได้ กล่าวถึงการกระทาของคณะราษฎรว่า

“…คณะราษฎรได้ ยกภูเขาทัง้ ลูกผ่านพระเจ้ าแผ่นดินไปแม้ โดยใกล้ ชิ ด ก็มิไ ด้


กระทาอาการซวนเซให้ กระทบกระทัง่ พระวรกายของพระองค์ หรื อพระราชวงศ์
ของพระองค์เลย คณะราษฎรได้ ผ่านพระองค์ไปด้ วยความเคารพ …เรามิได้ เสีย
แม้ กระทัง่ ความสงบสุขของชาติ..”36

และบทความเรื่ อง “ชาติกาเนิดไม่ใช่สมรรถภาพของคน” ที่ได้ กล่าวถึงปั ญหาของค่านิยมเก่าๆ ของ


คนไทยว่า

“…ในประเทศสยาม ชาติกาเนิดทาทีจะมีสิทธิอยู่บ้างในจารี ตประเพณี แต่ทาง


ความเป็ นจริ งแล้ ว ชาติกาเนิดมิได้ มีสิทธิเลย และสิ่งใดที่จะดาเนินไปโดยขัดกับ
้ อมขาดความบริ สุทธิ์ และจะยั่งยืนสืบไปมิได้ …ชาติ
ความเป็ นจริ งนัน้ สิ่งนันย่
กาเนิดมิใช่เครื่ องหมายบ่งบอกคุณความดีหรื อความสามารถ”37

จะเห็นได้ วา่ บทความเหล่านี ้ กุหลาบเขียนขึ ้นเพื่อจะหมุนความรู้สกึ นึกคิดของประชาชนให้


มาสูห่ นทางแห่งความจริง ด้ วยการพยายามแสดงให้ เห็นถึงคุณค่าของค่านิยมใหม่ ที่เชื่อถือและยึด
มัน่ ในคุณวุฒิและคุณธรรมของบุคคล มิใช่วยั วุฒิหรื อชาติกาเนิดที่เป็ นค่านิยมของไทยแต่ดงเดิ ั้ ม
นอกจากนี ้ กุหลาบ สายประดิษฐ์ ยังได้ พยายามให้ ความรู้เกี่ยวกับการเมืองการปกครอง
ของระบอบประชาธิปไตยแก่ประชาชน ด้ วยการเปิ ดคอลัมน์ “การเมืองเบื ้องต้ น” ในหนังสือพิมพ์
สุภาพบุรุษ ในที่นี ้ เขาได้ ระบุถึงเป้าหมายทางการเมืองไว้ อย่างชัดเจนว่า “..เพื่อแผ้ วทางให้ แก่อดุ ม
คติของการปฏิวัติและการร่ วมมื อกับรั ฐบาลในการเผยแพร่ วิชาความรู้ ทางการเมื องแก่ประชา
ราษฎร ทังนี
้ ้เพื่อให้ เป็ นไปตามนโยบายของหนังสือพิมพ์ ซึ่งมุ่งหมายจะเผยแพร่วิชาความรู้ อันควร
ที่ประชาชนพลเมืองแห่งรัฐประชาธิปไตยจะพึงรู้ไว้ ”38
แม้ กหุ ลาบ สายประดิษฐ์ จะเป็ นผู้หนึ่งที่พยายามสถาปนาการปกครองในระบอบใหม่ให้
หยั่ง รากลึ ก ลงไปในสัง คมไทย แต่ใ นฐานะของนัก หนัง สื อ พิ ม พ์ เ ขาก็ เ ป็ นผู้ห นึ่ ง ที่ ท าการ

36
“สร้ างสยามใหม่ในช่วงเวลา 7 วัน”, ศรีกรุ ง (5 กรกฎาคม 2475).
37
“ชาติกาเนิดไม่ใช่สมรรถภาพของคน”, ศรีกรุ ง (12 กรกฎาคม 2475).
38
“การเมืองเบื ้องต้ น”, สุภำพบุรุษ (กันยายน 2482).

16
วิพากษ์วิจารณ์การปฏิบตั งิ านของรัฐบาลในระบอบใหม่อย่างมากคนหนึ่ง กล่าวคือ เมื่อใดก็ตามที่
รัฐบาลมีแนวโน้ มว่าจะปฏิบัติเบี่ยงเบนไปจากหลักการประชาธิ ปไตยหรื อจุดมุ่ง หมายของการ
ปฏิวตั ิ ก็จะได้ รับการคัดค้ านและวิพากษ์ วิจารณ์การกระทานัน้ ซึ่งการคัดค้ านของกุหลาบ สาย
ประดิษฐ์ นนั ้ น่าสังเกตว่าเป็ นการคัดค้ านในนโยบายหรื อพฤติกรรมของคณะรัฐบาล มากกว่าจะ
เป็ นการคัดค้ านหลักการของรัฐบาลในระบอบประชาธิปไตย
ดังตัวอย่างเช่น ในสมัยรัฐบาลพระยามโนปกรณ์นิติธาดา ที่ได้ มีการปิ ดสภาฯ และงดใช้
รัฐธรรมนูญบางมาตรา และเกิดเหตุการณ์ลาออกของ “4 ทหารเสือ” ซึ่งเป็ นกาลังของประเทศ โดย
ที่รัฐบาลไม่ได้ ชีแ้ จงถึงสาเหตุที่ชัดเจน ซึ่งทาให้ มองเห็นว่ารัฐบาลกาลังจะละเมิดหลักการของ
ระบอบรัฐธรรมนูญ ในสมัยนัน้ กุหลาบ สายประดิษฐ์ ได้ เขียนบทความเรี ยกร้ องให้ รัฐบาลรี บ
ดาเนินการเลือกตัง้ และเรี ยกร้ องให้ 4 ทหารเสือกลับเข้ ามาปฏิบตั ิหน้ าที่ดงั เดิม เพราะ
ประชาธิปไตยของไทยในขณะนันเป็ ้ น “…ประชาธิปไตยที่ยงั เยาว์วยั เยาว์สติ เยาว์ความเข้ มแข็ง
ประชาธิ ปไตยที่ เ นื อ้ ตัวยัง สั่นเทา นี่ แหละคือประชาธิ ปไตยแห่ง สยาม”39 และผลจากการ
วิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลในคราวนันก็ ้ ทาให้ หนังสือพิมพ์ประชาชาติถกู สัง่ ปิ ดถึง 2 ครัง้
อีกกรณีหนึง่ ก็คือในสมัยรัฐบาลจอมพล ป.พิบลู สงคราม ที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกลุ่ม
หนึง่ ได้ เสนอญัตติให้ ยืดบทเฉพาะกาลของรัฐธรรมนูญออกไปอีก 10 ปี ซึ่งในเรื่ องนี ้จอมพล ป.พิบลู
สงครามก็ได้ ให้ ความสนับสนุนกับญัตติดงั กล่าวโดยให้ เหตุผลว่า “รัฐบาลยังมีความหวาดระแวง
พวก “หัวเก่า” ที่อาจจะต้ องการคืนอานาจจากผู้เปลี่ยนแปลงการปกครอง ดังนันปั ้ ญหาจึงไม่ได้ อยู่
ที่เวลา แต่อยู่ที่ความปลอดภัยแห่งประชาธิปไตย”40 ในกรณีนี ้หนังสือพิมพ์สภุ าพบุรุษ ที่มีกหุ ลาบ
สายประดิษฐ์ เป็ นบรรณาธิการ ได้ ตาหนิสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรว่า

“ …เป็ นการเอาสิทธิของประชาราษฎร์ ไปจาหน่ายจ่ายโอนโดยพลการ และเสนอ


ความเห็นว่าหากรัฐบาลต้ องการยืดบทเฉพาะกาล เพื่อที่จะได้ มีโอกาสบริหาร
ประเทศต่อไปก็นา่ จะให้ สิทธิในการเลือกตังแก่้ ประชาชนเลือกคณะรัฐบาลเข้ ามา
บริหารประเทศอีกครัง้ เพราะจะเป็ นหนทางเดียวที่จะทาให้ ประชาชนมีความ
เชื่อมัน่ ว่า รัฐบาลเป็ นรัฐบาลที่ปฏิบตั ิตามระบอบประชาธิปไตย และเป็ นรัฐบาล
41
ของประชาชนอย่างแท้ จริง”

39
“ผู้ก่อกาเนิดประชาธิปไตย”, ประชำชำติ (16 มิถนุ ายน 2475).
40
ประชำมิตร (16 กรกฎาคม 2483).
41
“บทเฉพาะกาล” (บทนา), สุภำพบุรุษ (18 กรกฎาคม 2483).

17
อย่ า งไรก็ ตามปรากฏว่า ญัตติใ นการยื ดบทเฉพาะกาลนี ไ้ ด้ รั บ การยอมรั บ ในสภา
ผู้แทนราษฎร ซึ่ง สมาชิกของสภากึ่งหนึ่งมาจากการแต่ง ตังของฝ่
้ ายคณะราษฎร ฉะนัน้ การ
ตรวจสอบบทบาททางการเมืองของรัฐบาลที่ กุหลาบ สายประดิษฐ์ ได้ ร่วมคัดค้ านจึงไม่มีผล
ในทางปฏิบตั ิ
ในระยะต่อมา กุหลาบก็ได้ เขียนบทความโจมตีแนวนโยบายสร้ างชาติของจอมพล ป.พิบลู
สงคราม และท่าทีของรัฐบาลที่สนับสนุนญี่ ปนในสงครามโลกครั
ุ่ ง้ ที่สอง พร้ อมกับได้ ตีพิมพ์
บทความเรื่ อง “เบื ้องหลังการปฏิวตั ิ 2475” ลงในหนังสือพิมพ์สุภาพบุรุษ เพื่อทักท้ วงท่าทีของ
รัฐบาลและตอกย ้าถึงอุดมคติประชาธิปไตยแก่คณะรัฐบาลอีกครัง้ หนึง่ โดยเขาได้ กล่าวว่า

“…จุดมุ่งหมายพิเศษของข้ าพเจ้ าในการเขียนเรื่ องนี ้ อยู่ที่จะหาวิธีใหม่ต่อต้ าน


มรสุมของระบอบเผด็จการในเวลานัน้ ข้ าพเจ้ านาพฤติการของการปฏิวตั ิมาเรี ยบ
เรี ยงลงไว้ ก็ประสงค์จะให้ เป็ นข้ อตักเตือนแก่นกั ปฏิวัติกลุ่มหนึ่งที่ ถืออานาจการ
ปกครองในสมัยนัน้ ได้ สาเหนียกถึงอุดมคติของการปฏิวัติว่า เขาได้ แถลงไว้
อย่างไรและความประพฤติที่เขาปฏิบตั ิอยู่ เป็ นปฏิปักษ์ ตอ่ อุดมคติของเขาอย่างไร
ข้ าพเจ้ าหวังจะให้ เขาเหล่านันพึ
้ งเกิดความละอายใจและได้ สานึกตนว่าเมื่อเขาได้
ทรยศต่ออุดมคติของเขา ซึ่งในเวลาต่อมาได้ กลายเป็ นอุดมคติของประชาชนไป
แล้ ว ก็เท่ากับว่าเขาได้ ทรยศต่อประชาชนนัน่ เอง…”42

ผลของการตีพิมพ์บทความ “เบื ้องหลังการปฏิวตั ิ 2475” ปรากฏว่าฝ่ ายรัฐบาลได้ กล่าว


โจมตีตอบโต้ ผ่านทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยในรายการสนทนาของ “นายมัน่ –
นายคง” และลุกลามไปจนถึงขันมี ้ การตังกระทู
้ ้ ถามในรัฐสภา ในกรณี “วิทยุกระจายเสียงก่อการ
วิวาทกับเอกชนเช่นหนังสือพิมพ์ ” แต่ในที่สุดความตึงเครี ยดระหว่างรัฐบาลและหนังสือพิมพ์
สุภาพบุรุษก็ได้ คลี่คลายลง เมื่อจอมพล ป.พิบลู สงครามได้ มีจดหมายไปถึงกุหลาบ สายประดิษฐ์
เพื่อขอปรับความเข้ าใจและยุตกิ ารคัดค้ าน อย่างไรก็ตามความขัดแย้ งที่เกิดขึ ้นในทางหนึ่งส่งผลให้
กุหลาบ สายประดิษฐ์ มีชื่ออยู่ในบัญชีว่าเป็ นฝ่ ายต่อต้ านรัฐบาล และเขาก็ได้ ถกู จับกุมในข้ อหาที่
เรี ยกกันว่า กบฏไทยอิสระในระยะเวลาต่อมา

42
กุหลาบ สายประดิษฐ์ , เบือ้ งหลังกำรปฏิวตั ิ 2475 (พระนคร: โรงพิมพ์ไทยพานิช, 2490), หน้ า 9 –
10.

18
จะเห็นได้ ว่า กุหลาบ สายประดิษฐ์ นัน้ ไม่ได้ เป็ นเพียงผู้ที่เรี ยกร้ องและยึดมัน่ กับหลักการ
ประชาธิปไตยอย่างเหนียวแน่นเท่านัน้ แต่เขายังเป็ นผู้ที่คอยตรวจสอบและประคับประคองและ
วางรากฐานให้ การปกครองระบอบใหม่นี ้เดินไปในแนวที่เหมาะสมอีกด้ วย
กลุ่ม/พันมิตรที่ต่อต้ ำนกำรปฏิวัติ 2475

ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช


ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช (พ.ศ.2448 - 2540) เป็ นบุตรของพลโทหม่อมเจ้ าคารบ (ต่อมาได้ รับ
การสถาปนาเป็ นพระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้ าคารบ) และหม่อมแดง บุนนาค เกิดเมื่อวันที่ 26
พฤษภาคม พ.ศ.2448 ที่จงั หวัดนครสวรรค์ ซึ่งเป็ นช่วงที่บิดาเป็ นผู้บญ ั ชาการทหารอยู่ที่นนั่ จาก
การที่ต้องย้ ายตามบิดาไปรับราชการในจังหวัดต่างๆ ส่งผลให้ ม.ร.ว.เสนีย์ ต้ องย้ ายโรงเรี ยนหลาย
ครัง้ ด้ วยกัน โดยในกรุงเทพฯ นันได้้ เริ่ มเรี ยนที่ โรงเรี ยนวัดบวรนิเวศ และต่อจากนันก็ ้ ย้ายไปเรี ยนที่
โรงเรี ยนราชินี โรงเรี ยนเทพศิรินทร์ โรงเรี ยนอัสสัมชัญ โรงเรี ยนอเมริกนั ของ ดร.ซิมมอน วัดตะเคียน
จนในที่สดุ ไปเรี ยนประจาที่โรงเรี ยนสวนกุหลาบจนจบชันมั ้ ธยมปี ที่ 5 ในปี พ.ศ.2463 หลังจากนัน้
ได้ เดินทางไปศึกษาต่อประเทศอังกฤษจนจบชันมั ้ ธยมที่โรงเรี ยนเทร้ นท์ (Trent) และต่อมาได้ เข้ า
เรี ยนในวิชากฎหมายที่มหาวิทยาลัยอ๊ อกฟอร์ ด สานัก Worcester College หลังจากจบแล้ วก็ได้
เข้ าศึกษาต่อที่โรงเรี ยนเนติบณ ั ฑิตอังกฤษ สานัก Gray’s Inn จนในปี พ.ศ.2472 เมื่อสาเร็ จ
การศึกษาแล้ วก็ได้ เดินทางกลับสูป่ ระเทศไทย
เมื่อกลับประเทศไทยแล้ ว ม.ร.ว.เสนีย์ ได้ เข้ ารับราชการในกระทรวงยุติธรรม โดยเริ่ มจาก
การเป็ นผู้พิพากษาสารอง แล้ วถูกบรรจุเป็ นผู้ พิพากษาศาลอาญา ศาลแพ่ง เลขานุการศาลฎีกา
และผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ตามลาดับ ในช่วงที่ทางานที่กระทรวงยุติธรรมนี ้ ม.ร.ว.เสนีย์ ได้ ถูก
แต่งตังให้้ เป็ นกรรมการร่ างกฎหมายต่างๆ ร่ วมกับผู้เชี่ยวชาญ โดยมีบทบาทร่ วมร่ างกฎหมายที่
สาคัญๆ ได้ แก่ ร่างประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ร่ างกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้ วยครอบครัว
มรดก และร่ างประมวลกฎหมายรั ษฎากร นอกจากนี ก้ ็ ยัง ได้ รั บการแต่ง ตัง้ ให้ เป็ นครู สอนวิช า
กฎหมายที่มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์ และการเมืองอีกด้ วย ต่อมาในปี พ.ศ.2483 ทางราชการมี
คาสั่ง ให้ ไ ปเป็ นทูตประจ าที่ ประเทศสหรั ฐ อเมริ กา ในช่วงที่ ป ระจ าอยู่ที่ สหรัฐ อเมริ กานัน้ อยู่ใน
ระหว่างสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ซึ่งในปี พ.ศ.2484 ญี่ปนก็ ุ่ ได้ โจมตีเพิร์ลฮาเบอร์ และบุกประเทศไทย
ในครัง้ นัน้ รัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม ได้ ยอมให้ ญี่ปนยกพลขึ ุ่ ้นบก และประกาศสงครามกับ
ฝ่ ายสัมพันธมิตร เหตุการณ์ในครัง้ นีส้ ่งผลให้ ม.ร.ว.เสนีย์ จัดตังขบวนเสรี ้ ไทยสายสหรัฐอเมริ กา
โดยร่ วมมือกับฝ่ ายสัมพันธมิตรในการต่อสู้กับฝ่ ายญี่ ปนุ่ ภายหลังจากสงครามยุติลง ม.ร.ว.เสนีย์

19
ได้ ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี และเป็ นผู้ร่วมก่อตังพรรคประชาธิ
้ ปัตย์ ในปี พ.ศ.2489 รวมทังได้

้ นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในนามของพรรคอีกด้ วย43
ลงสมัครรับเลือกตังเป็
สาหรับแนวคิดทางการเมืองของ ม.ร.ว.เสนีย์ นัน้ เขามีความเชื่อว่า สาระสาคัญในการ
ปกครองบ้ านเมืองอยู่ที่อานวยให้ ประชาชนมีชีวิต สิทธิ เสรี ภาพ และความสุข “ว่ากันอย่างไทยๆ
คือเป็ นการปกครองชนิดดับทุกข์อานวยสุขแก่ประชาราษฎร”44 ดังนันการปกครองที
้ ่ดีตามทัศนะ
ของ ม.ร.ว.เสนีย์ จึงไม่จาเป็ นว่าจะต้ องเป็ นการปกครองแบบประชาธิ ปไตยตามแบบตะวันตก
ขอให้ แต่เป็ นการปกครองที่ดี ช่วยดับทุกข์อานวยสุขแก่ประชาชนเท่านันก็้ พอแล้ ว ซึ่งลักษณะของ
การปกครองที่ดีที่กล่าวถึงนี ้ จะเห็นได้ จากการปกครองของไทยในสมัยเมื่อยัง มีพระมหากษัตริ ย์
ทรงสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ที่พระองค์ทรงบาเพ็ญลัทธิพ่อเมืองปกครองไพร่ ฟ้าประชาชนโดยยก
เอาประโยชน์สุขของประชาชนพลเมืองเป็ นจุดหมายในการปกครอง 45 โดยเฉพาะอย่างยิ่งการ
ปกครองในยุคสมัยของพ่อขุนรามคาแหงที่ ม.ร.ว.เสนีย์ เห็นว่าเป็ นการปกครองที่ดีที่สุด และเป็ น
ประชาธิปไตยมากที่สดุ ในประวัตศิ าสตร์ การเมืองของไทย

“…ถ้ าจะว่ า กั น ตามแนวประกาศอิ ส รภาพของอเมริ ก า คนไทยสมัย พ่ อ ขุ น


รามคาแหงก็มีทงชี ั ้ วิตอยู่ได้ ในบ้ านเมืองที่ในน ้ามีปลา ในนามีข้าว มีสิทธิเสรี ภาพ
อันประชาราษฎรในสมัยนันจะพึ ้ งปรารถนา กล่าวคือ สิทธิในทรัพย์สินและการรับ
มฤดกตกทอด สิทธิในการที่จะแสวงหาความเป็ นธรรมเสมอภาคกันที่สดุ โอกาสที่
จะแสวงความสุขโดยควรแก่อตั ภาพก็มีอยู่เป็ นอย่างยิ่งในสมัยสุโขทัย ศิลาจารึ ก
พ่อขุนรามคาแหงจึงได้ กล่าวเป็ นปิ ติไว้ ว่า คนในเมืองสุโขทัยนัน้ ใครจักมักเล่นเล่น
ใครจักมักหัวหัว ใครจักมักเลื่อนเลื่อน…”46

สาหรับแนวคิดประชาธิปไตยที่เกิดขึ ้นในสมัยของพ่อขุนรามคาแหงนัน้ ถือได้ ว่ามีลกั ษณะ


เป็ นประชาธิปไตยแบบไทย ที่มีพื ้นฐานการปกครองตามลัทธิพ่อเมือง หรื อลัทธิอเนกชนนิกรสโมสร
สมมติ ซึ่งพระเจ้ าแผ่นดินหรื อพ่อเมือง จะทาหน้ าที่เป็ นผู้แทนปวงชนชาวไทย และเป็ นผู้ประกัน
สิ ท ธิ เ สรี ภ าพของปวงชน โดยพระมหากษั ต ริ ย์ จ ะทรงมี อ านาจสิ ท ธิ ข าดตามระบอบ

43
ดูรายละเอียดใน ชีวลิขิต ม.ร.ว.เสนีย์ ปรำโมช (กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช, ).
44
ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช, “ศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหง” ใน ปำฐกถำทำงกำรเมืองและปั ญหำสังคม
บำงเรื่อง (พิมพ์เป็ นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ พระศรีนครคาม (ทอง สุทธะพินทุ) ณ ณาปนสถาน
กองทัพบก วัดโสมนัสวิหาร วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2509), หน้ า 189.
45
เรื่ องเดียวกัน.
46
เรื่ องเดียวกัน, หน้ า 193.

20
สมบูรณาญาสิทธิราชย์ ที่จะบังคับการให้ เป็ นไปตามหลักประกันนันได้ ้ ด้ วยเหตุนี ้ประชาธิปไตย
แบบไทย จึงเป็ นระบบการปกครองของประชาชนและเพื่อประชาชนเท่านัน้ หาใช่การปกครองโดย
ประชาชนเหมือนกับประชาธิปไตยในประเทศตะวันตก47
ในทัศนะของ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ไม่ได้ มีเฉพาะประชาธิปไตยเท่านันที ้ ่มีมาตังแต่
้ ในสมัย
พ่อขุนรามคาแหง แต่รัฐธรรมนูญฉบับแรกของไทยก็ได้ ถือกาเนิดขึ ้นในยุคนี ้อีกด้ วย โดย “ปฐม
รัฐธรรมนูญของไทย” ที่ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช กล่าวถึงก็คือ “ศิลาจารึ กของพ่อขุนรามคาแหง” และ
การจะเข้ าใจในเรื่ องนี ค้ งต้ องมาทาความเข้ าใจความหมายของรัฐ ธรรมนูญตามความคิดของ
ม.ร.ว.เสนีย์ ดังที่เขาได้ อธิบายไว้ ว่า “…รัฐธรรมนูญหมายถึงแต่เอกสารเกี่ยวกับการปกครอง
บ้ านเมือง อันมีลกั ษณะเป็ นสัญญาประชาคม คือเป็ นกฎหมายสูงสุดผูกมัดให้ ผ้ มู ีอานาจปกครอง
บ้ านเมืองใช้ อานาจภายในขอบเขตที่กาหนดไว้ ในรัฐธรรมนูญนัน” ้ 48 ซึ่งคาอธิบายดังกล่าวนี ้ ได้ ทา
ให้ ม.ร.ว.เสนีย์ สามารถนาเอาศิลาจารึกของพ่อขุนรามคาแหงไปเปรี ยบเทียบกฎบัตรแมคนาคาตา
โดยในกฎบัตรแมคนาคาตาจะมีข้อสัญญาผูกมัดพระเจ้ าแผ่นดินในประการต่างๆ ในขณะที่ศิลา
จารึกแม้ จะไม่มีลกั ษณะผูกมัดอย่างแข็งกร้ าวเหมือนในกฎบัตรแมคนาคาตา แต่ก็มีลกั ษณะเป็ น
สัญญาประชาคม ซึ่งคาประกาศนันมี ้ ผลผูกพันกับพ่อขุนรามคาแหงเช่นเดียวกับที่แมคนาคาตามี
ผลผูกพันกับพระเจ้ าจอหน์ 49 ฉะนัน้ ถ้ าคนอังกฤษถือว่ากฎบัตรแมคนาคาตาเป็ นรัฐธรรมนูญฉบับ
แรกของเขาได้ ก็ไม่น่าแปลกใจที่เราคนไทยควรจะถือว่าศิลาจารึ กพ่อขุนรามคาแหงเป็ น “ปฐม
รัฐธรรมนูญของไทย”50
นอกจากนี ้ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ยังวิเคราะห์ว่า ศิลาจารึ กของพ่อขุนรามคาแหงว่ามี
ข้ อบัญญัตหิ ลักๆ ที่ไม่แตกต่างไปจากข้ อบัญญัติของรัฐธรรมนูญโดยทัว่ ๆ ไป กล่าวคือ ข้ อความใน
ศิลาจารึกฯ ได้ มีการอธิบายถึงการใช้ อานาจนิตบิ ญ
ั ญัติ บริหาร และตุลาการ ไว้ ด้วย

47
ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช, “คาอภิปรายในที่ประชุม นักนิตศิ าสตร์ นานาชาติ ณ ศาลาสันติธรรม
พ.ศ.2508” ใน ปำฐกถำทำงกำรเมืองและปั ญหำสังคมบำงเรื่อง, หน้ า 41 – 42.
48
ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช, “ศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหง”, หน้ า 161.
49
เรื่ องเดียวกัน, หน้ า 162.
50
นอกจากที่ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช จะได้ ทาการเปรี ยบเทียบรัฐธรรมนูญฉบับแรกของไทยและอังกฤษ
แล้ ว เขายังได้ ทาการเปรี ยบเทียบความเป็ นประชาธิปไตยของทังสองประเทศนี
้ ้อีกด้ วย โดยเขาได้ กล่าวว่า การถือ
กาเนิดของแมคนาคาตาในปี ค.ศ.1215 ยังไม่ใช่จดุ เริ่ มต้ นของประชาธิปไตยที่แท้ จริ งของอังกฤษ ซึง่ ต้ องใช้ เวลา
อีก 400 – 500 ปี ถึงจะพัฒนาจากแมคนาคาตาไปสูป่ ระชาธิปไตยที่สมบูรณ์ได้ แต่ในส่วนของไทยนัน้ เมื่อศิลา
จารึกของพ่อขุนรามคาแหงได้ ถือกาเนิดขึ ้นในปี ค.ศ.1283 สภาพบ้ านเมืองของไทยก็มีความเป็ นประชาธิปไตยไป
ด้ วยในขณะเดียวกัน เพราะฉะนัน้ “ถ้ าใครกล่าวว่าอังกฤษเป็ นมารดาประชาธิปไตย ไทยสมัยพ่อขุนรามคาแหงก็
เป็ นยายประชาธิปไตยเหนือขึ ้นไปอีก เพราะเป็ นประชาธิปไตยมาก่อนอังกฤษ แต่คนไทยเราไม่ขยัน สบายเข้ ามัก
ขี ้เกียจ …ถึงสมัยต่อมาลุแก่สทิ ธิเสรี ภาพกันเกินไป ประชาธิปไตยจึงหาย” ดูใน เรื่ องเดียวกัน, หน้ า 211 – 212.

21
“…อานาจนิติบญ ั ญัติในสมัยนัน้ ใช้ กันด้ วยวิธีให้ ราษฎรถือบ้ านถือเมืองต่อพระ
พักตร์ พ่อขุนรามคาแหงผู้เสด็จประทับเป็ นประธานเหนือขดานหิน คือพระแท่น
มนังคศิลาบาตร อานาจบริ หาร ใช้ กนั โดยผ่านทางขุนเมืองลูกเมือง อานาจตุลา
การ มีพ่อเมืองเป็ นศาลสูงสุด เพื่อประสิทธิ ประสาทความยุติธรรมแก่ประชา
ราษฎรโดยเสมอกันทัว่ ทุกคน…”51

จะเห็นได้ ว่า ในทัศนะของ ม.ร.ว.เสนีย์ ระบอบประชาธิปไตยของไทยมีมานานแล้ วตังแต่ ้


สมัยพ่อขุนรามคาแหง และพระมหากษัตริ ย์ของไทยทุกพระองค์ก็ทรงมี แนวพระราชดาริ เป็ น
“ประชาธิปไตย” เป็ นส่วนใหญ่52 แม้ ในบางยุคสมัยอาจมีความนิยมชมชอบลัทธิเทวราชาอยู่บ้าง
แต่พืน้ ฐานการปกครองแบบพ่อกับลูก แบบธรรมราชาและประชาธิ ปไตยก็ ไม่สูญหายไปเลย
โดยเฉพาะอย่า งยิ่ ง เมื่ อ ประเทศไทยได้ ย่า งก้ า วเข้ า สู่ยุค ใหม่ ใ นสมัย รั ต นโกสิ น ท ร์ ระบอบ
ประชาธิปไตยก็ได้ กลับเจริ ญขึ ้นอีกครัง้ หนึ่งหลังจากที่เสื่อมลงไปในยุคที่ผ้ นู าไทยสมัยอยุธยาเน้ น
แนวคิดเทวราชามากกว่าธรรมราชา แต่อย่างไรก็ดี ประชาธิปไตยของไทยที่กาลังเติบโตขึ ้นนี ้ก็ดารง
อยูไ่ ด้ เพียง 150 ปี ก็เกิดการพลิกแผ่นดินขึ ้นในปี พ.ศ.2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ.2475 ตามคาบรรยายของ ม.ร.ว.เสนีย์ นันเกิ ้ ดจาก
การที่ “คนรุ่นใหม่ได้ รับการศึกษาในสิทธิเสรี ภาพของปวงชน จึงใฝ่ ฝั นที่จะปกครองตนเอง ซึ่งข้ อนี ้
จะว่าเป็ นผิดเป็ นโทษอะไรไม่ได้ หากแต่เป็ นไปตามกระแสเหตุการณ์ของโลก ตลอดจนเหตุการณ์
ในบ้ านเมืองไทยของเราเอง”53 แม้ แต่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้ าเจ้ าอยู่หวั ก็ยงั ทรงคาดการณ์
ล่วงหน้ าว่า การปกครองของไทยจะต้ องเปลี่ยนไปปกครองแบบประชาธิ ปไตยเข้ าสักวันหนึ่ง
พระองค์จึงทรงโปรดเกล้ าฯ ให้ ร่างรัฐธรรมนูญปกครองแผ่นดินขึ ้น เพื่อที่จะได้ พระราชทานให้ แก่
ปวงชนชาวไทย หากแต่มีพระญาติพระวงศ์ทกั ท้ วงว่ายังไม่ถึงเวลา จึงยังไม่ได้ การพระราชทาน
รัฐธรรมนูญกันในทันที และเป็ นการเปิ ดโอกาสให้ คณะปฏิวตั ิ พ.ศ.2475 ชิงก่อการวิ่งราว
รัฐธรรมนูญไปเสียก่อน54
สาหรับการปฏิวตั ิในปี พ.ศ.2475 ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช เห็นว่า ไม่ได้ นาไปสู่ระบอบ
ประชาธิปไตยเหมือนเมื่อคราวที่คนทังชาติ ้ ร่วมกันก่อการปฏิวตั ิล้มอานาจขอมในยุคสุโขทัย เพราะ

51
เรื่ องเดียวกัน, หน้ า 194.
52
ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช (แมลงหวี)่ , เบือ้ งหลังประวัติศำสตร์ (พระนคร: โรงพิมพ์สหอุปกรณ์การพิมพ์,
2490).
53
ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช, “หัวข้ อสัมมนาทางการเมือง” ใน ปำฐกถำทำงกำรเมืองและปั ญหำสังคม
บำงเรื่อง, หน้ า 9.
54
เรื่ องเดียวกัน.

22
การก่อการปฏิวตั ริ ัฐประหารในปี 2475 ครัง้ นี ้ เกิดจากบุคคลเพียงบางหมูบ่ างคณะเท่าใด ไม่ได้ เกิด
จากการร่วมมือร่วมใจของคนทังชาติ ้ ดังนันความรั
้ กใคร่นบั ถือจึงไม่มีซึ่งกันและกัน การรวมกันเป็ น
ประชาธิปไตยจึงค่อนข้ างลาบาก55 และยิ่งไปกว่านัน้ การปฏิวตั ิรัฐประหารในปี พ.ศ.2475 นัน้
“เหมือนกับว่าได้ โค่นต้ นโพธิ์ต้นไทรที่เคยให้ ร่ม แล้ วปลูกต้ นตาแยขึ ้นแทนที่”56 ทังนี
้ ้เพราะล้ มอานาจ
พระมหากษัตริ ย์ที่ปกครองเป็ นพ่อเมืองลงไปแล้ ว ก็ไม่มีลทั ธิการปกครองใหม่ที่ดีกว่ามาแทน เมื่อ
เริ่ ม จะปกครองเป็ นประชาธิ ปไตยกันจริ งๆ แม้ ผ้ ูก่อการเปลี่ ยนแปลงการปกครองบางคนจะ
ปรารถนาให้ เมืองไทยได้ เป็ นประชาธิปไตยอย่างแท้ จริ ง แต่ผ้ กู ่อการเหล่านัน้ ก็ต้องประสบกับ
ปั ญหาที่คนไทยผู้เคยชินต่อลัทธิพ่อเมืองและยังไม่พร้ อมที่จะเป็ นประชาธิปไตยด้ วย เมื่อไม่ได้ รับ
ความร่วมมือจากประชาชนเช่นนี ้ แม้ จะมีการประกาศใช้ รัฐธรรมนูญสักกี่ฉบับ บ้ านเมืองก็จะเป็ น
ประชาธิปไตยขึ ้นมาไม่ได้ การพยายามยึดอานาจจากกษัตริ ย์ในครัง้ นี ้ จึงเปรี ยบเหมือน “…สร้ าง
บ้ านจากหลังคาลงมาดิน เมื่อไม่มีเสารับ สร้ างหลังคาเสร็ จหลังคาก็พงั บ้ านเมืองอื่นเขาเป็ น
ประชาธิปไตยกันได้ เพราะเขามีประชาชนเป็ นเสารับหลังคาประชาธิปไตย…”57
นอกจากความไม่พร้ อมของประชาชนแล้ ว การปฏิบตั ิตวั ของบรรดานักปฏิวัติรักชาติ
ทัง้ หลายในสมัยนัน้ ก็ เ ป็ นส่วนหนึ่ง ที่ ทาให้ การเมืองหลัง การเปลี่ ยนแปลงการปกครองในปี
พ.ศ.2475 ไม่สามารถจะพัฒนาเป็ นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์ได้ โดย ม.ร.ว.เสนีย์ เห็นว่า การจะ
เป็ นประชาธิปไตยตามแบบตะวันตกนัน้

“เมื่อเปิ ดประตูกว้ าง ให้ คนเข้ ามาช่วยปกครองมากๆ โอกาสที่คนชัว่ จะปะปนเข้ า


มากับคนดีย่อมมีมากขึ ้นเป็ นเงาตามตัว …และเมื่อประชาชนได้ เห็นดังนันก็ ้ เริ่ ม
รู้สกึ เบื่อหน่าย และหวนกลับไปคิดถึงความร่มเย็นที่เคยได้ รับในสมัยที่ปกครองกัน
โดยลัทธิ พ่อเมือง การแตกแยกหันหลังให้ กันจึงได้ เกิดมีขึน้ ในแผ่นดินระหว่าง
ผู้ปกครองกับผู้อยู่ใต้ ปกครอง… และเมื่อผู้ปกครองแผ่นดินไม่ได้ รับความไว้ วางใจ
ตลอดจนการส่งเสริมและสนับสนุนจากประชาชนเช่นนี ้ ก็เลยเตลิดเข้ ารกเข้ าพงไป
ใหญ่ กลายเป็ นการปกครองตามอาเภอใจ การเมืองในเมืองไทยจึงถอยหลังเข้ า
คลอง กลับไปเป็ นกินเมืองโกงเมืองกันเกร่อไปหมด”58

55
ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช, “ศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหง”, หน้ า 200.
56
ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช, “หัวข้ อสัมมนาทางการเมือง”, หน้ า 10.
57
ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช, “ศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหง”, หน้ า 192.
58
ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช, “หัวข้ อสัมมนาทางการเมือง”, หน้ า 10 – 11.

23
จะเห็นได้ ว่า ในทัศนะของ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช การปฏิวตั ิ 2475 มีฐานะเป็ นเพียงแค่การ
รัฐประหาร แย่งอานาจจากกษัตริย์ลงมาสูค่ ณะบุคคล โดยไม่มีการสร้ างสรรค์ใดๆ ในทางการเมือง
เกิดขึ ้น นอกจากมีรัฐธรรมนูญเร็ วขึ ้น ซึ่งต้ องนับว่าเป็ นผลเสียมากกว่าผลดีแก่ประเทศชาติ เพราะ
อย่างไรก็ตาม ก็จะมีการพระราชทานรัฐธรรมนูญอยู่แล้ ว กระนันก็ ้ ดี ถึงแม้ ว่าจะมีรัฐธรรมนูญจาก
การพระราชทานเกิดภายหลังเหตุการณ์ 24 มิถนุ ายน 2475 ขึ ้นก็ตาม แต่การถือกาเนิดนันเป็ ้ นไป
อย่างผิดธรรมชาติ กล่าวคือ ไม่ได้ เกิดอย่างค่อยเป็ นค่อยไป และกลุ่มคนที่ทาการเรี ยกร้ องนันได้ ้ ทา
ผิดหน้ าที่ คือได้ ทาการยึดอานาจ ซึง่ ถือเป็ นแบบอย่างที่เลวร้ ายอันจะมีตอ่ เนื่องไปอย่างไม่ร้ ูจบรู้สิ ้น
ความคิดของคนบางกลุม่ ที่ต้องการ "จากัด" อานาจของกษัตริ ย์ถือเป็ นสิ่งเลวร้ าย เพราะพฤติกรรม
ดังกล่าวเป็ นการทาผิดธรรมชาติ และผิดข้ อตกลงที่มีมาตามประเพณี เป็ นการกระทาที่ขดั กับ
วัฒ นธรรมไทยและเลียนแบบวัฒนธรรมของตะวันตกมาอย่างผิดๆ กระทาการฝื นกาลเวลา
เพราะว่าทุกสิ่งทุกอย่างไม่มีความพร้ อ มเลย สิ่งที่เกิดขึ ้นอย่างต่อเนื่องภายหลัง การยึดอานาจในปี
พ.ศ.2475 คือการสถาปนาระบอบ "กษัตริ ย์หลายองค์" ขึ ้นแทนกษัตริ ย์องค์เดียว59 และมีการแย่ง
อานาจกันเอง ทาให้ การเมืองการปกครองของประเทศไทยตกอยู่ในวัฏจักรแห่งความชัว่ ร้ ายของ
การปฏิวตั ริ ัฐประหารตลอดมา

ร.ท.จงกล ไกรฤกษ์
ร.ท.จงกล ไกรฤกษ์ (พ.ศ.2444 - 2511) เป็ นบุตรขุนเสาวรักษ์ บรรณาคม (ชิต ไกรฤกษ์ )
และคุณลิ ้นจี่ ไกรฤกษ์ สาเร็ จการศึกษาจากโรงเรี ยนนายร้ อยทหารบกเมื่อปี พ.ศ.2465 และได้ เข้ า
เป็ นนายทหารสังกัดกรมทหารราบที่ 15 จังหวัดนครราชสีมา ต่อมาได้ เข้ าศึกษาที่โรงเรี ยนเสนาธิ
การ และเมื่อสาเร็ จการศึกษาในปี พ.ศ.2469 ก็ได้ กลับไปรับตาแหน่งผู้บงั คับหมวดทหารตามเดิม
และในช่วงนี ้ จงกล ไกรฤกษ์ ได้ มีโอกาสรู้จกั กับพระยาศรี สิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ) ซึ่งในขณะนัน้
เป็ นเสนาธิการทหารกองทัพภาคที่ 1 การได้ ร้ ูจกั ในครัง้ นันได้้ ทาให้ ทงสอง
ั้ “มีการติดต่อทางใจกัน
60
ตังแต่
้ นนมา
ั ้ จนกระทัง่ ร่วมกันทาการกบฏในเดือนตุลาคม พ.ศ.2476” ต่อมา ได้ รับการบรรจุเป็ น
นายทหารเสนาธิการแผนกยุทธการและฝึ กทหารกรมเสนาธิการในสังกัดของพันโทหม่อมเจ้ าปรี ดิ
เทพย์พงศ์ เทวกุล และที่กรมเสนาธิ การนี ้ จงกล ไกรฤกษ์ ได้ มีปัญหาขัดแย้ งกับนายทหารชัน้
ผู้ใหญ่ จึงทาให้ ถกู โยกย้ ายออกไปรับราชการในต่างจังหวัด โดยประจาอยู่ที่จงั หวัดพิษณุโลกเป็ น
จัง หวัด สุด ท้ า ยก่ อ นที่ จ ะประสบกับ ภัยพิ บัติท างการเมื อ ง ด้ ว ยการเข้ า ร่ วมกับ พระยาศรี สิ ท ธิ

59
นี่เป็ นทัศนะความเห็นและเป็ นคาของ ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช, เบือ้ งหลังประวัติศำสตร์ .
60
จงกล ไกรฤกษ์ , หนังสืออนุสรณ์ พิธีพระรำชทำนเพลิงศพ ร.ท.จงกล ไกรฤกษ์ (พระนคร: ศูนย์
การพิมพ์, 2512), หน้ า 32.

24
สงคราม หลวงพลหาญสงคราม ก่อการกบฏในนาม “คณะกู้บ้านเมือง” ในเดือนตุลาคม พ.ศ.2476
และภายหลังจากพ่ายแพ้ ในครัง้ นัน้ เขาได้ ถกู จับและถูกจองจาที่คกุ บางขวางและเกาะตะรุเตาเป็ น
เวลานานถึง 11 ปี ในฐานะนักโทษการเมือง
สาหรับจุดยืนทางการเมืองของ จงกล ไกรฤกษ์ จากภูมิหลังของเขาจะเห็นได้ ว่า เขาเป็ นผู้
หนึ่งที่ไม่นิยมระบอบใหม่ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ถึงแม้ ในระยะแรกเขาจะ
ไม่ได้ มีทศั นคติเชิงลบต่อเหตุการณ์เมื่อวันที่ 24 มิถนุ ายน พ.ศ.2475 แต่จากสภาพการแก่งแย่งและ
ความขัดแย้ งกันในหมูผ่ ้ นู าทางการเมืองที่เกิดขึ ้นในช่วงเวลานัน้ ส่งผลให้ ร.ท.จงกล ไกรฤกษ์ แสดง
จุด ยื น ที่ เ ป็ นปฏิ ปั ก ษ์ ต่ อ รั ฐ บาลพระยาพหลพลพยุห เสนา ซึ่ ง ถื อ ก าเนิ ด ขึ น้ ภายหลัง การท า
รัฐประหารเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ.2476 และได้ แสดงความเป็ นปฏิปักษ์ ต่อคณะราษฎร
โดยเฉพาะปรี ดี พนมยงค์ และจอมพล ป.พิบลู สงครามอย่างชัดเจน โดยเขาเห็นว่า การปฏิวตั ิในปี
พ.ศ.2475 เป็ นเพียงการก่อการของนายทหารและพลเรื อนกลุ่มเล็ กๆ ในนามของ “คณะราษฎร” ที่
หลอกนายทหารจากหน่วยงานต่างๆ ให้ เข้ ามาเป็ นกาลังในวันก่อการ ทังๆ ้ ที่นายทหารเหล่านันไม่ ้ ร้ ู
เลยว่าตัวเองกาลังมาเป็ นฐานให้ กบั การปฏิวตั ยิ ึดอานาจจากกษัตริย์
ดังนัน้ ความสาเร็ จของการยึดอานาจวันที่ 24 มิถุนายน 2475 จึงไม่ได้ มาจากกาลังอั น
แข็งแกร่งของคณะราษฎรหรื อแรงสนับสนุนของคนส่วนใหญ่ในประเทศ แต่มาจากพระบาทสมเด็จ
พระปกเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั เองที่ทรงเสียสละพระราชอานาจ และทรงกระทาเพื่อประชาธิปไตย ด้ วยการ
ยอมโอนอ่อนผ่อนตามฝ่ ายคณะราษฎร ทรงยอมลดพระราชอานาจของพระองค์ลงมาอยู่ภายใต้
กฎหมายเอง ซึ่ ง ในเรื่ อ งนี พ้ ระบาทสมเด็ จ พระปกเกล้ าได้ มี พ ระราชด าริ ที่ จ ะพระราชทาน
รัฐธรรมนูญให้ แก่พี่น้องปวงชนชาวไทยตัง้ แต่ก่อนปี พ.ศ.2475 แล้ ว แต่แนวพระราชดาริ ของ
พระองค์ท่านก็ยงั ไม่ทนั ใจ “คนกลุ่ม 70 คน (คณะราษฎร – ผู้อ้าง) ซึ่งจับอาวุธแย่งยึดอานาจใน
ตอนเช้ า เมื่อเรื่ องทราบถึงพระองค์ ในตอนบ่าย ก็ทรงสนับสนุนทันที ทรงอดทนกล ้ากลืนความเจ็บ
แค้ นที่ ถู ก บริ ภ าษ ทรงเป็ นผู้ เสี ย สละพระราชอ านาจอั น ยิ่ ง ใหญ่ ตัง้ แต่ น าที แ รกของการ
เปลี่ยนแปลง…”61
จะเห็นได้ วา่ ในทัศนะของ จงกล ไกรฤกษ์ ระบอบรัฐธรรมนูญที่เกิดขึ ้นภายหลังการปฏิวตั ิ
พ.ศ.2475 นัน้ ไม่ไ ด้ เ กิ ดจากการยึด อานาจของผู้ก่ อการแล้ วมี การตกลงกัน ร่ วมกัน ระหว่า ง
พระมหากษัตริย์และราษฎร ดังที่ปรี ดี พนมยงค์พยายามอธิบาย 62 แต่เกิดจากการ “ยอม” เสียสละ
ของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้ าเจ้ าอยู่หวั ในการ “พระราชทาน” อานาจสูงสุดในการปกครองให้

61
จงกล ไกรฤกษ์ , ตัวตำยแต่ ช่ อื ยัง (พระนคร: เกื ้อกูลการพิมพ์, 2507), หน้ า 172.
62
ดูรายละเอียดในส่วนคาอธิบายที่กล่าวถึงปรี ดี พนมยงค์ ดังที่กล่าวไปแล้ วข้ างหน้ า และดูเพิ่มเติมได้
ใน นคริ นทร์ เมฆไตรรัตน์, ควำมคิด ควำมรู้ และอำนำจทำงกำรเมืองในกำรปฏิวัติสยำม 2475 (กรุงเทพฯ:
สานักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน, 2546), บทที่ 2 และ 4.

25
เป็ นของปวงชน63 ซึ่งในการนี ้ถ้ าพระองค์ทรงคิดจะแย่งพระราชอานาจกลับคืนมา การก่อการก็คง
ไม่อาจสาเร็ จลุล่วงลงไปได้ อย่างเรี ยบร้ อย ฉะนัน้ รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยของไทยภายหลัง
พ.ศ. 2475 จึงได้ มาจากการ “พระราชทาน” ขององค์พระมหากษัตริ ย์ มากกว่าจะมาจากการยึด
อานาจของคณะราษฎร ในกระบวนการนี ้ การก่อการในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.2475 เป็ นเพียง
ปรากฏการณ์ที่เร่งให้ การพระราชทานรัฐธรรมนูญเป็ นไปอย่างรวดเร็ วขึ ้นเท่านัน้
ในส่วนของคณะราษฎรในสายตาของ จงกล ไกรฤกษ์ นัน้ แบ่งออกเป็ น 2 กลุ่มด้ วยกัน คือ
กลุ่มข้ าราชการชันผู้ ้ น้อย ซึ่งจงกล ไกรฤกษ์ มีความเห็นว่า “มีอุดมการณ์สาส่อน” และได้ จดั การ
ประชุมคิดหาวิธีทาลายระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในร้ านกาแฟเล็กๆ แบบเดียวกับที่ฮิตเลอร์
64
ประชุมพรรคพวกจัดตังพรรคนาซี้ โดยที่ในสมัยนันคนกลุ
้ ่มนี ้ไม่มีทงก
ั ้ าลังและไม่มีอานาจเพียง
พอที่ จ ะขึ น้ มาเป็ นผู้น าได้ ใ นระยะแรกของการเปลี่ ย นแปลงการปกครอง แต่ใ นระยะต่อ มา
คณะราษฎรกลุ่มนี ้จะพยายามเข้ ามาชิงอานาจทางการเมืองด้ วยกาลังทหาร และก็ทาให้ ระบอบ
ประชาธิปไตยที่กาลังเริ่ มเติบโตในช่วงรัฐบาลพระยามโนปกรณ์นิติธาดามีอนั ต้ องสะดุดลงไป (ดัง
จะกล่าวต่อไปข้ างหน้ า)
ส่วนอีกกลุม่ หนึง่ คือ กลุม่ ของนายทหารชันผู้ ้ ใหญ่ที่นาโดย พระยาทรงสุรเดช พระยาพหล
พลพยุหเสนา และพระยาฤทธิ์ อัคเณย์ เป็ นต้ น คนกลุ่ม นี ถ้ ื อได้ ว่าเป็ นกลุ่ม ที่ กุม อานาจส าคัญ
ภายหลังการเปลี่ยนแปลง 2475 และเป็ นกลุ่มคนที่ จงกล ไกรฤกษ์ เห็นว่า “เพ็งเล็งประโยชน์ของ
บ้ านเมืองยิ่งกว่าประโยชน์ของคณะราษฎร”65 กลุ่มทหารเสือนี ้ได้ วางตัวในฐานะเป็ นผู้พิทกั ษ์ และ
ปกป้องระบอบใหม่มากกว่าที่จะเข้ ามาเป็ นผู้นารัฐบาลโดยตรง จึงได้ มีการเชิญพระยามโนปกรณ์
นิติธาดา ขุนนางรุ่นในระบอบเก่าให้ เข้ ามารับตาแหน่งนายกรัฐมนตรี คนของแรกของประเทศไทย
ซึง่ พระยามโนปกรณ์นิตธิ าดาถือได้ วา่ เป็ น

“…เพชรเม็ดเอก ที่เหมาะสมกับระบอบประชาธิ ปไตย ยิ่งกว่าเพชรเม็ดต่างๆ ของ


คณะราษฎรที่มีอยู่ ซึ่งยังเป็ นข้ าราชการชันผู ้ ้ น้อย ไม่ได้ รับความนิยมเชื่อถือในวง
กว้ าง จึงได้ เป็ นผู้จดั ตังรั
้ ฐบาลในสมัยเริ่ มแรกประชาธิปไตย และสามารถบริ หาร
ราชการมาด้ วยความราบรื่ นในครรลองของการพลิกแผ่นดินใหม่ แม้ กลุ่มชนใน

63
จงกล ไกรฤกษ์ , ตัวตำยแต่ ช่ อื ยัง .
64
จงกล ไกรฤกษ์ อยู่อย่ ำงเสือ กรุงเทพฯ: นพบุรีการพิมพ์, 2546, หน้ า 139 หนังสือเล่มนี ้ จงกล ไกร
ฤกษ์ ได้ เขียนขึ ้นในช่วงบันปลายชี
้ วิต ในระหว่างปี พ.ศ.2504-2510 แต่ไม่ได้ มีการจัดพิมพ์ จนกระทัง่ ถึงปี พ.ศ.
2546 บุตรชายของท่าน คือ คุณโกศล ไกรฤกษ์ ได้ นาเอาต้ นฉบับมาให้ อาจารย์วิทยากร เชียงกูล อ่านและนามา
จัดพิมพ์เผยแพร่ขึ ้นเป็ นครัง้ แรก
65
เรื่ องเดียวกัน, หน้ า 162 – 163.

26
ระบอบเก่าที่ต้องสูญเสียโอกาส, อานาจ และต้ องได้ รับอัปยศก็พากันกล ้ากลืนไม่มี
ใครขัดขืนคิดจะแย่งอานาจและแก้ แค้ น เพราะพระบาทสมเด็จพระปกเกล้ าฯ ผู้
เป็ นจอมคนทังระบอบเก่
้ าและใหม่ ทรงเป็ นผู้สญ ู เสียมากกว่าใครๆ ได้ ทรงเอออวย
ไปกับรัฐบาลพระยามโนฯ ในระบอบใหม่เสียแล้ ว”66
สภาพทางการเมืองภายใต้ รัฐบาลพระยามโนปกรณ์นิตธิ าดา ในทัศนะของ จงกล ไกรฤกษ์
จึงมีลกั ษณะเป็ นประชาธิปไตยค่อนข้ างมาก เพราะว่าเป็ นรัฐบาลที่ทุกฝ่ ายก็ให้ การสนับสนุนและ
คอยประคับประคอง ไม่ว่าจะเป็ นสถาบันพระมหากษัตริ ย์ ข้ าราชการอาวุโส ฝ่ ายประชาชน และ
แม้ กระทัง่ กลุ่มนายทหารชันผู
้ ้ ใหญ่ ที่มีฉายาว่าเป็ น “นายทหารเสือ“ ของฝ่ ายคณะราษฎร ที่คอย
กุมอานาจทางทหารไม่ให้ ใครใช้ กาลังอาวุธเข้ ายึดอานาจละเมิดวิธีการของประชาธิปไตย อย่างไรก็
ดี แม้ หลายฝ่ ายจะคอยให้ ความคุ้มครองการปกครองในระบอบใหม่ แต่ก็ยังคงมีกลุ่มบุคคลบาง
กลุม่ พยายามเข้ าแทรกแซง และคอยบัน่ ทอนความเป็ นประชาธิปไตยที่เพิ่งเริ่มเดินนี ้
คนหนึ่ง ซึ่งบ่อนทาลายรัฐบาลพระยามโนปกรณ์นิติธาดา ได้ แก่ปรี ดี พนมยงค์ ซึ่งจงกล
ไกรฤกษ์ เห็นว่า เป็ น “ผู้มีอุดมคติทางการเมื องเป็ นนักสังคมนิยมฝ่ ายซ้ ายจัด ”67 และเป็ นผู้ที่
พยายามจะเปลี่ยนประเทศไทยให้ กลายไปเป็ นคอมมิวนิ สต์ ดังจะเห็นได้ จากการพยายามเสนอ
รั ฐ ธรรมนู ญ ตามแบบอย่ า งของประเทศรั ส เซี ย โดยเลี ย นแบบสตาลิ น แต่ พ ระบาทสมเด็ จ
พระปกเกล้ าเจ้ าอยู่หวั ไม่ทรงเห็นด้ วย จึงได้ มีการร่ างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ขึ ้นประกาศในวันที่ 10
ธันวาคม พ.ศ.2475 อย่างไรก็ดี ปรี ดี พนมยงค์ก็ไม่ได้ หยุดเพียงแค่นนั ้ ยังคงได้ มีการพยายามเสนอ
โครงการเศรษฐกิจแห่งชาติตามอย่างคอมมิวนิสต์เข้ าสู่ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรอย่างต่อเนื่อง
รวมทัง้ ยังมี การรวมสมัครพรรคหัวรุ นแรงจัดตัง้ เป็ นเป็ นพรรคการเมื องขึน้ เพื่อแสวงหาอานาจ
ในทางการเมือง “เมื่อได้ แล้ วก็จะเอาสีแดงทาผืนแผ่นดินไทยนั น้ ”68 จากพฤติกรรมของปรี ดี พนม
ยงค์ดงั กล่าวนีเ้ อง ทาให้ นายกรัฐมนตรี พระยามโนปกรณ์นิติธาดาต้ องหาทางแก้ ไขด้ วยการไม่
พิจารณาเค้ าโครงเศรษฐกิจแห่งชาติของปรี ดี พนมยงค์ และมีคาสัง่ ไม่อนุญาตให้ มีการตังพรรค ้
การเมือง เพื่อป้องกันไม่ปรี ดี พนมยงค์ก้าวขึ ้นมามีอานาจสูงสุดทางการเมืองได้ นอกจากนี ้ พระ
ยามโนปกรณ์นิติธาดายังได้ ตราพระราชกฤษฎีกาปิ ดสภาผู้แทนราษฎรและงดใช้ รัฐธรรมนูญบาง
มาตรา ในวันที่ 1 เมษายน พ.ศ.2476 รวมทังได้ ้ หาทางแก้ ไขปั ญหาโดยให้ ปรี ดี พนมยงค์เดินทาง
ไปต่างประเทศพลางก่อนในช่วงเวลาหนึง่

66
เรื่ องเดียวกัน, หน้ า 186 – 187.
67
เรื่ องเดียวกัน, หน้ า 199.
68
เรื่ องเดียวกัน.

27
กระนันก็
้ ตาม การที่ปรี ดี พนมยงค์ ถูกส่งออกไปต่างประเทศนี ้ ดูเหมือนจะทาให้ สถานะ
ความมัน่ คงของประชาธิปไตยของไทยดีขึ ้น แต่เหตุการณ์กลับยิ่งดูเลวร้ ายลงเมื่อกลุ่มทหารเสือ
โดยเฉพาะพระยาทรงสุรเดชกับพระยาพหลพลพยุหเสนา เกิดแตกแยกกันเอง จนนาไปสู่การ
ลาออกของทัง้ 4 ทหารเสือ และเกิดการเข้ ามาแทรกแซงของหลวงพิบลู สงคราม โดยอาศัยช่องว่าง
ทางอานาจนีก้ ้ าวขึน้ สู่อานาจทางการเมือง ด้ วยการชักชวนให้ พระยาพหลพลพยุหเสนาทาการ
“ปฏิวตั ิซ้อน” ในวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ.2476 ซึ่งการยึดอานาจในครัง้ นี ้ จงกล ไกรฤกษ์ เห็นว่า
เป็ นการ “กุ ม อ านาจเอาไว้ เป็ นของตนหรื อ ของชนกลุ่ ม น้ อย ไม่ ใ ห้ ประเทศบ้ า นเมื อ งเป็ น
ประชาธิปไตยได้ พวกขุนนางข้ าราชการรุ่นเก่าที่ได้ เสียสละยศและตาแหน่งไปแล้ วจะพากันท้ อแท้
เสียน ้าใจ นานไปก็จะคิดกลับมาแก้ แค้ นกู้อานาจคืน ชาติบ้านเมืองจะถูกยื ้อแย่งอานาจกันกลับไป
กลับมา…”69 การปฏิวัติซ้อนในเดือนมิถุนายน 2476 จึงถื อได้ ว่าเป็ นจุ ดสะดุดครัง้ ส าคัญของ
ประชาธิปไตยไทย ที่อานาจจะไม่ได้ เป็ นอานาจของปวงชนอีกต่อไป แต่จะเป็ นอานาจของกลุ่มคน
ผู้มีกาลังและมีอาวุธที่จะเข้ ามาแก่งแย่งกัน และที่ยิ่งไปกว่านันการปฏิ
้ วตั ิซ้อนในครัง้ นี ้ได้ นาปรี ดี
พนมยงค์ และแนวคิดคอมมิวนิสต์กลับเข้ ามาสูส่ งั คมการเมืองไทยอี กครัง้ หนึง่ 70
จากสภาพการเมืองไทยภายหลังการปฏิวตั ิซ้อนในเดือนมิถนุ ายน พ.ศ.2476 จึงทาให้ กลุ่ม
บุคคลคณะหนึง่ ซึง่ รวมตัวกันในนามของ “คณะกู้บ้านเมือง” ลุกขึ ้นมาต่อต้ านและเรี ยกร้ องให้ มีการ
เปลี่ยนแปลงรัฐบาล ในเดือนตุลาคม พ.ศ.2476 การก่อการในครัง้ นันได้ ้ นาไปสู่การปะทะกัน
ระหว่างทหารของทังสองฝ่้ ายจนในที่สดุ ฝ่ ายคณะกู้บ้านเมืองซึ่งนาโดยพระองค์เจ้ าบวรเดชก็พ่าย
แพ้ และเหตุการณ์ในครัง้ นันต่้ อมาได้ ถูกเรี ยกว่า กบฏบวรเดช โดยที่ในส่วนของความรู้ สึกนึกคิด
ของกลุม่ ผู้ก่อการกบฏในครัง้ นี ้ เห็นว่า การกบฏบวรเดชเป็ นความพยายามที่จะให้ การปกครองของ
ประเทศกลับมาเป็ นประชาธิปไตยยิ่งขึ ้นและสมบูรณ์อย่างแท้ จริง ดังที่ จงกล ไกรฤกษ์ หนึ่งในกบฏ
คราวนัน้ ได้ กล่าวไว้ วา่

"คาขาดของพระองค์เจ้ าบวรเดช แม่ทพั กบฏในครัง้ นันประสงค์


้ ไปในวิธีการของ
ระบอบประชาธิปไตยที่สมบูรณ์ ถ้ าฝ่ ายรัฐบาลยอมรับเสียแต่ครัง้ นันจะมี
้ บญ
ุ คุณ

69
เรื่ องเดียวกัน, หน้ า 241.
70
แม้ รัฐบาลพระยาพหลพลพยุหเสนาในขณะนัน้ จะพยายามจะปฏิเสธว่า ปรี ดี พนมยงค์ ไม่ได้ มี
เจตนาดาเนินการแบบคอมมิวนิสต์ แต่ ร.ท.จงกล ไกรฤกษ์ และคณะกู้บ้านเมืองก็ยงั คงเห็นว่าปรี ดเี ป็ น
คอมมิวนิสต์อยูด่ ี และถึงแม้ ฝ่ายคณะกู้บ้านเมืองจะพ่ายแพ้ มฐี านะเป็ นกบฏต่อแผ่นดิน แต่ จงกล ไกรฤกษ์ ก็เห็น
ว่า ประวัติศาสตร์ ได้ พิสจู น์เหตุการณ์ในคราวนัน้ ไว้ แล้ วว่า “รัฐบาลผิด – กบฏถูก” เพราะในภายหลังปรี ดี พนม
ยงค์ ก็ได้ เป็ นคอมมิวนิสต์ไปแล้ วจริ งๆ โดยใช้ ชีวิตอยูใ่ นประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ดู จงกล ไกรฤกษ์ , ตัว
ตำยแต่ ช่ อื ยัง, หน้ า 328.

28
ต่อชาติประเทศอย่างยิ่งล้ น ตรงที่ได้ สร้ างแบบอย่างของรัฐบาลที่ดีไว้ แต่จาเพราะ
มี ความหลงผิ ดเกิ ดขึน้ โดยคิดว่าถ้ า ยอมปรองดองก็ เท่า กับยอมให้ รัฐ บาลต้ อ ง
สิ ้นชีวิตลง...(จึงรับ) การปกครองดองไม่ได้ ...วัตถุประสงค์ทงั ้ 6 ประการของฝ่ าย
กบฏได้ กลายเป็ นข้ อเรี ยกร้ องต้ องการของปวงชนมาทุกยุคทุกสมัย..."71

และถึง แม้ ค ณะกู้บ้ า นเมื องจะพ่า ยแพ้ แต่สิ่ ง หนึ่ง ที่ ก บฏบวรเดชได้ ทาไว้ ใ ห้ กับประวัติศาสตร์
การเมืองของไทยในทัศนะของ จงกล ไกรฤกษ์ ก็คือ การทาให้ “คอมมิวนิสต์ต้องยับยังชั ้ ง่ ใจและได้
ทาให้ โครงการณ์ยคุ พระศรี อาริย์ของนายปรี ดี พนมยงค์ ชะงักงันไป”72 ซึง่ แม้ นว่าประชาธิปไตยของ
การเมืองไทยหลังจากนี ้ไปแล้ วจะไม่มีความสมบูรณ์อย่างต่อเนื่องเป็ นเวลานาน แต่ก็ยงั ดีกว่าที่
ชาติบ้านเมืองนี ้จะล่มจมเพราะเป็ นพวกคอมมิวนิสต์

อรั ญญ์ พรหมชมภู หรื ออุดม ศรี สุวรรณ


อรัญญ์ พรหมชมภู หรื ออุดม ศรี สุวรรณ เกิดเมื่อปี ค.ศ.1920 ที่จงั หวัดลาปาง มีบิดาเป็ น
คนจีนผสม และมารดาเป็ นเงีย้ ว – ไทยใหญ่ ได้ รับการศึกษาในโรงเรี ยนท้ องถิ่น ซึ่งเป็ นโรงเรี ยน
เอกชนของหมอสอนศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนท์ชาวอเมริ กนั ชื่อ Kenneth McKenzie และใน
ปี ค.ศ.1938 เขาและเพื่อนได้ เดินทางไปยูนนานประเทศจีน เพื่อเข้ าร่วมต่อสู้กบั ญี่ปนุ่ ที่นนั่ เขาได้
ทางานเป็ นล่ามให้ กบั The Red Cross and the Esperanto Association ต่อมาเขาได้ สมัครเข้ า
เป็ นสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์ CCP ของจีน หลังสงครามโลกครัง้ ที่สองสิ ้นสุดลง เขาได้ เดินทาง
กลับเมืองไทยพร้ อมกับ พายัพ อังคสิงห์ และได้ โอนย้ ายมาสังกัดอยู่กับพรรคคอมมิวนิสต์แห่ง
ประเทศไทย ในปี ค.ศ.1946 โดยมีพายัพเป็ นผู้ให้ การรับรอง
อรั ญญ์ พรหมชมภู ถื อได้ ว่าเป็ นนักเขี ยนฝ่ ายซ้ ายไทยรุ่ นแรกๆ ที่ไ ด้ อธิ บายการ
เปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ.2475 ได้ อย่างเป็ นระบบมากที่สดุ ตามแนวทางของลัทธิเหมา

71
จงกล ไกรฤกษ์ , ตัวตำยแต่ ช่ อื ยัง, หน้ า 345. และดูเพิ่มเติม ชัยอนันต์ สมุทวณิช 14 ตุลา คณะ
รำษฎร์ กับกบฏบวรเดช กรุงเทพฯ: ชมรมประวัตศิ าสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2517
ซึง่ อธิบายเรื่ องราวในแบบเดียวกันว่า คณะราษฎรเป็ นพวกประชาธิปไตยจอมปลอม เปรี ยบได้ กบั รัฐบาลของ
จอมพลถนอม กิตติขจร ในขณะที่กบฎบวรเดช เป็ นประชาธิปไตยที่แท้ จริ ง เปรียบได้ กบั ขบวนการนิสติ นักศึกษา
และประชาชนที่ทาการต่อสู้โค่นล้ มรัฐบาลเผด็จการทหารในเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516
72
จงกล ไกรฤกษ์ , “ชีวติ นักการเมือง” ใน หนังสืออนุสรณ์ พิธีพระรำชทำนเพลิงศพ ร.ท.จงกล ไกร
ฤกษ์ , หน้ า 107.

29
เจ๋อ ตุง73 และได้ สร้ างศัพท์ทางการเมืองขึ ้นใช้ เป็ นการเฉพาะในกลุ่มฝ่ ายซ้ ายของตนเอง เป็ น
จานวนมากอีกด้ วย โดยเขาได้ พิจารณาการเปลี่ยนแปลงทางสังคมการเมืองเป็ นขันๆ ้ จากสังคมบุพ
กาลมาสู่สงั คมศักดินา ทุนนิยม และสังคมนิยมตามลาดับ กล่าวคือ สังคมไทยเป็ นสังคมศักดินา
แต่โบราณ และได้ เ ปลี่ยนมาเป็ นกึ่งเมืองขึ ้นกึ่งศักดินา นับตังแต่
้ มหาอานาจหรื อจักรพรรดินิยมทา
การขยายอานาจคุกคามประเทศไทย
ในความคิดของอรัญญ์ พรหมชมภู เหตุการณ์ 24 มิถนุ ายน พ.ศ.2475 เป็ นเพียงแค่การ
รัฐประหารของพวกขุนนางและทหาร เป็ นการนาอานาจการเมืองจากศักดินามาแบ่งให้ นายทุน
น้ อยและนายทุนชันกลาง
้ โดยที่ไม่มีการขจัดชนชันเจ้้ าที่ดินและศักดินาออก เหตุการณ์นี ้ไม่อาจถือ
ได้ ว่า เป็ นการปฏิ วัติเ พราะว่าไม่ไ ด้ มี ก ารขุด รากถอนโคนต้ น ตอของโรคาพยาธิ ข องสัง คม คื อ
จักรพรรดินิยมและศักดินา เขากล่าวว่า “คณะรัฐบาลของผู้ก่อการ 24 มิถนุ ายน มิได้ ขดุ รากโค่นตอ
แห่งภัยที่ประเทศชาติ และประชาชนได้ รับจากจักรพรรดินิยมและศักดินานิยมเลย สิ่งที่ปฏิบตั ิไป
้ นไปอย่างผิวเผิน”74
นันเป็
อรัญญ์ พรหมชมภู ได้ กล่าวโจมตีปรี ดี พนมยงค์ และ จอมพล ป.พิบลู สงคราม อย่างตรง
ไปตรงว่า ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 การจัดทาระบบกฎหมายใหม่ และการ
แก้ ไขสนธิสญ ั ญาไม่เสมอภาคกับต่างประเทศนัน้ ไม่ได้ แปลว่า ประเทศไทยมีเอกราชสมบูรณ์เลย
เรื่ องดังกล่าวเป็ นการโฆษณาของคณะราษฎร ซึ่งไม่ตรงกับสภาพความเป็ นจริ ง 75 เพราะสภาพ
ความเป็ นจริ งของสัญญาการค้ าและความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศแบบใหม่ภายหลังที่ได้ ยกเลิก
สัญ ญาเก่ าไปแล้ วนัน้ มี ลักษณะ “มื อใครยาวสาวได้ สาวเอา” และไม่เสมอภาคอย่างยิ่ง พวก
คณะราษฎรนัน้ ได้ ร่วมมือกับจักรพรรดินิยม และปล่อยให้ พวกจักรพรรดินิยมเข้ ามากอบโกยและ
ขูดรี ดผลประโยชน์จากประชาชนไปอย่างสะดวก76
ในส่วนของรัฐธรรมนูญ และสภาผู้แทนที่เกิดมีขึ ้นภายหลังปี 2475 นัน้ ก็มีความเป็ นจริ งอยู่
บ้ าง แต่ “สภาพที่แท้ จริ งนัน้ มิได้ มีประชาธิปไตยทางการเมือง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมอย่างที่
ต้ องการ มูลฐานของปั ญหาเหล่านี ้อยูท่ ี่ประชาชนยังไม่ได้ รับความเสมอภาคทางเศรษฐกิจ และมูล

73
การวิพากษ์ วจิ ารณ์ในเรื่ องนี ้ ขอให้ ดู ทรงชัย ณ ยะลา, “ปั ญหาการศึกษาวิถีการผลิตของไทยอัน
เนื่องมาจากทฤษฎีกึ่งเมืองขึ ้นกึง่ ศักดินา” วำรสำรเศรษฐศำสตร์ กำรเมือง 1: 2 (มีนาคม – เมษายน, 2524),
หน้ า 1 – 98.
74
อรัญญ์ พรหมชมภู, เส้ นทำงสังคมไทย, กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์อกั ษร, 2522, หน้ า 126.
75
เพิ่งอ้ าง, หน้ า 126.
76
เรื่ องเดียวกัน, หน้ า 129

30
ฐานของปั ญหาเศรษฐกิจอยูท่ ี่ประชาชนส่วนใหญ่ ยังมิได้ หลุดพ้ นจากการรี ดนาทาเร้ นแบบศักดินา
และกึ่งศักดินา..”77
จะเห็นได้ ว่า อรัญญ์ พรหมชมภู ไม่ได้ อธิบายเรื่ อง “ศักดินา” ในแบบประเพณีทางสังคม
และกฎหมาย หากแต่ไ ด้ ส ร้ างทฤษฎี ศักดินาและทฤษฎี กึ่ง เมื องขึน้ กึ่ง ศักดินาขึน้ ใหม่ โดยเขา
พิจารณาระบบศักดินาว่าเป็ นโครงสร้ างเศรษฐกิจการเมืองหลั กของไทยและมีวิวฒ ั นาการอย่าง
ต่อเนื่องจากอดีตถึงปั จจุบนั อย่างไรก็ดี ในการพิจารณาสถานะและความหมายของการปฏิวัติ
พ.ศ.2475 ปรากฏว่า อรัญญ์ พรหมชมภูมีความเห็นที่สอดคล้ องกับ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช และ ร.ท.
จงกล ไกรฤกษ์ อยูอ่ ย่างมาก กล่าวคือ เขาก็พิจารณาว่าเหตุการณ์ใ นปี พ.ศ.2475 นันเป็ ้ นเพียงแค่
การรัฐประหารของพวกขุนนางและทหาร
ควรกล่าวด้ วยว่า อรัญญ์ พรหมชมภู ม.ร.ว.เสนีย์ และ ร.ท.จงกล แม้ นว่ามีทศั นะไม่นิยม
ระบอบใหม่ภายหลัง พ.ศ.2475 เหมือนกัน แต่ทงสามท่ ั้ านต่างก็มีวิถีทางการต่อสู้ทางการเมืองที่
แตกต่างกันโดยสิ ้นเชิง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง อรัญญ์ พรหมชมภู ปรากฏอย่างชัดเจนว่ามีวิถีทางการ
ต่อสู้ตามแนวทางของพรรคคอมมิ วนิสต์แห่งประเทศจี น และต่อมาเปลี่ยนสัง กัดมาเป็ นพรรค
คอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ซึ่งวิถีทางดังกล่าวนี ้ดูจะเป็ นวิถีทางที่ทงั ้ ม.ร.ว.เสนีย์ และ ร.ท.จงกล
ไม่เห็นด้ วยและต่อต้ านอย่างแข็งขัน สาหรับประเด็นของการต่อสู้ทางการเมืองที่คนสองกลุ่ม นี ้
แตกต่างกันอย่างชัดเจน คือ ประเด็นที่ว่าจะจัดการอย่างไรกับระบบ “ศักดินา” ที่ยงั คงดารงอยู่
โดยข้ อเสนอของอรัญญ์ พรหมชมภู และฝ่ ายซ้ ายไทย ก็คือ “โค่นล้ มอิทธิพลจักรพรรดินิยม ศักดินา
ที่ เ หลื อ เดน และพวกฟาสซิ ส ต์ นิ ย มเผด็ จ การที่ เ ป็ นสมุ น ของจั ก รพรรดิ นิ ย ม เพื่ อ เอกราช
ประชาธิปไตย สันติภาพ และความอยู่ดีกินดีของประชาชน”78 ตรงข้ ามกับ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช
และ จงกล ไกรฤกษ์ ซึ่งมีทศั นะว่า ระบบการเมืองสังคม และวัฒนธรรมเก่าของไทยนันมี ้ คณุ ค่า ที่
ควรรักษาให้ อย่างมัน่ คง ในประการสาคัญคือ ระบบเก่าและวัฒนธรรมเก่าของไทยนันมี ้ เนื ้อหาที่
เป็ นประชาธิปไตยอยูแ่ ล้ วแต่โบราณ

สรุป
กล่าวโดยสรุป จะเห็นได้ ว่า ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช, ร.ท.จงกล ไกรฤกษ์ และอรัญญ์ พรหม
ชมภู ต่างก็เป็ นผู้แทนของกลุ่ม/พันธมิตรที่ไม่นิยมและต่อต้ านการปฏิวตั ิ 2475 ด้ วยกั นทังสิ
้ ้น โดย
ต่างก็เห็นว่า การเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ.2475 มีสถานะเป็ นเพียงการรัฐประหาร
เท่านัน้ ไม่ได้ มีผลต่อการเปลี่ยนทางการเมืองไปสู่ระบอบประชาธิปไตยและก่อให้ เกิดการเปลี่ยน

77
เรื องเดียวกัน, หน้ า 130
78
เรื่ องเดียวกัน, หน้ า 291.

31
ระบบการผลิตแบบใหม่ขึ ้นภายในประเทศแต่อย่างใด อย่างไรก็ดี แม้ ทงสามท่ ั้ านจะมีทศั นะต่อการ
เปลี่ยนการปกครองในวันที่ 24 มิถนุ ายน พ.ศ.2475 ไปในทางเดียวกัน แต่จากจุดยืนทางการเมือง
ที่ แ ตกต่า งกัน โดยเฉพาะอรั ญ ญ์ พรหมชมภู ที่ มี ฐ านะเป็ นผู้น าฝ่ ายซ้ า ยของไทยนัน้ ก็ ท าให้
คาอธิบายของพวกฝ่ ายซ้ ายกับฝ่ ายอนุรักษ์ นิยมของไทยมีลกั ษณะร่วมกันได้ กล่าวคือ ทังสองฝ่ ้ าย
ซึ่งโดยหลักการความคิดความเชื่อแล้ วเป็ นคูต่ รงข้ าม แต่ก็มีศตั รูร่วมกัน คือ พวกคณะราษฎร โดย
ทังฝ่
้ ายซ้ ายและฝ่ ายอนุรักษ์ นิยมมีทศั นะร่วมกันว่าพวกคณะราษฎรได้ สร้ างระบอบประชาธิปไตย
จอมปลอมขึ ้นมาภายหลังการรัฐประหารวันที่ 24 มิถนุ ายน 2475
อย่างไรก็ ตาม ลักษณะที่ แตกต่างกัน ภายในกลุ่ม /พันธมิ ตรดัง กล่าวก็ มี อยู่ด้วยเช่นกัน
โดยเฉพาะอย่าง คาอธิบายที่เกี่ยวข้ องกับระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่ทงั ้ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช
และ ร.ท.จงกล ไกรฤกษ์ เห็นว่า มีลกั ษณะเป็ นประชาธิปไตยมาโดยตลอด ในขณะที่อรัญญ์ พรหม
ชมภู เห็นว่า ระบอบสมบูรณาญาสิท ธิราชย์ หรื อสังคมการเมืองของไทยก่อนปี พ.ศ.2475 เป็ น
สังคมศักดินา ไม่ใช่สงั คมการเมือง “ประชาธิปไตย” ซึ่งลักษณะดังกล่าวส่งผลให้ บรรดากลุ่มผู้รับ
สืบทอดความคิดของกลุ่ม/พันธมิตรดังกล่าว กลายเป็ นกลุ่มที่มีแนวคิดทางการเมืองแตกต่างกัน
และกลายมาเป็ นคูต่ ่อสู้กันในทางการเมืองในภายหลัง กล่าวคือ กลุ่มที่สืบทอดความคิดจากทาง
สายของ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช และ ร.ท.จงกล ไกรฤกษ์ โดยส่วนใหญ่จะเป็ นผู้ที่มีแนวความคิดไป
ทางอนุรักษ์ นิยม ดัง ตัวอย่างเช่น ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช และสุลักษณ์ ศิวรั กษ์ 79 หรื อกลุ่ม ผู้
ข้ าราชการและทหาร ดัง ตัวอย่างเช่น พลเอกแสวง เสนาณรงค์ 80 ในขณะที่กลุ่มผู้รับสืบทอด
ความคิดของอรัญญ์ พรหมชมภู นัน้ ก็คือกลุ่มฝ่ ายซ้ ายไทย ทังที ้ ่เป็ นแกนนาของพรรคคอมมิวนิสต์
แห่งประเทศไทย และเป็ นฝ่ ายซ้ ายอิสระ ซึง่ กล่าวโดยรวมแล้ ว เราอาจเรี ยกคนกลุ่มนี ้ได้ ว่าเป็ นกลุ่ม
ที่มีความเชื่อในทฤษฎี กึ่งเมืองขึ ้นกึ่งศักดินา81

79
ดูใน ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช, “การปรับตัวของระบบราชการไทยหลังการเปลีย่ นแปลงการปกครอง”
ในวรเดช จันทรศร และวนิต ทรงประทุม (บรรณาธิการ), ระบบรำชกำรไทย: สภำพปั ญหำและข้ อเสนอจำก
ฝ่ ำยกำรเมือง ข้ ำรำชกำร นักวิชำกำร และธุรกิจเอกชน (กรุงเทพฯ: คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบัน
บัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์ , 2528) และ สุลกั ษณ์ ศิวรักษ์ , ควำมคิดที่ขดั ขวำงและส่ งเสริมประชำธิปไตย
ของไทย (กรุงเทพฯ: อักษรสาส์น, 2529).
80
อย่างไรก็ดี กลุม่ ผู้นาข้ าราชการและทหารได้ นาแนวคิดประชาธิปไตยแบบไทยมาใช้ โดยมีการ
ตีความให้ เป็ นประโยชน์แก่กลุม่ ของตนนับตังแต่ ้ การยึดอานาจ พ.ศ.2500 และ พ.ศ.2501 เป็ นต้ นมา ซึง่ การนา
แนวคิดดังกล่าวมาใช้ ในการต่อสู้เพื่อให้ ได้ มาซึง่ ระบอบเผด็จการนัน้ น่าจะเป็ นวิธีการที่ทงั ้ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช
และ ร.ท.จงกล ไกรฤกษ์ ไม่เห็นด้ วยและต่อต้ านเป็ นอย่างมาก ดู แสวง เสนาณรงค์, ประชำธิปไตยแบบไทย
และข้ อคิดเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ: บทควำมเลือกสรรแล้ วของสถำนีวทิ ยุสองศูนย์ (กรุงเทพฯ: โชคชัย
เทเวศน์, 2508).
81
ดูการวิพากษ์ วจิ ารณ์เรื่ องนี ้อย่างเป็ นระบบได้ จากงานเขียนของ ทรงชัย ณ ยะลา, 2524, อ้ างแล้ ว.

32
ในทางตรงข้ าม กลุ่ม/พันธมิตรที่ให้ การสนับสนุนการปฏิวตั ิ 2475 ที่ยกตัวอย่างมาข้ างต้ น
ไม่ว่าจะเป็ นหม่อมเจ้ าวรรณไวทยากร วรวรรณ หลวงประดิษฐ์ มนูธรรม (ปรี ดี พนมยงค์) และ
กุหลาบ สายประดิษฐ์ (ศรี บรู พา) ล้ วนแล้ วแต่เป็ นผู้ที่สร้ างคาอธิบาย และเรื่ องบอกเล่าที่สนับสนุน
การปฏิวตั ิ พ.ศ.2475 อย่างชัดเจน รวมทังยั ้ งเป็ นผู้ที่ต่อสู้และช่วยประคับประคองให้ ระบอบใหม่
ภายหลัง การปฏิ วัติ 2475 มี ความมั่น คงและเป็ นประชาธิ ปไตยที่ ส มบูร ณ์ ม ากขึน้ ตามล าดับ
อย่างไรก็ดี เป็ นที่น่าสังเกตเช่นกันว่าวิ ถีทางในการต่อสู้ทางการเมืองของทังสามคนจะต่้ างกันไป
ตามแนวคิดและสถานภาพทางสังคมการเมือง ซึ่งก็ส่งผลให้ คาอธิบายประกอบเกี่ยวกับการปฏิวตั ิ
2475 มีความแตกต่างกันไปในรายละเอียดด้ วย ดังจะเห็นได้ จากการให้ คาจากัดความของการ
เปลี่ยนแปลง ซึง่ หม่อมเจ้ าวรรณไวทยากร วรวรรณ ทรงเห็นว่าควรใช้ คาว่า “ปฏิวตั ิ” ส่วนปรี ดี พนม
ยงค์มีความเห็นว่าควรใช้ คาว่า “อภิวฒ ั น์” เป็ นต้ น
ถึงแม้ นว่าจะมีความขัดแย้ งทางความคิดกันอย่างมากในบางประเด็น แต่คาอธิบายหลักๆ
ของการปฏิวตั ิ พ.ศ.2475 ของทังสามคนดั ้ งกล่าวข้ างต้ นก็คล้ ายคลึงกัน และคาอธิบายดังกล่าวก็
กลายเป็ นต้ นแบบของคาอธิบายที่ให้ ความสาคัญแก่การปฏิวตั ิ 2475 ในฐานะที่เป็ นจุดเปลี่ยนของ
ยุคสมัยจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไปสู่ประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริ ย์อยู่ภาย “ใต้ ” กฎหมาย
ซึ่ง ได้ รั บ สื บ ทอดไปยัง คนรุ่ น ถัด มา รวมทัง้ ในสมัย ปั จ จุบัน ที่ นิ ย มในแนวการอธิ บ ายดัง กล่า ว
โดยเฉพาะกลุ่มที่เป็ นสานุศิษย์และผู้นิยมแนวทางของปรี ดี พนมยงค์ ซึ่งได้ ผลิตงานเขียนออกมา
เป็ นจานวนหนึง่ เพื่อยืนยันแนวทางในการต่อสู้ทางการเมืองของผู้นิยมในการปฏิวตั ิ 2475 ตัวอย่าง
ของนักเขียนในกลุม่ นี ้ ได้ แก่ สุพจน์ ด่านตระกูล และไสว สุทธิพิทกั ษ์ เป็ นต้ น82
ในกรณีของหม่อมเจ้ าวรรณไวทยากร วรวรรณ ปรากฏว่ามีผ้ สู ืบทอดความคิดอยูใ่ นสาย
กระทรวงการต่างประเทศ เช่น งานเขียนของ สิริ เปรมจิตต์ เรื่ องประวัติศาสตร์ รัฐธรรมนูญไทย
เป็ นต้ น 83 ส่วนกุหลาบ สายประดิษฐ์ นนั ้ มีทงชื ั ้ ่อเสียงและได้ รับการยอมรับอย่างกว้ างขวางจาก
ปั ญญาชนไทย นักคิด และนักหนังสือพิมพ์ไทยที่ถือว่าตนเองเป็ นนักต่อสู้เพื่อเสรี ภาพ
84
ประชาธิปไตย และความเป็ นธรรมแบบมนุษยนิยม

82
ดู สุพจน์ ด่านตระกูล, ชีวิตและงำนของ ดร.ปรีดี พนมยงค์ (กรุงเทพฯ: ประจักษ์ การพิมพ์, 2514);
และ ไสว สุทธิพิทกั ษ์ , ดร.ปรีดี พนมยงค์ (กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์, 2526)
83
สิริ เปรมจิตต์ เคยเป็ นเลขานุการรัฐมนตรี กระทรวงการต่างประเทศ และเขียนหนังสือทังในเรื
้ ่ อง
รัฐธรรมนูญ และประวัติผ้ นู าทางการเมือง โดยมีลกั ษณะเด่นของตนเองที่ได้ รับการถ่ายแบบมาจากหม่อมเจ้ า
วรรณไวทยากร วรวรรณ ดูคานา ในหนังสือ ประวัติศำสตร์ รัฐธรรมนูญไทย กรุงเทพฯ: ประจักษ์ วิทยาคม,
2511
84
ดูตวั อย่างของคายกย่องในลักษณะนี ้ ได้ จาก วิทยากร เชียงกูล, อ้ างแล้ ว, 2532.

33
ดังนัน้ บุคคลทัง้ 6 ท่าน แบ่งออกเป็ น 2 กลุม่ /พันธมิตรทางความคิด จึงมีบทบาทอย่างแข็ง
ขันทังในช่
้ วงที่ทา่ นยังมีชีวิตอยู่ และมีอิทธิทางความคิดอย่างมากต่อมาถึงคนรุ่นหลัง รวมทังผู ้ ้ คน
ในสมัยปั จจุบนั โดยที่ชื่อเสียงของคนทังหกได้
้ กลายเป็ นเสาหลักของแนวความคิดทางสังคม
การเมืองชนิดต่างๆ รวมทังมี ้ อิทธิพลอย่างสูงต่อแนวความคิด การรับรู้ และคาอธิบายเรื่ องการ
ปฏิวตั ิ 2475 โดยที่ผ้ ศู กึ ษาและสนใจที่ต้องการรู้ความหมายและความสาคัญของเหตุการณ์ปฏิวตั ิ
2475 จาเป็ นต้ องเลือกงานเขียนของปั ญญาชนที่กล่าวนามข้ างต้ นคนหนึง่ คนใดขึ ้นมาอ่านและ
ศึกษาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ทังนี ้ ้ อาจเลือกโดยความตังใจที
้ ่จะศึกษา คือรู้ว่าเลือกเพราะเหตุใด
และเลือกโดยไม่ได้ ตงใจ ั้ หรื อโดยความบังเอิญที่งานของท่านเหล่านี ้เกี่ยวข้ องกับการปฏิวตั สิ ยาม
2475 ซึง่ ต่อมาได้ กลายเป็ นการปฏิวตั ิ หรื อเป็ นการรัฐประหารของประเทศไทย ทังนี ้ ้ขึ ้นกับการ
ตีความที่แตกต่างกัน และการตีความที่แตกต่างกันนัน้ ก็ดารงอยูอ่ ย่างเป็ นอิสระของตนเอง รวมทัง้
เป็ นการดารงอยูท่ ี่เป็ นฐานสาคัญของความรู้ความเข้ าใจในเรื่ องดังกล่าวนี ้ตลอดมา และตลอดไป.

34

You might also like