You are on page 1of 45

บทที่ 2

แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง

ในการศึกษาเรื่ อง “การแข่งขันในการครองอานาจนาทางความคิดระหว่างพรรคเพื่อไทย
และพรรคประชาธิ ปัตย์ในการหาเสี ยงเลือกตั้งวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554” ผูว้ จิ ยั ได้รวบรวมและ
ค้นคว้า แนวคิด เอกสารทางวิชาการและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้เป็ นกรอบแนวคิดในการศึกษา
และวิเคราะห์ โดยมีลาดับดังต่อไปนี้
2.1. แนวคิดการครองอานาจนา (Hegemony)
2.1.1. แนวคิดเรื่ อง สงครามยึดพื้นที่ทางความคิด (War of Position)
2.1.2. แนวคิดเรื่ อง กลไกการครองอานาจนา (Hegemonic Apparatuses) และ
กลไกอานาจการใช้อานาจรัฐ (State Apparatuses)
2.2. แนวคิดอุดมการณ์ (Ideology)
2.3. เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง

2.1. แนวคิดเรื่อง การครองอานาจนา (Hegemony)


แนวความคิ ดเรื่ องการครองอานาจนาได้ถูก กล่ าวถึ งในงานเขียนของ อันโตนิ โอ กรัม ชี
(Antonio Gramsci) ในสมุดบันทึกจากคุก (Prison Notebooks) ซึ่ งมีชีวิตอยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1891-
1937 ในช่ วงปี ค.ศ. 1916-1919 กรัมชี เริ่ มทางานกับกรรมกรในเมืองตูริน เป็ นสมาชิกของพรรค
สังคมนิ ยมอิตาลี ในช่วงนี้ ฝ่ายซ้ายของอิตาลีได้รับผลกระทบจากสงครามโลก สังคมและเศรษฐกิ จ
ตกต่า รวมทั้งการล่มสลายของพรรคสังคมนิยมอิตาลี ต่อมาในช่วงปี ค.ศ. 1921 กรัมชีได้เข้าร่ วมกับ
พรรคคอมมิวนิ สต์อิตาลีและเริ่ มมีอิทธิ พลทางความคิดในพรรค แต่เขาก็มีปัญหาเนื่องจากแนวทาง
และยุทธศาสตร์ ทางการเมืองแตกต่างไปจากผูน้ าคนอื่นๆ จากปี ค.ศ. 1923 กรัมชี และฝ่ ายซ้ายคน
อื่นๆ ถูกคุกคามจากระบอบฟาสซิ สต์ และเมื่อปี ค.ศ. 1926-1937 เขาถูกจับและถูกคุมขัง 13 จึงเริ่ ม
เขียนบันทึกที่มีชื่อเสี ยงคือ บันทึกจากคุ ก (Prison Notebook) งานเขียนของเขามีลกั ษณะกระจัด
13
กาญจนา แก้วเทพ, ลัทธิมากร์กซ์ของกรัมชี่ , วารสารธรรมศาสตร์ 12 (มิถุนายน 2526) : 106-107.
17

กระจายมิได้รวบรวมเป็ นหมวดหมู่อย่างเป็ นระบบ และมีประเด็นกว้างขวางครอบคลุ มในหลาย


เรื่ องด้วยกัน เช่น ประเด็นว่าด้วยเรื่ องประวัติศาสตร์ อิตาลี ว่าด้วยการศึกษา ปั ญญาชน ว่าด้วยทฤษฎี
และแนวความคิดในทางการเมือง ความคิดเกี่ยวกับรัฐ สังคม การใช้อานาจ รวมถึงเรื่ องการครอง
อานาจนา เป็ นต้น อีกทั้งการใช้ภาษาก็มีลกั ษณะกากวม ซึ่ งยากแก่การตีความ เพื่อให้จดหมายและ
ข้อเขียนของเขาสามารถผ่านการควบคุมได้จากคุกนัน่ เอง14
งานเขี ย นของกรั ม ชี่ เ ป็ นการสะท้อ นมุ ม มองของเขาที่ มี ต่ อ สภาพการณ์ ท างการเมื อ ง
เศรษฐกิจ และสังคมในสมัยนั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่ องแนวคิดการครองอานาจนา ที่เป็ นกรอบ
แนวคิดหลักในการอธิ บายปรากฏการณ์ในงานวิจยั ชิ้นนี้ น้ นั เป็ นการสะท้อนความคิดของเขาที่มีต่อ
แนวความคิ ดมาร์ ก ซิ ส ต์แบบดั้ง เดิ มที่ เชื่ อใน “หลักเศรษฐกิ จก าหนด” (Economism) “หลัก การ
กาหนดนิยมอย่างกลไก” (Mechanical determinism)15 ที่มองว่าปั จจัยในเรื่ องเศรษฐกิจนั้นเป็ นอิสระ
จากปั จจัยอื่นโดยเฉพาะอย่างยิ่งปั จจัยในเชิ งเจตจานงของมนุ ษย์ และเป็ นตัวกาหนดความเป็ นไป
หรื อพัฒนาการของสังคมโดยอัตโนมัติ ดังนั้นตามความคิดของกรัมชี่เขาจึงไม่เห็นด้วยกับแนวคิด
ของพวกมาร์ กซิ สต์แบบดั้งเดิมพวกหนึ่ งที่เชื่อในหลักการกาหนดนิยมโดยเศรษฐกิจอย่างเป็ นกลไก
ในมุ มมองของกรั มชี่ น้ นั มองว่า โครงสร้ างส่ วนบนอันประกอบไปด้วยพื้นที่ของระบบกฎหมาย
ความเชื่ อ ศีลธรรม ปั ญญา นั้นก็เป็ นส่ วนสาคัญต่อการกาหนดความเป็ นไป หรื อมีผลต่อพัฒนาการ
ของสังคมได้16 ซึ่ งในการจะเปลี่ยนแปลงสังคมได้น้ นั จะต้องทาการต่อสู้ทางอุดมการณ์
แนวคิ ดของกรั มชี น้ ัน เป็ นการอธิ บายอานาจครอบงาของอุดมการณ์ ของชนชั้นนาทาง
สังคมที่มีต่อส่ วนต่างๆ ของสังคม โดยเขาใช้แนวคิดนี้ อธิ บายว่า เหตุใดชนชั้นนายทุนจึงสามารถมี
อานาจในสังคมได้ เพราะอานาจที่แท้จริ งของระบบทุนนิ ยมนั้นมิใช่ อยู่ที่การใช้ความรุ นแรงหรื อ
กาลังบังคับที่กลไกของรัฐเป็ นฝ่ ายกระทา หากอยูท่ ี่การยอมรับของฝ่ ายที่ถูกปกครองในแนวคิดหรื อ
จิตสานึกในการอธิ บายความเป็ นไปของสังคม เป็ นปรัชญาของมวลชน ผูซ้ ่ ึ งยอมรับระบบศีลธรรม
ขนบธรรมเนี ยมและพฤติกรรมในสังคม ประเด็นที่กรัมชีตอ้ งการศึกษาทาความเข้าใจก็คือ ชนชั้น

14
วัชรพล พุทธรักษา, แนวความคิดการครองอานาจนา (Hegemony) ของกรัมชี่ (Gramsci) : บททดลองเสนอในการ
อธิบายปรากฏการณ์ทางการเมืองไทย, 2550, หน้า 2.
15
เพิ่งอ้าง, หน้า 2.
16
วัชรพล พุทธรักษา, รัฐบาลทักษิณกับความพยายามสร้างภาวะการครองอานาจนา, วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริ ญญา
รัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง ภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549, หน้า 26.
18

ปกครองทาอย่างไรจึงสามารถทาให้ชนชั้นผูถ้ ูกปกครองต่างเห็นพ้องยอมรับในอุดมการณ์และวิถี
ชี วิตเช่นนี้ ได้ ทั้งนี้ เพื่อจะหาทางพลิกสถานการณ์ดงั กล่าว เพื่อให้ชนชั้นผูถ้ ูกปกครองทั้งหลายได้
โค่นล้มระบอบเก่าและสถาปนาระบอบใหม่ที่มีอิสรเสรี อย่างเต็มที่17
ส าหรั บ สาเหตุ ที่ ก รั ม ชี ใ ห้ค วามส าคัญ กับ อุ ดมการณ์ เนื่ อ งจากเหตุ ก ารณ์ บ างอย่า งที่ มี
อิทธิ พลต่อแนวความคิดของเขา คือ
1. การปกครองของรัสเซียภายใต้โจเซฟ สตาลิน ซึ่ งมีการขูดรี ดชาวนาเพื่อนาไป
พัฒนาอุตสาหกรรม การใช้ม าตรการโหดเหี้ ยมทาให้กรัมชี มองรัสเซี ยในแง่
ลบ จึงทาให้เขามีแนวทางสังคมนิยมที่แตกต่างจากรัสเซีย
2. การขยายตัวของระบอบฟาสซิ สม์ในยุโรป (ฮิตเลอร์ และมุสโสลินี) ซึ่ งมีฐาน
มวลชนที่ เ ข้ม แข็ง มาก ลัท ธิ ป ฏิ กิ ริ ย าเช่ น นี้ กลับ ได้รั บ การสนับ สนุ น จาก
มวลชนมากโดยเฉพาะจากชนชั้นที่ยากไร้ที่สุดในสังคมซึ่ งน่ าจะฝักใฝ่ ลัทธิ
มาร์ กซิ สต์มากกว่า กรัมชีมองว่ามีสาเหตุจากการที่ลทั ธิ ฟาสซิ สต์ใช้อุดมการณ์
โน้มน้า วมวลชนอย่างได้ผล เช่ น ฮิตเลอร์ ใช้อุดมการณ์ หลัก เกี่ ยวกับความ
ยิ่งใหญ่ของชนเผ่าอารยัน ทาให้สามารถได้รับการสนับสนุนจากชาวเยอรมัน
จานวนมาก ขบวนการฟาสซิสต์ระดมความสนับสนุนจากชาวนาและกรรมกร
ได้อย่างกว้างขวางจนเป็ นฐานอานาจให้มุสโสลินีได้ การปลุกเร้าจิตสานึ กที่
มุสโสลิ นีได้กระทาอย่างได้ผลทาให้กรัมชี เห็นความสาคัญของยุทธศาสตร์
การเรี ยกร้ องความสนับสนุ นจากพลังมวลชนโดยการจัดตั้งกลุ่มต่างๆ ภายใต้
กลไกการครอบงาหลายรู ปแบบ นับตั้งแต่ภายในโรงงานไปจนถึงครอบครัว
และโรงเรี ยน
3. การขาดประสิ ทธิภาพในความเป็ นอันหนึ่ งอันเดียวกันของฝ่ ายซ้าย ซึ่ งมีผลทา
ให้ไม่ส ามารถฉวยโอกาสให้เป็ นประโยชน์ได้ในช่ วงที่ทุนนิ ยมตกต่ าที่สุ ด
(ค.ศ. 1930) แต่ระบอบฟาสซิสต์กลับได้ประโยชน์มากกว่า18

17
เทพฤทธิ์ สุภาสงวน, การกครองความเป็ นใหญ่ทางอุดมการณ์, สารนิพนธ์หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการ
ปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , 2536, หน้า 16.
18
เพิ่งอ้าง, หน้า 17.
19

จากอิทธิ พลที่มีต่อความคิดของเขาดังกล่าว ประกอบกับการที่ทฤษฎีมาร์ กซิ สต์ไม่สามารถ


วิเคราะห์สถานการณ์และฉวยโอกาสให้เป็ นประโยชน์ได้ ปั ญหาของมาร์ กซิ สต์ คือ ไม่สามารถชัก
จูงมวลชนให้ยอมรับมากขึ้น และความสามารถของมวลชนที่จะเข้าใจทฤษฎีมาร์ กซิ สต์ก็มีระดับต่า
เพราะฉะนั้นจึงมีความจาเป็ นในการสถาปนาตนเองเพื่อต่อสู้กบั ความคิดของชนชั้นปกครองและทา
ทฤษฎี ให้ง่ายต่อการเข้าใจมากขึ้น กรัมชีจึงเสนอความคิดเกี่ยวกับการครองอานาจนา (Hegemony)
ทางอุดมการณ์ข้ ึนมา

ความหมายของ การครองอานาจนา (Hegemony)


ชัยอนันต์ สมุทวณิช (2530) ได้สรุ ปความหมายของการมีอานาจครอบครองความเป็ นใหญ่
(Hegemony) ในทัศนะของกรัมชีไว้ดงั นี้
1. หมายถึง กระบวนการในสังคมซึ่ งส่ วนหนึ่ งของชนชั้นนากระทาการควบคุม
ผ่านความเป็ นผูน้ าทางศีลธรรมและปั ญญาต่อส่ วนอื่นๆ ของชนชั้นนาซึ่ งเป็ น
พัน ธมิ ต รกัน ส่ ว นที่ น านี้ มี อ านาจและความสามารถในการเป็ นตัว แทน
ผลประโยชน์ ข องส่ ว นอื่ น ๆ ส่ ว นที่ น าไม่ ไ ด้บ ัง คับ ให้ ส่ ว นอื่ น ๆ ยึ ด ถื อ
อุ ดมการณ์ ของตน แต่ ใช้การกล่ อมเกลาทางการศึกษาและในทางการเมือง
โดยเสนอหลัก การที่ เ ป็ นอุ ดมการณ์ ร่ว มในลัก ษณะที่ ดึ ง เอาโลกทัศ น์แ ละ
ผลประโยชน์ของกลุ่มพันธมิตรเข้ามาไว้ในอุดมการณ์ร่วมนี้ดว้ ย
2. การมีอานาจครอบงาเป็ นความสัมพันธ์ระหว่างชนชั้นนาและชนชั้นปกครอง
เป็ นความพยายามของชนชั้นนาที่ประสบความสาเร็ จในการใช้ความเป็ นผูน้ า
ทางการเมื อง ศีลธรรมและปั ญญาไปกาหนดโลกทัศน์ของชนชั้นนาให้เป็ น
โลกทัศน์ที่ทุกๆฝ่ ายยอมรับนับถือ ซึ่ งมีผลในการชี้ นาผลประโยชน์และความ
ต้องการของกลุ่มที่ถูกอานาจครอบงาทั้งหลาย
การมีอานาจครอบงาเป็ นเงื่ อนไขที่สาคัญสาหรับการขยายความสามารถในการสื บทอด
อานาจในการควบคุ ม พัฒ นาการของสั ง คม ดัง นั้น ความคิ ด ของคนจึ ง เป็ นปั จ จัย ส าคัญ ในการ
เปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร์
20

วนัส ปิ ยะกุลชั ยเดช (2548)19 ทาการศึกษาเรื่ อง ความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดการครอง


ความเป็ นใหญ่ และอุ ด มการณ์ ข องกรั ม ชี่ พบว่า จุ ดมุ่ ง หมายของการครองความเป็ นใหญ่ แ บ่ ง
ออกเป็ น 2 ประเภท โดยแบ่ ง ตามมุม มองของคู่ ก รณี ใ นการต่ อสู้ เพื่อการครองความเป็ นใหญ่
ประเภทแรก การครองความเป็ นใหญ่มีจุดมุ่งหมายเพื่อก่อตั้งรัฐใหม่ การครองความเป็ นใหญ่จึงเป็ น
วิธีการที่จะทาให้กลุ่มทางสังคมหลักหรื อชนชั้นมีอานาจในการจัดความสัมพันธ์ทางการเมืองใหม่
หรื อรัฐใหม่ รัฐใหม่ที่ว่านี้ ก็ได้เปิ ดโอกาสให้กลุ่มทางสังคมหรื อชนชั้นของตน ประเภทที่ สอง การ
ครองความเป็ นใหญ่ น้ ัน มี จุด มุ่ ง หมายเพื่อรั ก ษาไว้ซ่ ึ งการมี อ านาจในการจัดการความสั ม พัน ธ์
ทางการเมืองและเศรษฐกิ จ การครองความเป็ นใหญ่ในแง่น้ ี จึงเป็ นวิธีการของกลุ่มทางสังคมหลัก
หรื อชนชั้นที่มีอานาจแล้วจัดการกับกลุ่มทางสังคมหลักหรื อชนชั้นตรงกันข้ามไม่ให้สามารถทาลาย
การครองความเป็ นใหญ่ของกลุ่มหรื อชนชั้นตน
การครองความเป็ นใหญ่ของกรัมชี่สามารถเกิดขึ้นได้ในหลายมิติ ไม่วา่ จะเป็ นด้านการเมือง
เศรษฐกิจ สังคมและภูมิปัญญา ทั้งพื้นที่ในทางกายภาพที่การครองความเป็ นใหญ่ดารงอยูก่ ็สามารถ
ที่จะเป็ นได้ท้ งั ภายในกลุ่มทางสังคม เช่น โบสถ์คาทอลิก หรื อภายในรัฐ หรื อแม้แต่ระหว่างรัฐหรื อ
ระดับโลก แต่ไม่ว่าจะมีมิติหรื อพื้นที่ที่แตกต่างกันเพียงใด สิ่ งที่เหมือนกันในทุกมิติและพื้นที่ก็คือ
การครองความเป็ นใหญ่น้ นั ต้องสัมพันธ์กบั การนาและความยินยอมซึ่ งเกิดขึ้นในระดับของความคิด
ความแตกต่างกันในพื้นที่ ที่การครองความเป็ นใหญ่ดารงอยู่ทาให้เกิ ดความแตกต่างกันระหว่า ง
สังคม ซึ่ งเห็ นได้จากกรณี การต่อสู ้กนั ภายในโบสถ์คาทอลิก ผูน้ าก็เป็ นกลุ่มย่อยหนึ่ งภายในโบสถ์
ส่ วนผูถ้ ูกนาก็คือสมาชิกที่เหลือของโบสถ์ หรื อในระดับรัฐ ผูน้ าก็คือกลุ่มทางสังคมหลักหรื อชนชั้น
ผูถ้ ูกนาก็คือกลุ่ มทางสังคมอื่นหรื อมวลชน ในระดับระหว่างรัฐหรื อระดับโลก ผูน้ าก็คือประเทศ
หรื อรัฐในขณะที่ผถู ้ ูกนาก็คือประเทศหรื อรัฐอื่นๆที่เหลือ กลไกการครองความเป็ นใหญ่ที่ผนู้ าใช้
เพื่อให้เกิดการครองความเป็ นใหญ่น้ ี จึงแตกต่างกันไปตามพื้นที่ที่การครองความเป็ นใหญ่ดารงอยู่
กลไกดังกล่ าวอาจจะเป็ นเพียงจดหมายข่าวในการต่อสู้เพื่อการครองความเป็ นใหญ่ในกลุ่ มทาง
สังคมย่อย เช่นในโบสถ์ หรื อสถานี โทรทัศน์ระดับชาติในการต่อสู้เพื่อการครองความเป็ นใหญ่ใน

19
วนัส ปิ ยะกุลชัยเดช, ความสั มพันธ์ ระหว่ างแนวคิดการครองความเป็ นใหญ่ และอุดมการณ์ ของกรัมชี่, วิทยานิพนธ์
รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , 2548.
21

รัฐ หรื อสถานี โทรทัศน์ดาวเที ยมที่กินบริ เวณทั้งโลกในการต่อสู้เพื่อการครองความเป็ นใหญ่ใน


ระดับโลก
การตี ค วามการครองความเป็ นใหญ่ ข องกรั ม ชี่ เ พื่ อ จุ ด ประสงค์ ใ นการวิ เ คราะห์ ก าร
เปลี่ยนแปลงการขึ้นหรื อลงจากอานาจของกลุ่มทางสังคมในระดับย่อยภายในกลุ่มทางสังคมจนถึง
ระดับที่ใหญ่ที่สุดคือ ในระดับโลกก็ได้ มโนทัศน์การครองความเป็ นใหญ่น้ ี นอกจากจะเป็ นกรอบ
ทั่ว ไปในการวิ เ คราะห์ ป รากฏการณ์ ท างการเมื อ ง กรั ม ชี่ ย งั ใช้ก รอบดัง กล่ า วในการอธิ บ าย
ปรากฏการณ์ที่เฉพาะรวมอธิ บายการต่อสู้เพื่อการครองความเป็ นใหญ่ที่เป็ นอยูใ่ นอิตาลีอีกด้วย ซึ่ งก็
คือการปกครองของพวกฟาสซิ สม์ โดยการเน้นการต่อสู้เพื่อการครองความเป็ นใหญ่ในอิตาลีจึงเป็ น
สาเหตุให้กรัมชี่ให้ความสาคัญต่อมโนทัศน์เรื่ องการครองความเป็ นใหญ่ภายในรัฐ รวมทั้งกรัมชี่ยงั
ได้เสนอมโนทัศน์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ น พรรคการเมืองที่มีลกั ษณะเป็ นเจ้าแห่ งยุคใหม่ แนวร่ วมทาง
ประวัติศ าสตร์ และสงครามแบบตรึ ง พื้น ที่ เพื่ อว่า หากเป็ นไปได้ผูท้ ี่ จ ะนามวลชนต่ อสู้ ก ับ การ
ปกครองของพวกฟาสซิ สม์ควรจะมีลกั ษณะเช่นใดและใช้วิธีการต่อสู้อย่างไรในสภาพสังคมของ
อิตาลีที่มีความเจริ ญทางประชาสังคมสู ง
ชนิดา ชิตบัณฑิตย์ (2550) “อานาจนา” หมายถึง กระบวนการที่ชนชั้นปกครองหรื อชนชั้น
อื่นสร้างความยอมรับเหนื อชนชั้นอื่นๆ ผ่านกลุ่มปั ญญาชน ซึ่ งเป็ นกลุ่มที่มีบทบาทในการเผยแพร่
แนวคิดหรื ออุดมการณ์ในสังคม
วัช รพล พุ ท ธรั ก ษา (2550) “การครองอานาจนา” หรื อ “Hegemony” หมายถึ ง การใช้
อานาจของกลุ่ม/ชนชั้นใดๆ เพื่อสร้างภาวการณ์ครอบครองความคิด และมีอานาจนาเหนือกลุ่ม/ชน
ชั้นอื่นๆในสังคม โดยที่การใช้อานาจดังกล่าวนั้นปราศจากการใช้ความรุ นแรง หรื อการบังคับเชิ ง
กายภาพ แต่เป็ นการใช้อานาจผ่านกลไกชนิดต่างๆ เพื่อครอบครองความคิด โน้มน้าว และทาให้เกิด
การยอมรับ เพื่อก่อให้เกิ ดขึ้นซึ่ งความยินยอมพร้อมใจ และได้รับการสนับสนุ นจากกลุ่มพลังทาง
สังคมและชนชั้นต่างๆ โดยที่ผคู ้ นในกลุ่ม/ชนชั้นที่ถูกกระทานั้นไม่ทราบ หรื อไม่สามารถตระหนัก
ได้วา่ ตนได้ถูกครอบครองความคิดไปแล้ว20

20
วัชรพล พุทธรักษา, แนวความคิดการครองอานาจนา (Hegemony) ของกรัมชี่ (Gramsci) : บททดลองเสนอในการ
อธิบายปรากฏการณ์ทางการเมืองไทย, 2550, หน้า 5-6.
22

สุ ภางค์ จันทวนิช (2552) การครองความคิดจิตใจ คือ การครอบงาชนชั้นหนึ่ งโดยวิธีการ


ทางการเมืองและอุดมการณ์ประสานเข้าด้วยกัน กล่าวคือ มีกลุ่มคนในสังคมซึ่ งตั้งใจจะครอบงาคน
อื่นและลักษณะการครอบงาที่ เกิดขึ้นในระดับชนชั้น คือ การนาเอาวิธีการทางการเมืองมาผสมกับ
เรื่ องอุดมการณ์ ทาให้เกิดจิตสานึกทางชนชั้นที่ตามอุดมการณ์ที่สอดใส่ 21
เกษียร เตชะพีระ (2553) นิยาม “อานาจนา” (Hegemony) ว่าหมายถึง ความสามารถในการ
นาโดยความยินยอมพร้อมใจของผูต้ าม (leadership by consent) หรื อนัยหนึ่ง การยินยอมปฏิบตั ิตาม
ผูน้ าโดยไม่ตอ้ งถูกบังคับ (non – coercive compliance)22
คาว่า “ Hegemony ” หรื อที่ในงานชิ้นนี้ ใช้คาว่า “การครองอานาจนา” เป็ นคาที่มีที่มาจาก
ภาษากรี กที่ว่า “Hegemon” ที่มีความหมายถึง การนา (leading) การมีอานาจเหนื อผูอ้ ื่น (prominent
power) และมักจะใช้ในความหมายของการครองอานาจทางการเมือง (political dominance) เป็ น
ส่ วนใหญ่23
Gramsci ได้จาแนกวิธีการในการครองอานาจนาออกเป็ น 2 ด้าน คือ
1. Political Hegemony อันหมายถึงการสถาปนาระบบการเมืองระบบหนึ่ งให้
กลายเป็ นระบบหลัก ของสั ง คม ตัว อย่า งเช่ น ระบบการปกครองแบบ
ประชาธิ ปไตย ที่วางเงื่อนไขให้พรรคการเมืองทุกพรรคส่ งผูส้ มัครรับเลือกตั้ง
เข้ามาในสภา หากพรรคใดมีจานวนสส.มากที่สุด ก็จะได้รับสิ ทธิ ในการจัดตั้ง
รั ฐบาลและมี หัวหน้าพรรคเป็ นนายกรั ฐมนตรี ไม่ ว่า วิธีก ารได้ สส. นั้นจะ
ได้มาด้วยวิธีการอย่างไร ไม่ว่าหัวหน้าพรรคการเมืองที่มี สส. มากที่สุดจะมี
ความเหมาะสมเป็ นผูน้ าหรื อไม่ก็ตาม แต่นี่ก็เป็ นระบบการเมืองที่ได้รับการ
ยอมรั บ อยู่ใ นสัง คมไทยปั จจุ บ นั และเมื่ อมี รูป แบการเมื องหลัก เป็ นระบบ
รัฐสภาประชาธิปไตยแบบมีตวั แทนแล้ว รู ปแบบการเมืองในแบบอื่นๆ ก็หมด
ความชอบธรรมไปโดยปริ ยาย เช่ น การรวมตัวของกลุ่มประชาชนที่มีปัญหา

21
สุภางค์ จันทวนิช, ทฤษฎีสงั คมวิทยา, พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุ งเทพฯ : สานักพิมพ์แห่ งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552.
22
เกษียร เตชะพีระ, สงครามระหว่างสี ก่อนถึงจุดที่ไม่อาจหวนกลับ, กรุ งเทพฯ : openbook, 2553, หน้า 176.
23
วัชรพล พุทธรักษา, แนวความคิดการครองอานาจนา (Hegemony) ของกรัมชี่ (Gramsci) : บททดลองเสนอในการ
อธิบายปรากฏการณ์ทางการเมืองไทย, 2550, หน้า 1.
23

และต้องการวิธีแก้ปัญหาโดยตรง (โดยไม่ผา่ นตัวแทน) จะถูกมองว่าเป็ นการ


ก่อหวอดสร้างความไม่สงบ ที่เรี ยกว่า “เกิด mob” เป็ นต้น24
2. Cultural Hegemony มีความหมายเช่นเดียวกับ Political Hegemony เพียงแต่
เปลี่ ย นมิ ติม าเป็ นด้านวัฒนธรรม อันหมายถึ งการสถาปนาระบบคิ ดระบบ
วัฒนธรรมอันหนึ่ งให้กลายเป็ นระบบคิดหลักและวัฒนธรรมหลักของสังคม
เพื่อนาไปสู่ การสร้ างความเห็ นพ้องต้องกัน (consensus) ทั้ง นี้ การผลิ ตและ
เผยแพร่ วฒั นธรรมจะมีสื่อมวลชนเป็ นกลไกสาคัญในการผลักดันความคิด/
จิตสานึกที่แทรกซึมอยูใ่ นชีวติ ประจาวันของมวลชน กรณี ของวัฒนธรรมหลัก
ของสั ง คมไทย ก็ คื อ วัฒ นธรรมที่ บุ ค คลไม่ ส ามารถเจริ ญก้ า วหน้ า ใช้
ความสามารถส่ วนตัวโดยลาพังได้ (อันเป็ นวัฒนธรรม “ค่าของคน อยู่ที่ผล
ของงาน”) เพราะสังคมไทยมีวฒั นธรรมเรื่ องพรรคพวกเส้นสายเป็ นเงื่อนไข
ของความก้าวหน้าในชีวติ (เป็ นวัฒนธรรมที่วา่ “ค่าของคน อยูท่ ี่วา่ เป็ นคนของ
ใคร”) เป็ นต้น25
ความคิ ด เรื่ อ งการครองอ านาจน าของกรั ม ชี่ ไ ด้ใ ห้ ค วามส าคัญ กับ เรื่ อ ง “อุ ด มการณ์ ”
(Ideology) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการใช้เป็ นแนวทางในการทาความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดเรื่ องของ
“โครงสร้ างสังคมส่ วนล่าง และสังคมส่ วนบน” (Base / Super Structure) โดยที่กรัมชี่ ได้เน้นให้
ความสาคัญกับบทบาทของโครงสร้างส่ วนบน และได้ช้ ี ให้เห็นถึงความแตกต่างที่สาคัญระหว่าง
สังคม 2 แบบ ภายในโครงสร้างส่ วนบนว่า ประกอบไปด้วย สังคมแรก คือ “รัฐ/สังคมการเมือง”
(Political Society) ซึ่ งได้แก่ รั ฐ และองค์กรการใช้อานาจต่างๆ รัฐและอีกสังคมหนึ่ งคือ ประชา
สังคม (Civil Society) ซึ่ งได้แก่ ส่ วนที่เป็ นเอกชน หรื อส่ วนอื่นๆ ที่เป็ นองค์กรนอกอานาจรัฐ26
ขณะที่สังคมการเมืองดาเนินการสร้างและสื บทอด “อานาจครอบงา” (Domination) โดยชน
ชั้นปกครอง ผูย้ ึดกุมอานาจรั ฐ และมีอานาจในการบังคับใช้กฎหมาย (Legislation) และมีอานาจ
บังคับรองรับ (Coercion) อยูด่ ว้ ย แต่ในประชาสังคมนั้นจะมีการดาเนินการเพื่อสร้าง และสื บทอด/

24
กาญจนา แก้วเทพ, การศึกษาสื่ อมวลชนด้วยทฤษฎีวิพากษ์ (Critical Theory), กรุ งเทพฯ : ภาพพิมพ์, 2544, หน้า 91– 92.
25
เพิ่งอ้าง, หน้า 92.
26
วัชรพล พุทธรักษา, รัฐบาลทักษิณกับความพยายามสร้างภาวะการครองอานาจนา, วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริ ญญา
รัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง ภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549, หน้า 28.
24

รักษา การครองอานาจนา โดยอาศัยวิธีการที่แตกต่างไปจากสังคมการเมือง โดยใช้วธิ ีการสร้างความ


ยินยอมพร้อมใจให้เกิดขึ้นในหมู่ประชาชน โดยที่ประชาชนไม่รู้สึกว่าเป็ นการบังคับ หรื อเป็ น “การ
ยินยอมพร้อมใจโดยธรรมชาติ ” (Spontaneously Consensus) ในประชาสังคมนี้ การใช้อานาจเพื่อ
ครอบงากลุ่มบุคคล หรื อชนชั้นอื่นนั้นจะแตกต่างจากสังคมการเมือง นัน่ คือ ในประชาสังคมจะเป็ น
การใช้อ านาจนา โดยไม่ ใ ช้ก าลัง หรื อความรุ น แรง แต่ จะเป็ นการครองอ านาจนาในเชิ ง พื้ น ที่
(Realm) หรื อความคิดในการผลิตทางเศรษฐกิจและการดารงชีวิต โดยผ่านเครื่ องมือหรื อกลไกชนิด
ต่างๆ ในแง่น้ ี โลกทัศน์ของผูค้ นในในประชาสังคมจะถูก “ครองอานาจนา” ทางความคิด ความเชื่อ
ทัศนคติโดยกลุ่มผูป้ กครอง และโลกทัศน์ที่ถูกครอบงา จะกลายไปเป็ น “วัฒนธรรมร่ วมของผูค้ น”
(Popular Culture) และแทรกซึ มไปทัว่ ทั้งประชาสังคม27
การสร้างภาวะการครองอานาจนานี้ จะเกิ ดขึ้นอย่างสมบูรณ์แบบไม่ได้ ถ้ากลุ่มผูป้ กครอง
หรื อชนชั้นปกครองจะมุ่งหวัดยึดครองแต่เพียงอานาจรัฐแต่เพียงอย่างเดียว โดยปราศจากการครอง
อานาจเหนื อระบบความคิ ด หรื ออุดมการณ์ เหนื อสังคมส่ วนใหญ่ ด้วยเหตุน้ ี “กลุ่ มผูด้ าเนิ นการ
สร้ างภาวะครองอานาจนา” นั้นจะต้องพยายามที่จะสร้ างแนวร่ วมและแปรสภาพอุดมการณ์ของ
พันธมิตรจากกลุ่ม หรื อชนชั้นต่าง ๆ รวมถึงกลุ่มที่เป็ นอริ ให้เป็ นหนึ่งเดียวกันให้ได้ 28
การดาเนิ นการเพื่อสร้ างภาวการณ์ ครองอานาจนาให้เกิ ดขึ้ นในทางปฏิ บตั ิน้ นั ต้องอาศัย
กลไกต่าง ๆ เพื่อปฏิบตั ิการ เช่น การใช้สื่อ และสถาบันต่างๆ หรื อสิ่ งใดๆ ก็ตามที่สามารถนามาใช้
เพื่อโน้มน้าว ชักจูง และครอบงาทางความคิดได้ ทั้งนี้ กลไกต่างๆ นี้ จะถูกกลุ่ม/ชนชั้นที่ตอ้ งการ
ครองอานาจนา นามาใช้ในพื้นที่ทางสังคม ที่เรี ยกว่า ประชาสังคม ควบคู่ไปกับการใช้อานาจบังคับ
ในสังคมการเมือง เพื่อให้สามารถสร้างภาวการณ์ครองอานาจนาได้อย่างเบ็ดเสร็ จ29
กระบวนการทางานเพื่อครองอานาจนาทั้งทางด้านการเมืองและอุดมการณ์ มีบทบาทหน้าที่
สาคัญ คือ
1. หน้าที่เป็ นเครื่ องมือในการทาสงครามช่วงชิงพื้นที่ทางความคิด (war of position)
เป้ าหมายของการครองอานาจนานั้น ต้องอาศัยการยึดอานาจที่รอบด้าน ตั้งแต่ดา้ น
เศรษฐกิ จ การเมื อ ง สั ง คม จริ ยธรรม วัฒ นธรรมและการสื่ อสาร ดัง นั้ น

27
เพิ่งอ้าง, หน้า 28.
28
เพิ่งอ้าง, หน้า 28.
29
เพิ่งอ้าง, หน้า 30.
25

กระบวนการนี้ จึงเป็ นกลไกที่ส าคัญในการช่ วงชิ งพื้ นที่ทางความคิดของคนใน


สังคม โดยมีเป้ าหมายเพื่อยึดความคิดและวัฒนธรรมของประชาชน ทั้งนี้ กรัมชีได้
ย้าว่า การปฏิวตั ิทุกครั้งจาเป็ นต้องมีสงครามช่วงชิงความคิดผูค้ น หรื อเป็ นการต่อสู้
ทางด้านคุ ณค่า/ความหมายที่อยู่ในระดับโครงสร้างส่ วนบน (superstructure) และ
จาเป็ นต้องอาศัยการทางานในระยะเวลาที่ค่อนข้างยาวนาน30
2. หน้าที่ในการสร้างความยินยอมพร้อมใจ (consent) อันเป็ นเป้ าหมายสู งสุ ดของการ
ครองอานาจนาที่จะสร้างความชอบธรรมทางอุดมการณ์ผา่ นการควบคุมจิตสานึ ก
และความเห็นพ้องต้องกัน (consensus) ของมวลชน โดยสื่ อมวลชนเป็ นกลไกใน
การผลิ ตซ้ า ทางอุ ดมการณ์ ห ลัก อย่า งไรก็ ตาม สื่ อ มวลชนโดยล าพัง อาจจะไม่
สามารถนาไปสู่ การสร้างความยินยอมพร้อมใจได้โดยเบ็ดเสร็ จสมบูรณ์ แต่ทว่า
อิทธิ พลของสื่ อมวลชนเป็ นอิทธิ พลร่ วมที่จะช่วยตอกย้ า ผลิตซ้ า และขยายผลของ
ภาคปฏิ บ ตั ิ ก ารทางอุ ดมการณ์ ต่า งๆ ร่ วมกับองค์กรอื่นๆ ในสัง คม เช่ น ศาสนา
ครอบครัว โรงเรี ยนฯลฯ อันถือเป็ นองค์กรในประชาสังคม (civil society) ที่ทา
หน้าที่รักษาสภาวะการครองอานาจนาของชนชั้นปกครองนัน่ เอง31
กรั ม ชี มี ท ัศ นะที่ เ ชื่ อ ว่า เส้ น ทางการครอบง า/ควบคุ ม ไม่ เ คยมี ห นึ่ ง เดี ย ว แม้ด้า นหนึ่ ง
อุ ดมการณ์ หลักจะมี อานาจกากับความคิดของประชาชน แต่คาถามที่ส าคัญก็ คือ การยอมรับใน
อุ ดมการณ์ น้ ันๆ จะเป็ นไปถึ ง ในระดับ ใด (to what extent) เนื่ องจากภายใต้การครอบงาของ
โครงสร้างอานาจนั้น มนุษย์ในฐานะปั จเจกผูก้ ระทาการ (Human Agency) ก็มีอิสระระดับหนึ่ งที่จะ
สร้างตัวเลือก (make choices) ให้กบั ชีวิตตนเอง ดังนั้น การครองอานาจนาจึงเป็ นกระบวนการที่ไม่
สิ้ นไม่สุด (a process without an end) ที่ไม่มีชนชั้นใดชนชั้นหนึ่ ง หรื อชุดความคิดใดชุดความคิด
หนึ่งจะผูกขาดสถานะนาได้ตลอดเวลา32

30
กาญจนา แก้วเทพ, การศึกษาสื่ อมวลชนด้วยทฤษฎีวิพากษ์ (Critical Theory), กรุ งเทพฯ : ภาพพิมพ์, 2544, หน้า 93.
31
เพิ่งอ้าง, หน้า 93.
32
กาญจนา แก้วเทพ, สายธารแห่ งนักคิดทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ การเมืองกับสื่ อสารศึกษา. กรุ งเทพฯ : ภาพพิมพ์, 2551, หน้า
188.
26

ดังนั้น ที่ใดก็ตามที่มีการถือครองอานาจหรื อมีการครองอานาจนา (Hegemony) ที่นน่ั มักจะ


ต้องมีการท้าทายหรื อการต่อต้านสถานการณ์ครองอานาจนา (Counter-Hegemony) เสมอ33
นอกจากนี้ ในการวิเคราะห์การครองอานาจนา กรัมชียงั ได้เสนอทัศนะที่สาคัญอีกประการ
หนึ่ง คือ การสร้างสามัญสานึก (common sense) หมายถึง วิธีคิดแบบหนึ่ งของคนเราที่มีต่อตนเอง
และโลกรอบตัว ที่เรามักจะเชื่ อว่า วิธีคิดเช่ นนี้ เป็ นปกติธรรมดา สาหรับทุกๆ คนในสังคม ดังเช่ น
ประโยคที่เรามักจะได้ยินเสมอว่า “เป็ นธรรมดาอยูแ่ ล้วที่...” “เป็ นที่ยอมรับกันโดยทัว่ ไปว่า...” เป็ น
ต้น ทั้งนี้ กรัมชีเห็นว่าวิธีคิดแบบสามัญสานึกไม่ได้เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ แต่ทว่า การที่คนเราจะ
ยอมรับว่าความคิดเป็ นไป “โดยปริ ยาย” นั้น จะต้องผ่านกระบวนการครองอานาจนา หรื อช่ วงชิ ง
พื้นที่ทางความคิดโดยคนบางกลุ่มของสังคมเป็ นสาคัญ และกลไกที่สาคัญในการสร้างสามัญสานึก
ให้กบั ผูค้ นก็คือ การสื่ อสาร โดยเฉพาะสื่ อมวลชน34
กรัมชี ได้ย้ าสรุ ปเอาไว้ว่า ต้องอาศัยการยึดพื้นที่ของสามัญสานึ กเท่านั้นที่จะทาให้ชนชั้น
ครอบงาสามารถยึดกุมชัยชนะในสงครามการครองอานาจนาได้ในที่สุด ทั้งนี้ เนื่องจากสามัญสานึก
เป็ นเงื่อนไขที่ทาให้คนเราคิดไปเองว่าความคิดและการกระทาต่างๆ ต้องเป็ นไปเช่นนั้น และปั จเจก
บุคคลเองก็ยนิ ยอมพร้อมใจที่จะเข้าไปเป็ นส่ วนหนึ่งของกรอบอุดมการณ์หลักที่ได้รับการผลิต/ผลิต
ซ้ าเอาไว้35

2.1.1. แนวคิดเรื่อง สงครามยึดพืน้ ทีท่ างความคิด (War of Position)


ในการดาเนิ นการเพื่อสร้างภาวการณ์ครองอานาจนาให้เกิดขึ้นนั้น กรัมชี่ ได้เปรี ยบดังเช่ น
การทาสงคราม โดยการดาเนิ นการเพื่อสร้างภาวการณ์ครองอานาจนาให้เกิ ดขึ้นเหนื อชนชั้นอื่นๆ
นั้น ชนชั้นผูพ้ ยายามสร้ างภาวการณ์ครองอานาจนานั้นจะต้องดาเนินการต่อสู้เพื่อยึดกุม “พื้นที่เชิ ง
อุดมการณ์ ความคิด ความเชื่อ” ของผูค้ นใน “ประชาสังคม” ให้ได้36

33
เพิ่งอ้าง, หน้า 188.
34
เพิ่งอ้าง, หน้า 188-189.
35
เพิ่งอ้าง, หน้า 189.
36
วัชรพล พุทธรักษา, รัฐบาลทักษิณกับความพยายามสร้างภาวะการครองอานาจนา, วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริ ญญา
รัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง ภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549, หน้า 37.
27

กรัมชี่ได้พิจารณาว่า หากพรรคการเมืองพรรคใดกระทาแต่สงครามแห่งการเคลื่อนไหวทาง
การเมือง (War of Movement) นอกจากจะประสบความสาเร็ จได้ยากแล้ว แม้วา่ ได้อานาจรัฐสภามา
ก็ยงั ยากที่จะรักษาอานาจนั้นไว้ได้ยาวนาน ดังนั้น กรัมชี่ จึงได้เสนอว่า ก่อนที่จะมีการทา War of
Movement นั้น จาเป็ นต้องการทาสงครามแย่งชิ งพื้นที่ทางความคิดของประชาชน และพื้นที่ทาง
วัฒนธรรมในสังคม (War of Position) อันหมายความว่า กลุ่มที่จะต้องการจะเปลี่ยนแปลงสังคมนั้น
จะต้องเอาชนะความคิดและจิตใจของคนทุกๆ กลุ่มในสังคม37
การดาเนิ นการช่ วงชิ ง หรื อยึดกุมความคิด ความเชื่อของคนในพื้นที่ประชาสังคมนี้ กรัมชี่
เรี ยกว่า เป็ น “การทาสงครามยึดพื้นที่ทางความคิด” ถ้าสามารถเอาชนะสงครามนี้ เหนือพื้นที่ประชา
สังคมได้สาเร็ จ การสร้างภาวการณ์ครองอานาจนาก็จะสาเร็ จได้อย่างสมบูรณ์และยัง่ ยืนสื บไป38

2.1.2. กลไกการครองอานาจนา (Hegemonic Apparatuses) และกลไกการใช้ อานาจรั ฐ


(State Apparatuses)
แนวคิ ดกลไกการครองอ านาจน าและกลไกการใช้อานาจรั ฐ หรื อกลไกรั ฐ นับ ได้ว่า มี
ความสาคัญอย่างยิง่ ต่อกระบวนการสร้างภาวะการครองอานาจนาให้เกิดขึ้นตามเป้ าหมายของกลุ่ม/
ชนชั้นผูพ้ ยายามสร้างภาวการณ์ครองอานาจนา ซึ่ งแนวคิดนี้ เปรี ยบได้กบั การทาหน้าที่เป็ นสื่ อกลาง
เพื่อถ่ายทอดอุดมการณ์หรื อระบบความคิด ความรู้ ความเชื่อ ค่านิยม ชุดหนึ่ งๆ ตามที่กลุ่มผูพ้ ยายาม
สร้างภาวการณ์ครองอานาจนาต้องการ เพื่อสื่ อไปถึงประชาชนในชนชั้นต่างๆ เหนื อพื้นที่ประชา
สังคม เพื่อให้เกิดความรู ้สึกร่ วมในการเห็นพ้องต้องกันและยินยอมที่จะปฏิบตั ิตาม (Consent) ความ
ต้องการของชนชั้นผูถ้ ่ายทอดอุดมการณ์39
นอกจากนี้ กลไกการครองอานาจนายังทาหน้าที่รวมไปถึงการสร้างจิตสานึก (Conscious)
ให้ชนชั้นผูถ้ ูกครอบงามีความรู ้สึกว่าผลประโยชน์ของชนชั้นตนนั้นได้รับการสนับสนุนอย่างดีจาก

37
กาญจนา แก้วเทพ, การศึกษาสื่ อมวลชนด้วยทฤษฎีวิพากษ์ (Critical Theory), กรุ งเทพฯ : ภาพพิมพ์, 2544, หน้า 91.
38
วัชรพล พุทธรักษา, รัฐบาลทักษิณกับความพยายามสร้างภาวะการครองอานาจนา, วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริ ญญา
รัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง ภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549, หน้า 38.
39
เพิ่งอ้าง, หน้า 38.
28

ชนชั้นปกครอง หรื อชนชั้นผูพ้ ยายามครองอานาจนา โดยที่ชนชั้นผูถ้ ูก ครอบงาไม่รู้สึก หรื อไม่


สามารถสานึกได้วา่ ชนชั้นของตนนั้นถูกเอาเปรี ยบ หรื อขูดรี ดอย่างไร40
กลไกการครองอานาจนานี้ กล่ า วได้ว่า เป็ นสิ่ ง ใดก็ ไ ด้ที่ ท าหน้า ที่ใ นการถ่ ายทอด หรื อ
ส่ งผ่านชุ ดความคิด จากด้านผูพ้ ยายามสร้างภาวการณ์ครองอานาจนาไปยังผูค้ นในสังคม ไม่ว่าจะ
เป็ นพรรคการเมื อ ง ปั ญ ญาชน นโยบายของพรรคการเมื อ ง/รั ฐ บาล สื่ อ มวลชนทุ ก ประเภท
สถาบันการศึกษา สถาบันครอบครัว สถาบันศาสนา การสร้างภาพ/การจัดการภาพลักษณ์ของฝ่ ายผู้
พยายามสร้างภาวะการครองอานาจนา เป็ นต้น41
ขณะที่กลไกการใช้อานาจรัฐนั้น จะถูกใช้เหนือพื้นที่สังคมการเมือง โดยแตกต่างจากกลไก
การครองอานาจนาตรงที่กลไกรัฐนั้นไม่ได้เป็ นกลไกที่ใช้สื่อสารเพื่อสร้างชุดของอุดมการณ์ตามที่
ชนชั้นผูพ้ ยายามครองอานาจนาต้องการ แต่กลไกรัฐนั้นเป็ นกลไกที่ใช้อานาจบังคับเพื่อบังคับให้
ประชาชนของชนชั้นต่ า งๆ ปฏิ บ ตั ิ หรื อไม่ ป ฏิ บ ตั ิ ตามความต้องการของชนชั้นปกครองหรื อ ผู้
พยายามสร้างการปกครองอานาจนาโดยที่ทุกคนในสังคมนั้นไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้42
กลไกการใช้อานาจรัฐจึงได้แก่ สิ่ งใดๆ ก็ตามที่รัฐ หรื อผูค้ รองอานาจนาสามารถนามาใช้
เหนื อผูค้ นในสังคมทุกชนชั้นเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายต่างๆ ตามต้องการ กลไกลักษณะนี้ จะอาศัย
อานาจในการบังคับ เช่น กฎหมาย การใช้อานาจศาล การใช้กาลังของกองทัพ และตารวจ เป็ นต้น43

2.2. แนวคิดเรื่อง อุดมการณ์ (Ideology)


ชั ยอนันต์ สมุทวนิช (2517) อุดมการณ์ หมายถึง ความเชื่อ ซึ่ งไม่จาเป็ นว่าความเชื่อนั้นจะ
เป็ นความเชื่ อที่ ถู ก ต้องด้วยเหตุ ผ ล หรื อสอดคล้องกับ สภาพความเป็ นจริ ง เสมอไป ความเชื่ อที่
เรี ยกว่าเป็ นอุดมการณ์จะต้องเป็ นระบบความคิดที่มีลกั ษณะสาคัญ ดังนี้
1. ความเชื่อนั้นได้รับการยอมรับร่ วมกันในกลุ่มชน
2. ความเชื่ อนั้นต้องเกี่ยวกับเรื่ องที่มีความสาคัญต่อกลุ่ม เช่น หลักเกณฑ์ในการ
ประพฤติปฏิบตั ิตวั และดาเนินชีวติ

40
เพิ่งอ้าง, หน้า 38.
41
เพิ่งอ้าง, หน้า 38.
42
เพิ่งอ้าง, หน้า 38.
43
เพิ่งอ้าง, หน้า 38.
29

3. ความเชื่ อนั้นจะต้องเป็ นความเชื่ อที่คนหันเข้าหา และใช้เป็ นแนวทางในการ


กาหนดการประพฤติปฏิบตั ิตวั อย่างสม่าเสมอ และในหลายๆ โอกาส
4. ความเชื่ อนั้นต้องมีส่วนช่ วยในการยึดเหนี่ ยวคนในกลุ่ มไว้ด้วยกัน หรื อช่ วย
สนับสนุน หรื อให้คนนามาใช้เป็ นข้ออ้างในการทากิจการต่างๆ
อุดมการณ์มีวตั ถุประสงค์ 3 ประการคือ
1. เพื่อธารงรักษาระบบและสภาพการเดิมของสังคมไว้
2. เพื่ อ ก่ อ ให้ เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงทั้ง ในตัว ระบบและการจัด ระเบี ย บสั ง คม
เศรษฐกิจ การเมือง
3. เพื่อธารงรักษาไว้ซ่ ึ งสภาพการใหม่อนั เป็ นผลจากการเปลี่ยนแปลงเช่นว่านั้น
กาญจนา แก้ วเทพ (2529) ให้ความหมายของอุดมการณ์วา่ หมายถึง ผลผลิตที่สร้างขึ้นมา
จากสภาวะทางจิต (ในความหมายทางการเมือง) ผลผลิตนี้ ได้แก่ เรื่ องของความคิด ความรู้สึก และ
ความพร้อมที่จะลงมือกระทา (set of idea, sentiment and action) หากผลผลิตนั้นรับใช้ผลประโยชน์
ทางชนชั้นเจ้าของผลผลิต ก็จดั ว่าเป็ นอุดมการณ์ที่แจ่มชัด แต่ถา้ กลับไปรับใช้ผลประโยชน์ของชน
ชั้นอื่นที่เป็ นปฏิ ปักษ์กบั เจ้าของผลผลิต ผลผลิตนั้นก็เป็ นอุดมการณ์ที่ผิดพลาด อุดมการณ์น้ นั แบ่ง
ได้เป็ น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ อุดมการณ์เพื่อการรับใช้อานาจในระบบ หรื อที่เรี ยกว่า “อุดมการณ์
หลัก” (dominant ideology) และอุดมการณ์ เพื่อการต่อต้านทาลายอานาจของระบบเดิ ม (counter
ideology)
ชั ย อนั น ต์ สมุ ท วณิ ช (2530) ได้ส รุ ป ความคิ ด ของอัล ธู แ ซร์ ใ นหนัง สื อ เรื่ อ ง “รั ฐ ” ว่ า
อุดมการณ์ นอกจากจะเป็ นนามธรรมแล้วก็ยงั ดารงอยูโ่ ดยมีโครงสร้างและมีรูปธรรมด้วย กล่าวคือ
มีกลไกและมีการปฏิบตั ิงานของกลไกทางอุดมการณ์น้ นั กลไกอุดมการณ์ทาหน้าที่ในการสื บทอด
ระบอบสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง เพราะเป็ นกรอบที่กาหนดพฤติกรรมและความเชื่อของคนใน
สังคม โดยที่ประชาชนซึ่ งยอมตกอยูภ่ ายใต้อิทธิพลของอุดมการณ์น้ นั ไม่รู้วา่ อุดมการณ์น้ นั โดยเนื้ อ
แท้แล้วเป็ นตัวแทนของอะไร ปั จเจกบุค คลจึงไม่ไ ด้มีเจตนารมณ์ ที่เป็ นอิ สระ หากตกอยู่ภายใต้
อานาจของอุ ดมการณ์ อย่า งไรก็ ตาม อุ ดมการณ์ ข องชนชั้นปกครองจะต้องมี ก ลไกของรั ฐเป็ น
เครื่ องมือสาคัญ โดยอัลธู แซร์ กล่าวว่า “อุดมการณ์ของชนชั้นปกครองมิได้กลายมาเป็ นอุดมการณ์
ชี้นาเพราะบารมีของพระเจ้า และก็ไม่ใช่เป็ นเพราะการยึดอานาจรัฐได้เท่านั้น แต่เป็ นไปได้เช่นนั้นก็
30

โดยการจัดตั้งกลไกทางอุดมการณ์ ของรัฐ ซึ่ งทาให้อุดมการณ์เกิ ดขึ้นได้ และกลายเป็ นอุดมการณ์


ชี้นาในการปกครอง” ตามความเห็นนี้ การจัดตั้งกลไกทางอุดมการณ์ของรัฐจึงเป็ นจุดสาคัญในการ
ต่อสู ้ทางชนชั้น เพราะชัยชนะของชนชั้นปกครองในการจัดตั้งกลไกทางอุดมการณ์ของรัฐเป็ นการ
เริ่ มต้นที่ทาให้อุดมการณ์น้ นั มีฐานะทางรู ปธรรม
อัลธู แซร์ เห็ นว่า การสื บทอดความสัมพันธ์ทางการผลิตนั้น ทาได้โดยผ่านทางอุดมการณ์
เพราะในสังคมทุกประเภทจาเป็ นจะต้องสร้างเงื่อนไขทางด้านการผลิตขึ้นใหม่อยูเ่ สมอ เพื่อที่จะทา
การผลิ ตได้ และมีการกาหนดความสัมพันธ์ทางสังคมที่จาเป็ นต่อการสนับสนุ นวิถีการผลิตนั้นๆ
เพราะระบอบสังคมใดก็ตามที่ไม่มีการสื บทอดเงื่อนไขของการผลิตเอาไว้ให้ได้ ในขณะเดียวกันกับ
ที่ทาการผลิตแล้ว ระบอบนั้นก็จะไม่จีรังยัง่ ยืน โดยการสื บทอดพลังการผลิตนี้จะกระทาในระดับชน
ชั้น
บทบาทของรัฐในการสื บทอดความสัมพันธ์ทางการผลิตจึงเกิดขึ้นได้เพราะรัฐมีกลไกทาง
กฎหมาย การเมืองและอุดมการณ์เป็ นเครื่ องมือโดยการใช้อานาจรัฐผ่านทางกลไกเหล่านี้ ซึ่ งมีสอง
ประเภทคือ กลไกรัฐด้านการกดขี่ปราบปราม (Repressive State Apparatus) และกลไกรัฐด้าน
อุดมการณ์ (Ideological State Apparatus) การแยกประเภทกลไกของรัฐนี้ เป็ นการเน้นถึงหน้าที่สอง
ด้านของรัฐ และความสาคัญของกลไกด้านอุดมการณ์ โดยเฉพาะโรงเรี ยนซึ่ งเป็ นสถาบันที่สาคัญ
ที่ สุ ดในการสร้ างทักษะและอุ ดมการณ์ ดัง นั้นระบบการศึก ษาจึ งสะท้อนถึ ง การต่อสู้ และความ
ขัดแย้งทางชนชั้น
อัลธู แซร์ กล่าวว่าการสื บทอดระบอบเศรษฐกิจมีความสาคัญมากแต่ไม่ได้หมายความเพียง
การผลิ ตซ้ าในด้านกระบวนการผลิตเท่านั้น ยังต้องคานึ งถึงการสื บทอดในสามมิติคือ มิติแรกเป็ น
ความสัมพันธ์ระหว่างนายทุนในฐานะที่เป็ นปั จเจกบุคคลกับผูท้ ี่อยู่ภายใต้อานาจและอิทธิ พลของ
นายทุนผูน้ ้ นั มิติที่สอง ได้แก่ความเกี่ยวพันระหว่างระดับชั้นต่างๆ ของโครงสร้างทางสังคม รวมทั้ง
สภาพแวดล้อมของกระบวนการผลิตที่ไม่ใช่สภาพแวดล้อมด้านเศรษฐกิ จ และมิติที่สามคือ ความ
เกี่ ยวพันระหว่างกระบวนการผลิ ตต่างๆ ที่พฒั นามาจากกระบวนการผลิ ตในอดี ตจนถึ งปั จจุบนั
ดังนั้น การสื บทอดระบอบจึงเป็ นวิธีการสาคัญที่ประสานพลังส่ วนต่างๆ ภายในสังคมเข้าด้วยกัน
โดยมีรัฐเป็ นกลไกสาคัญ
31

อัลธู แซร์ นาความคิ ดของกรัมชี่ เกี่ ยวกับกลไกรัฐด้านอุดมการณ์ มาใช้โดยแยกให้เห็ นว่า


กลไกรัฐด้านอุดมการณ์ทาหน้าที่ต่างไปจากกลไกรัฐด้านการกดขี่ปราบปรามอย่างไรบ้าง การแยก
ลักษณะหน้าที่หรื อการดาเนิ นงานของรัฐว่า มีท้ งั ด้านหลักไปในทางการใช้ความรุ นแรงและด้าน
อุดมการณ์ น้ ี ทาให้ภาพของกลไกของรัฐชัดเจนยิ่งขึ้น โดยกลไกของรัฐด้านอุดมการณ์มีมากมาย
หลายด้าน และทาหน้าที่ หลากหลายและมีของเอกชนด้วย สิ่ งที่อลั ธู แซร์ ให้ความสนใจคือ ความ
เกี่ยวพันระหว่างกลไกอานาจรัฐ กับกลไกด้านอุดมการณ์ของรัฐทุนนิยม กลไกด้านอุดมการณ์ที่เป็ น
ของเอกชน (หนังสื อพิมพ์ วิทยุโทรทัศน์ โรงเรี ยน มหาวิทยาลัยเอกชน ครอบครัว สหภาพแรงงาน
พรรคการเมือง เป็ นต้น) นั้นแท้ที่จริ งไม่มีอะไรแตกต่างไปจากกลไกของรัฐที่เป็ นทางการ เพียงแต่
แยกกันโดยกฎหมายระบุไว้เท่านั้น ดังนั้น กลไกด้านอุดมการณ์จะเป็ นของรัฐหรื อของเอกชนไม่
สาคัญ ความสาคัญอยูท่ ี่ การทาหน้ าที่ ของมัน ว่าทาอะไรและทาเพื่อใคร
วัฒนา คุณประดิษฐ์ (2543) ให้ความหมายคาว่า “อุดมการณ์” หมายถึง ความเชื่อและคุณค่า
ทางด้านมนุษย์กบั สิ่ งเหนือธรรมชาติ มนุษย์กบั ธรรมชาติ และมนุษย์กบั สังคม
แนวคิ ดเรื่ อง อุดมการณ์ (Ideology) เป็ นแนวคิ ดของหลุ ยส์ อัลธู แซร์ (Louis Althusser
1918-1990) นัก ปรั ช ญาชาวฝรั่ ง เศสและเป็ นนัก ลัท ธิ ม าร์ ก ซ์ ค นหนึ่ ง ซึ่ ง จัดอยู่ใ นกลุ่ ม Structural
แนวความคิดทางการศึกษาของเขาส่ วนหนึ่ งได้รับอิทธิ พลมาจาก กรัมชี โดยเฉพาะในเรื่ องเกี่ยวกับ
โครงสร้างส่ วนบน และความคิดว่าด้วยการครองความเป็ นใหญ่ทางวัฒนธรรมและอุดมการณ์ของ
ชนชั้นปกครอง แทนที่จะให้ความสาคัญอย่างมากต่อโครงสร้างส่ วนล่าง หรื อด้านเศรษฐกิจ เขาได้
คิดและพัฒนาความสนใจในแง่ ของบริ บททางสังคมและบริ บททางวิชาการในช่ วงที่บรรยากาศ
การเมืองของขบวนการสังคมนิ ยมยุโรปกาลังถึงจุดตีบตันด้านทฤษฎี โดยเฉพาะปั ญหาที่เกี่ ยวข้อง
กับความสัมพันธ์ระหว่างปั จจัยเศรษฐกิจและโครงสร้างส่ วนบน และปั ญหาการขาดทฤษฎีที่จะทา
ความเข้าใจเรื่ องจิตสานึก ความคิด และอุดมการณ์ในโครงสร้างส่ วนบน เช่ น เกิ ดคาถามขึ้นมาว่า
ในปฏิ บตั ิการทางการเมืองของพรรคปฏิวตั ิน้ นั จะมาสามารถเอาชนะจิตใจและความคิดของชนชั้น
กรรมาชีพได้อย่างไร หรื อในขณะที่จิตสานึกถูกครอบงาได้ แต่ก็ยงั หาคาตอบไม่พบว่าการครอบงา
ั นาขึ้ นมานั้นจึง พยายามค้นหาค าตอบให้กับ
นั้นเกิ ดขึ้ นได้อย่า งไร ดัง นั้นแนวคิดที่ อลั ธู แซร์ พ ฒ
ปั ญหาต่างๆ เหล่านั้น
32

อัลธู แซร์ สนใจขยายนิ ยามของการเมืองออกไปจากการรับรู้ของผูค้ นทัว่ ไป (เช่น การเมือง


เป็ นเรื่ องของการต่อสู ้ กนั ในสภา) แต่เขาได้ร้ื อฟื้ นและใช้จุดยืนวิธีวิเคราะห์ ของมาร์ ก ซ์ที่ส นใจ
การเมื องในมิ ติ ข องการต่ อสู ้ ท างชนชั้น (class struggle) และได้พ ฒ
ั นาแนวคิ ดมาร์ ก ซิ ส ม์เชิ ง
โครงสร้างและพบว่า ความสัมพันธ์แบบคู่ตรงข้ามเป็ นกลยุทธ์ที่สาคัญของสิ่ งที่เรี ยกว่า “อุดมการณ์”
(Ideology) ที่ไม่เพียงแต่ฝังลึกลงในจิตไร้สานึกของมนุษย์เท่านั้น หากแต่มีการตัดสิ นคุณค่า (value
judgment) ลงไปในขั้วความสัมพันธ์ดงั กล่าวด้วย44 ตัวอย่างเช่น การแบ่งขั้วคุณค่าระหว่าง
ชนชั้นปกครอง vs ชนชั้นกรรมาชีพ
ฉลาด/รวย/แข็งแรง vs โง่/จน/เจ็บ
มีอานาจ vs ด้อยอานาจ
ก้าวหน้า vs ล้าหลัง ฯลฯ
จากพื้นฐานทฤษฎีโครงสร้างนิยมดังกล่าว อัลธู แซร์ ได้พฒั นาความคิดของเขาออกมาโดย
สามารถนามาใช้ต้ งั คาถามกับกรณี การสื่ อสารอื่นๆ ได้ ซึ่ งอัลธูแซร์ เชื่อว่า ไม่มีครั้งใดที่มนุษย์เราจะ
เขียน/อ่าน/สังเกต/รับรู้ขอ้ เท็จจริ ง/สื่ อสารแบบไร้เดียงสา ตรงกันข้าม ทุกครั้งของการสื่ อสาร จะมี
โครงสร้างบางอย่างที่กาหนดเราเอาไว้แล้ว โดยที่เราเองก็ไม่รู้สึกตัวแต่อย่างใด45 เช่น กาหนดว่า เรา
จะอ่าน/ไม่อ่านอะไร เห็น/ไม่เห็นอะไร อ่านแบบไหน/ทาไม เขียน/อ่านอย่างไร รับรู้ต่อโลก/สังคม
เช่นไร จะมองเห็น/มองข้ามอะไรบ้าง เป็ นต้น
อัลธูแซร์ ได้ปฏิเสธข้อเสนอเรื่ องการวิเคราะห์องค์ประกอบสังคมแบบมาร์ กซิ สม์ด้ งั เดิมที่
แยกโครงสร้ างส่ วนบนและส่ วนล่าง และปฏิเสธข้อเสนอที่ว่าโครงสร้างเศรษฐกิ จเป็ นตัวกาหนด
โครงสร้างส่ วนบน ตรงกันข้าม เขากลับเชื่อว่า โครงสร้างส่ วนบนไม่ได้เป็ นเพียง ภาพสะท้อน ของ
โครงสร้างส่ วนล่างเท่านั้น หากแต่ยงั เป็ น ส่ วนเสี้ ยวที่จาเป็ นต่อการดารงอยูโ่ ครงสร้างเศรษฐกิจเลย
ที เ ดี ย ว ด้ว ยเหตุ น้ ี อัล ธู แ ซร์ จึ ง เสนอแนวคิ ด ใหม่ ใ นการวิเ คราะห์ การก่ อ รู ป ทางสัง คม (social
formation) ซึ่ งเขาเรี ยกว่า อุ ดมการณ์ และปฏิ บตั ิก ารทางอุดมการณ์ (ideology and ideological
practice)46 ดังรายละเอียดดังนี้

44
กาญจนา แก้วเทพ, สายธารแห่ งนักคิดทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ การเมืองกับสื่ อสารศึกษา. กรุ งเทพฯ : ภาพพิมพ์, 2551, หน้า
215.
45
เพิ่งอ้าง, หน้า 216.
46
เพิ่งอ้าง, หน้า 218.
33

2.2.1. ประเภทของอุดมการณ์
หากอุ ดมการณ์ คือกรอบวิธีคิดในการสร้ างความหมายต่อตัวเราและโลกรอบตัว หนังสื อ
เรื่ อง สายธารแห่ ง นัก คิ ดทฤษฎี เศรษฐศาสตร์ ก ารเมื องกับสื่ อสารศึ ก ษา ได้จาแนกประเภทของ
อุดมการณ์เอาไว้เป็ น 3 ชุดด้วยกัน คือ
1. อุดมการณ์ หลัก (Dominant Ideology) หรื ออุดมการณ์ที่ชนชั้นปกครองผลิต
และผลิ ตซ้ าขึ้น เพื่อครอบงาให้มวลชนยอมรับและกลายเป็ นกรอบความคิด
กระแสหลัก ของสัง คม ซึ่ ง อัล ธู แซร์ เ ห็ นว่า การดารงอยู่ข องความสัม พัน ธ์
ทางการผลิ ตนั้น จะเป็ นไปได้ก็ต่อเมื่อมีการผลิ ตซ้ า เพื่อสื บทอดอุ ดมการณ์
หลักแบบนี้ โดยฝังลึกอย่างมีประสิ ทธิภาพลงในสามัญสานึกของผูค้ น เช่น ใน
สังคมทุ นนิ ยม จะมีคาพูดที่กล่ าวว่า “มือใครยาวสาวได้สาวเอา” ประโยคนี้
เป็ นกรอบวิธี คิ ดที่ ผลิ ตขึ้ น โดย “คนมื อ ยาว” (อาทิ คนรวย นายทุ น ชนชั้น
ปกครอง) แต่ทว่า จะได้รับการสถาปนาขึ้นเป็ นอุดมการณ์หลักได้ ก็ต่อเมื่อคน
กลุ่มนี้สามารถทาให้แม้แต่ “คนมือสั้น” เอง (เช่น คนจน แรงงาน ประชาชน)
ก็ยงั ยอมรับที่จะมา “แข่งขันกันแบบสาวได้สาวเอา”
2. อุดมการณ์ ทางเลื อก (Alternative Ideology) คื อ อุดมการณ์ ที่ รอมชอมกับ
ระบบวิธีคิดหลักในระดับหนึ่ง หรื อเป็ นกรอบความคิดที่ยอมรั บในอุดมการณ์
หลักแต่ก็บนเงื่อนไขบางอย่าง (on condition) ตัวอย่างเช่น ประโยคในเพลงที่
กล่าวว่า “คนจนคนรวยไม่ชา้ ก็มว้ ยมรณา” อันเป็ นกรอบวิธีคิดที่เชื่อว่า ยังคงมี
ความแตกต่าง/ไม่เท่าเทียมกันทางเศรษฐกิจระหว่างคนในแต่ละกลุ่มสังคม แต่
กระนั้น ทั้งคนจนและคนรวยต่างก็ตอ้ งอยู่ใ นเงื่ อนไขหรื อกฎแห่ งอริ ยสัจสี่
ด้วยกันทั้งสิ้ น
3. อุดมการณ์ ตรงข้ าม/ต่ อต้ าน (Oppositional/Counter-Ideology) หรื ออุดมการณ์
ที่ป ฏิ เสธกรอบวิธี คิดของอุ ดมการณ์ หลัก และมักจะนาเสนอจิ นตภาพของ
สังคมแบบใหม่ (new social imagination) เพื่อเรี ยกร้องหรื อดึงให้ผคู้ นเข้ามามี
ส่ วนร่ วมต่ อต้า นกับ โครงสร้ า งอุ ดมการณ์ หลัก ของสัง คม ดัง เช่ น ประโยค
คาพูดที่วา่ “จนเงินแต่ไม่จนใจ” หรื อเนื้ อเพลงเพื่อชีวิตที่วา่ “คนจนจนแต่รวย
34

น้ าใจ ใครจะว่ายากจนคนจนผูย้ ่ิงใหญ่” อันแสดงให้เห็นโครงสร้างความคิด


เบื้องหลังว่า เราไม่จาเป็ นต้องยอมรับหลักการเรื่ องความแตกต่างทางเศรษฐกิจ
ระหว่างรวยกับจน เพราะความสาคัญอยูท่ ี่ศีลธรรมและน้ าใจต่างหาก
ในการจาแนกอุ ดมการณ์ ออกเป็ น 3 ประเภทนั้น เป็ นการชี้ ใ ห้เห็ นว่า ในสังคมหนึ่ ง ๆ
สามารถมีกรอบวิธีคิดที่มากไปกว่าแค่การยอมรับในอุดมการณ์หลักเท่านั้น และในขณะเดียวกัน
อัลธูแซร์ ก็เห็นด้วยกับทัศนะของกรัมชีที่วา่ ไม่มีอุดมการณ์ชุดใดที่จะยึดครองพื้นที่ความคิดของคน
ในสั ง คมได้ต ลอดกาล หากแต่ อุ ด มการณ์ ต่ า ง ๆ เหล่ า นั้น จะต้อ งมี ก ารสั ป ระยุท ธ์ ร ะหว่า งกัน
ตลอดเวลา เพื่อพยายามสถาปนาตัวให้กลายเป็ นอุดมการณ์หลักของสังคม แม้จ ะมีจุดยืนที่เห็นด้วย
กับกรัมชี ในเรื่ องสงครามช่ วงชิ งพื้นที่ทางความคิด (War of Position) แต่จุดต่างที่อลั ธูแซร์ ย้ าก็คือ
ไม่ใช่ ว่ามนุ ษย์เราที่สามารถผลิ ตความคิดได้อย่างอิสระ หากแต่เป็ นโครงสร้างอุดมการณ์ชุดต่างๆ
เหล่านี้ต่างๆ ที่ทาให้คนมีความคิดยอมรับ/รอมชอม/ต่อต้านกับระบบการผลิตในสังคม47

2.2.2. กลไกด้ านอุดมการณ์กบั กลไกด้ านการปราบปราม


อัลธูแซร์ ได้อธิ บายไว้วา่ ในการผลิตซ้ าความสัมพันธ์ทางสังคมนั้น วิถีที่จะทาให้อุดมการณ์
ธารงอยูไ่ ด้ ต้องกระทาผ่านเครื่ องมือที่ใช้ติดตั้งระบบวิธีคิด หรื อที่เรี ยกว่า กลไกทางสังคม ซึ่ งอัลธู
แซร์ได้จาแนกออกเป็ น 2 ประเภท คือ
1. กลไกด้ านการปราบปราม (Repressive State Apparatus) หมายถึง กลไกที่
เกี่ ยวกับการใช้กาลัง/ความรุ นแรง/การบังคับกดขี่ ซึ่ งได้แก่ รัฐบาลผ่านการ
บริ หาร กองทัพ ตารวจ ค่ายกักกัน คุก กฎหมาย ฯลฯ
2. กลไกด้ านอุดมการณ์ (Ideological State Apparatus) หมายถึงกลไกสังคมที่
ท างานในเชิ ง อุ ดมการณ์ หรื อก าหนดกรอบพฤติ ก รรมความเชื่ อของคนใน
สังคมให้รู้สึกเต็มใจที่จะเข้าไปเป็ นส่ วนหนึ่งของระบบสังคม ซึ่ งได้แก่ ศาสนา
โรงเรี ยน ครอบครัว การเมือง วัฒนธรรม สื่ อมวลชน ฯลฯ48

47
เพิ่งอ้าง, หน้า 220.
48
เพิ่งอ้าง, หน้า 221.
35

ในการจาแนกกลไกสังคมทั้งสองประเภทนั้น อัลธูแซร์อธิบายว่า กลไกด้านการปราบปราม


มักมีลกั ษณะเป็ นทางการ และมีขอ้ จากัดที่ไม่สามารถทางานได้ผลอย่างเต็มที่ เพราะทุกครั้งที่มีการ
ใช้ค วามรุ น แรง (ตั้ง แต่ ก ารโบยหรื อโซ่ ต รวนในอดี ต มาจนถึ ง การใช้ ก ระบอกปื นและการ
รัฐประหารนองเลือดในปั จจุบนั ) ก็มกั จะมีการลุ กฮือขึ้นต่อต้านจากมวลชนเสมอ ด้วยเหตุน้ ี อัลธู
แซร์ จึงเห็นว่า การใช้กาลังปราบปรามแต่เพียงอย่างเดียวไม่สามารถทาให้ชนชั้นปกครองยืนหยัดอยู่
ได้ แต่ตอ้ งอาศัยกลไกทางอุดมการณ์เป็ นเครื่ องมือหลักเท่านั้นจึงจะได้ผลและพันธนาการวิธีคิดของ
ผูค้ นได้อย่างยาวนาน49
นอกจากนี้ อัลธู แซร์ ยงั ได้แสดงทัศนะว่า ในความเป็ นจริ งแล้ว กลไกหนึ่ งจะต้องประกอบ
ขึ้นด้วยทั้งมิติการใช้กาลังปราบปรามและมิติทางอุดมการณ์ร่วมกันไปเสมอ เพียงแต่ว่าลักษณะใด
จะถูกจัดให้เป็ นด้านหลักหรื อด้านรองเท่านั้น ซึ่ งกลไกทั้งสองด้านจะดาเนินงานควบคู่กนั เสมอ50
อย่างไรก็ดี สาหรับกรณี ของกลไกทางอุดมการณ์ซ่ ึ งอัลธูแซร์ ให้ความสาคัญเป็ นพิเศษนั้น
เขาได้อธิ บายเพิ่มเติมว่า แม้กลไกอุดมการณ์ในสังคมจะมีอยู่มากมาย และมีลกั ษณะที่แตกต่างกัน
โดยพื้นฐาน (อาทิ ครอบครัว โรงเรี ยน ศาสนา สื่ อมวลชน) แต่ในท้ายที่สุดแล้วกลไกต่างๆ เหล่านี้ ก็
จะทางานมุ่งหน้าไปสู่ อุดมการณ์ชุดเดียวกัน หรื อประสานงานกันเพื่อติดตั้งกรอบแนวคิดให้ทุกคน
ได้รับรู ้และเข้าใจไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่ งอัลธูแซร์ เรี ยกว่า การกาหนดทิศทางของอุดมการณ์หลัก
ร่ วมกัน (over-determination)51 ตัวอย่างเช่ น อุดมการณ์ของระบบทุนนิ ยมที่จะเน้นการแข่งขันและ
ลักษณะความเป็ นปั จเจกบุคคลสู ง จะถูกผลิ ต/ผลิ ตซ้ าผ่านกลไกต่างๆ ที่มากกว่าหนึ่ งชนิ ด ตั้งแต่
ครอบครัวสมัยใหม่ (ที่มกั เน้นลักษณะของครอบครัวเดี่ยวมากกว่าครอบครัวขยาย) โรงเรี ยน (ที่
ติดตั้งให้เด็กแข่งขันเอาชนะกันด้วยคะแนนเรี ยน) วัด (ที่ยงั มีบางส่ วนเสี้ ยวของการส่ งเสริ มความมัง่
คัง่ ของการครอบครองทรัพย์สิน) สื่ อมวลชน (เช่น เกมโชว์และเรี ยลลิต้ ีโชว์ ที่ส่งเสริ มการแข่งขัน
ระบบแพ้คดั ออก และการมีชยั ชนะของปั จเจกบุคคล) และด้วยการทางานที่ประสานกันของกลไก
ทางอุดมการณ์เช่นนี้เท่านั้น จึงจะทาให้อุดมการณ์หลักของชนชั้นปกครองสามารถยืนหยัดอยูไ่ ด้ใน
จิตสานึกของประชาชน

49
เพิ่งอ้าง, หน้า 221.
50
เพิ่งอ้าง, หน้า 221.
51
เพิ่งอ้าง, หน้า 221-222.
36

2.2.3. การทางานของอุดมการณ์
อุ ด มการณ์ ไ ม่ ไ ด้เ กิ ด ขึ้ น มาลอยๆ หากแต่ ต้อ งมี ภ าคปฏิ บ ัติ ก าร (practices) ที่ จ ะท าให้
อุดมการณ์ ต่างๆ ได้รับการผลิ ตซ้ าและธารงรักษาไว้ในชีวิตประจาวันของผูค้ น ทั้งนี้ หนังสื อเรื่ อง
สายธารแห่งนักคิดทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ การเมืองกับสื่ อสารศึกษา ได้สรุ ป ปฏิบตั ิการของอุดมการณ์
(ideology practices) ได้ดงั นี้
1. การท าให้ ดู ร าวกั บ เป็ นธรรมชาติ (Naturalisation) อัล ธู แ ซร์ ไ ด้อ ธิ บ ายว่ า
ภาคปฏิบตั ิการของอุดมการณ์ไม่ได้อยูใ่ นระดับจิตสานึกแบบง่ายๆ แต่ที่สาคัญ
อุดมการณ์ทางานลึกลงไปในจิตไร้สานึ ก (unconscious) หรื อทาให้เราไม่ได้
ตระหนักถึงและรู้สึกราวกับว่ากระบวนการนั้นเกิ ดขึ้นเองตามธรรมชาติหรื อ
เป็ นไปโดยปริ ยาย (naturalized/taken-for-granted) โดยผ่านกลไกต่างๆ
2. การผสมกั น ระหว่ า งความจริ งกั บจิ น ตนาการ (Real-and-Seemingness) ใน
ชี วิตประจาวันของเรานั้น มักจะเชื่ อกันว่า มีการแยกกันระหว่างสองโลกคือ
“โลกแห่ งความจริ ง” (the world of reality) กับ “โลกแห่ งจินตนาการ” (the
world of imagination) แต่อลั ธูแซร์ อธิ บายว่า แทนที่จะแยกระหว่างเรื่ องจริ ง
กับเรื่ องลวงออกจากกัน การทางานของอุดมการณ์จะใช้วิธีการผสมเรื่ องจริ งๆ
กับลวงๆ จนไม่สามารถแยกออกจากกันได้เลย ซึ่ งวิธีการผสมผสานจริ งลวง
ดังกล่าวนี้ จะเกี่ ยวโยงกับโลกของการสื่ อสารเป็ นอย่างมาก ทั้งนี้ เพราะด้าน
หนึ่งสิ่ งที่เราสัมผัสผ่านสื่ อถือเป็ นโลกแห่ งจินตนาการ แต่ในอีกด้านหนึ่ งของ
เราในฐานะผูร้ ับสาร ก็มีโลกแห่งความจริ งบางอย่างอยูล่ อ้ มรอบตัวของเรา แม้
ในขณะที่กาลังเปิ ดรับสื่ ออยูก่ ็ตาม
3. การสร้ างชุ ดความสั มพันธ์ (Structuralist Set of Relations) อุดมการณ์จะ
ทางานผ่านชุ ดโครงสร้างความสัมพันธ์ (Structuralist Set of Relations) ที่
ลาดับแรกจะมีการแบ่งขั้วความหมายออกเป็ น ความสัมพันธ์แบบคู่ตรงข้าม
(Binary Oppositions) และล าดับ ถัด มาก็ จ ะมี ก ารก าหนดชั้น ของคุ ณ ค่ า
(Hierarchy of Values) ลงไว้ในขั้วความสัมพันธ์น้ นั
37

4. การผลิตซ้าเพื่อสื บทอดอุดมการณ์ (Reproduction of Ideology) อัลธูแซร์ เชื่อว่า


แม้แต่ในมิติจิตสานึกและความคิดเองก็ตอ้ งมีการทางานที่ผลิตซ้ าเพื่อสื บทอด
อุดมการณ์ (Ideological Reproduction) โดยการผลิ ตซ้ าเป็ นกระบวนการ
ต่อเนื่ องของการครองอานาจนา (Hegemony) ทั้งนี้เนื่องจากกลุ่มชนชั้นใดจะ
ครองอานาจนาได้น้ นั จะต้องสร้างระบบคิดที่เอื้ออานวยให้ประโยชน์กบั กลุ่ม
ตน และจะต้องมี วิธี ก ารถ่ า ยทอดความคิ ด นี้ ใ ห้แ ก่ ก ลุ่ ม อื่ นๆ ด้ว ย และการ
ถ่ายทอดระบบคิดนี้เป็ นตัวการทาให้ระบบคิดที่ผลิตขึ้นมายัง่ ยืน ซึ่ งทาให้กลุ่ม
หรื อชนชั้นผูป้ กครองสามารถรักษาอานาจเอาไว้ได้
ความหมายของการผลิ ต ซ้ าในงานวิ จ ัย ครั้ งนี้ ได้ใ ช้ แ นวคิ ด ของ กาญจนา แก้ ว เทพ
(2539,หน้า 127) ซึ่งอธิบายโดยอิงแนวคิดของอัลธูแซร์ กล่าวว่าการผลิตซ้ าหมายถึง การนาความคิด
ที่ผลิตขึ้นมาถ่ายทอดให้แก่คนในสังคมอย่างสม่าเสมอในชีวิตประจาวัน ซึ่ งการผลิตซ้ าเพื่อสื บทอด
นี้ ตอ้ งกระทาอย่างแอบแฝงและซ่ อนเร้น ซึ่ งอาจทาได้หลายรู ปแบบหลายเนื้ อหา เช่ น อาจผลิตซ้ า
ใหม่โดยลอกแบบของดั้งเดิมทุกประการ หรื อตัดแต่งจนดูแปลกตาไปจากเดิม หรื ออาจมีการเปลี่ยน
เหล้าเก่าในขวดใหม่ (เปลี่ ยนรู ปแบบแต่เนื้ อหาเดิม) หรื อเหล้าเก่าในขวดเก่าแต่เปลี่ยนฉลากใหม่
(เปลี่ยนชื่อเรี ยกใหม่)
การผลิ ตซ้ า เป็ นกระบวนการสื บทอดความคิดที่ ผลิ ตขึ้ นเพื่อให้ค วามคิดนั้นคงอยู่รับ ใช้
ผลประโยชน์ของผูผ้ ลิ ต ในวันหนึ่ งๆ มีความคิดต่างๆ ได้ถูกผลิตขึ้นอย่างมากมาย แต่มีเพียงบาง
ความคิดเท่านั้นที่สามารถคงอยู่ ทั้งนี้ เนื่องมาจากความคิดนั้นได้มีโอกาสถ่ายทอดออกสู่ ประชาชน
อย่างสม่าเสมอ การผลิตซ้ าเพื่อสื บทอดอุดมการณ์น้ นั มีเงื่อนไขที่จะผลิตซ้ าและสื บทอดอุดมการณ์
2 ประการดังนี้ คือต้องมีสถาบันและกิจกรรมในการผลิตซ้ า

2.2.4. หน้ าทีข่ องอุดมการณ์


นอกจากการท างานของอุ ด มการณ์ แ ล้ว อัล ธู แ ซร์ ย งั ได้อ ธิ บ ายถึ ง หน้า ที่ ส าคัญ ๆ ของ
อุดมการณ์ไว้ โดยหนังสื อเรื่ อง สายธารแห่งนักคิดทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ การเมืองกับสื่ อสารศึกษา ได้
กล่าวหน้าที่ของอุดมการณ์ไว้ ดังนี้
38

1. หน้ าที่ ในการธารงรั กษาสภาพที่ เป็ นอยู่ (status quo) อัลธูแซร์ ได้ให้คาอธิ บาย
ว่า แม้ในสังคมปั จจุบนั จะมีความขัดแย้งหรื อความไม่เท่าเทียมต่างๆ ซุ กซ่ อน
อยูม่ ากมาย แต่อุดมการณ์มีหน้าที่สาคัญคือ การรักษาสภาพความไม่เท่าเทียม
ดังกล่าวให้สืบทอดต่อไป
2. หน้ าที่ในการให้ คาอธิ บาย (explanation) ในแง่ของการผลิตความสัมพันธ์ทาง
สั ง คมนั้น อุ ด มการณ์ จ ะท าหน้า ที่ ติ ด ตั้ง กรอบหรื อ ให้ค าอธิ บ ายว่ า ท าไม
ความสัมพันธ์ดงั กล่าวจึงเป็ นและไม่เป็ นเช่นนั้น
3. หน้ าที่ในการเรี ยกเพื่อกาหนดตัวตน (interpellation) อัลธูแซร์ ได้เสนอแนวคิด
เรื่ อง การเรี ยกเพื่อกาหนดตัวตน (interpellation) โดยอธิ บายว่า การเป็ นตัวตน
(subject) ขึ้นมาของคนๆ หนึ่งไม่ได้เกิดขึ้นมาเองตามธรรมชาติ แต่มาจากการ
ที่คนเรามีปฏิ สัมพันธ์กบั ผูอ้ ื่นและโลกรอบตัว ในขณะเดี ยวกัน เมื่อเราเข้าสู่
ระบบความสัมพันธ์กบั ปั จเจกบุ คคลและสังคมรอบตัว เราก็จะถูกเรี ยกเพื่อ
กาหนดตัวตนให้เป็ นแบบต่าง ๆ ซึ่ งโดยปกติแล้วอุดมการณ์จะทาหน้าที่เรี ยก
เร้า (interpellation) ให้คนกลายเป็ นตัวตนตัวเล็กๆ ที่ตอ้ งอ้างอิงหรื อไปขึ้นตรง
ต่อตัวตนตัวใหญ่ เช่น เวลาที่นกั การเมืองหรื อตัวตนตัวใหญ่เรี ยกคนทัว่ ไปว่า
“พี่น้องประชาชนที่เคารพ” เป็ นต้น นอกจากตัวตนจะถูกเรี ยกเร้ าแล้ว อัลธู
แซร์ ย ัง เห็ น ว่ า ตัว ตนเล็ ก ๆ เหล่ า นี้ ยัง จะผัน แปรไปตามตัว ตนใหญ่ ที่
เปลี่ยนแปลงไปด้วย ซึ่ งทาให้อตั ลักษณ์ของเราอยูใ่ นกระบวนการที่ยงั สร้างไม่
เสร็ จ หรื อยูใ่ นกระบวนการกลายมาเป็ น (process of becoming) และที่สาคัญ
ในโลกปั จจุบนั นี้ กลไกของการเรี ยกเร้าและสร้างอัตลักษณ์ได้มีประสิ ทธิ ภาพ
มากที่สุดกลไกหนึ่งก็คือ สื่ อ
โดยการวิเคราะห์ปรากฏการณ์การแข่งขันในการครองอานาจนาทางความคิดระหว่างพรรค
เพื่อไทยและพรรคประชาธิ ปัตย์ในการหาเสี ยงเลือกตั้งวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 จะใช้แนวคิด
การครองอานาจนา (Hegemony) ของ Antonio Gramsci มาอธิ บายโดยนาเอาแนวคิดเรื่ องสงคราม
ยึดพื้นที่ทางความคิด (War of Position) และกลไกการครองอานาจนาและกลไกการใช้อานาจรัฐ
(Hegemonic Apparatuses and State Apparatuses) มาใช้อธิ บายประกอบ กล่าวคือ การทาสงคราม
39

ยึดพื้นที่ทางความคิด (War of Position) ทั้งพรรคเพื่อไทยและพรรคประชาธิ ปัตย์ต่างก็มียุทธศาสตร์


และกลยุทธ์ ในการดาเนิ นการต่อสู้เพื่อยึดกุม พื้นที่เชิ ง อุดมการณ์ , ความคิด , ความเชื่ อของผูค้ น/
ประชาชนผูม้ ีสิทธิ์ เลือกตั้งในวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 ผ่านทางสังคมออนไลน์ (Social Media)
อย่า งเฟซบุ๊ก (Facebook) และทวิตเตอร์ (Twitter) โดยกลไกการครองอานาจนานั้นกระทาผ่า น
กลไกนโยบายที่นาเสนอบนสังคมออนไลน์ ไม่วา่ จะเป็ นการนาเสนอผ่านรู ปแบบการโพสรู ปภาพ
การลงพื้ นที่ หาเสี ยงนาเสนอนโยบายบนกระดานพร้ อมข้อความประกอบบรรยาย หรื อการจัด
กิ จกรรมให้ร่วมแสดงความคิดเห็ นหรื อข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ ยวกับนโยบายบนสังคมออนไลน์
เป็ นต้น รวมทั้งได้กระทาผ่านกลไกการจัดการภาพลักษณ์ของผูส้ มัครรับเลือกตั้งเป็ นนายกรัฐมนตรี
(Candidate’s image) โดยการจัดการภาพลัก ษณ์ ข องผูส้ มัค รรั บ เลื อกตั้ง ได้นาเสนอบนสัง คม
ออนไลน์อย่างเฟซบุ๊กและทวิตเตอร์ อย่างต่อเนื่ องเป็ นประจาทุกวัน ยกตัวอย่างเช่ น การนาเสนอ
ภาพลัก ษณ์ ข องยิ่ง ลัก ษณ์ ชิ นวัตรว่า เป็ นคนที่ เข้า ถึ ง ได้ง่ า ย คื อ การที่ น างสาวยิ่ ง ลัก ษณ์ ชิ นวัต ร
โพสข้อความด้วยตัวเองเป็ นประจาทุกวัน ซึ่ งการนาเสนอแบบนี้ มีส่วนช่ วยในภาพลักษณ์ของยิ่ง
ลัก ษณ์ เป็ นอย่า งมาก หรื อแม้แต่ การที่ อภิ สิท ธิ์ ลงพื้ นที่ หาเสี ยงและได้นอนพัก แรมในวัดเพื่อท า
กิจกรรมกับประชาชน แสดงถือภาพลักษณ์ที่ไม่ถือตัว เป็ นคนง่ายๆ เป็ นต้น พร้อมทั้งนาเอาแนวคิด
เรื่ อง อุดมการณ์ (Ideology) และการผลิตซ้ าทางอุดมการณ์ ของ Louis Althusser มาช่ วยในการ
อธิ บายเนื่องจากแนวคิดนี้เป็ นแนวคิดที่ต่อเนื่องจากแนวคิดการครองอานาจนา (Hegemony) โดยจะ
ใช้อธิ บายว่า ทั้งพรรคเพื่อไทยและพรรคประชาธิ ปัตย์ได้ใช้อุดมการณ์ใดในการครอบงาประชาชน
และมี ก ารผลิ ตซ้ าทางอุ ดมการณ์ ผ่านวิธี การในการหาเสี ย งเลื อกตั้งผ่า นสัง คมออนไลน์ (Social
Media) ตั้งแต่วนั ที่ 10 พฤษภาคม – 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 และส่ งผลต่อการเลือกตั้งในวันที่ 3
กรกฎาคม พ.ศ. 2554 อย่างไร
40

2.3. เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง


ในส่ วนของเอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับสังคมออนไลน์ (Social Media), การหาเสี ยง
เลื อกตั้ง, แนวคิดเรื่ องการครองอานาจนา (Hegemony) และแนวคิดเรื่ องอุดมการณ์ (Ideology) มี
เป็ นจานวนมาก อย่างไรก็ตามในงานวิจยั ชิ้นนี้ได้หยิบยกเอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง โดยแบ่ง
ออกเป็ น 5 กลุ่ม ดังนี้
(1) การศึ กษาและงานวิจยั ที่เกี่ ย วกับ สัง คมออนไลน์ (Social Media) กับ การเมื องไทย
เพื่อให้เห็นความสาคัญและผลกระทบของการใช้สื่อใหม่น้ ี
(2) การศึกษาและงานวิจยั ที่เกี่ ยวกับการใช้สื่ออินเทอร์ เน็ตในการรณรงค์หาเสี ยง เพื่อให้
เห็นความสาคัญของสื่ ออินเทอร์เน็ตในการรณรงค์หาเสี ยง
(3) การศึ กษาและงานวิจยั ที่เกี่ ยวกับแนวคิดการครองอานาจ (Hegemony) เพื่อให้เห็ น
มุมมองของแนวคิดเหล่านี้ในการวิเคราะห์สถานการณ์ต่างๆ
(4) การศึกษาและงานวิจยั ที่เกี่ยวกับแนวคิดอุดมการณ์ (Ideology) เพื่อให้เห็นมุมมองของ
แนวคิดเหล่านี้ในการวิเคราะห์สถานการณ์ต่างๆ

(1) การศึกษาและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วกับสั งคมออนไลน์ (Social Media) กับการเมืองไทย


ปี พ.ศ. 2553 นับเป็ นห้วงเวลาวิกฤติที่สุดของสังคมไทยนับเนื่องมาจากการรัฐประหารในปี
พ.ศ. 2549 ความสับสนอลหม่านทางการเมืองในเดือนเมษายนและพฤษภาคม พ.ศ. 2553 จากวันที่ 7
เมษายน พ.ศ. 2553 กรุ งเทพฯ และพื้นที่อื่นๆ ในประเทศไทยอยูภ่ ายใต้อานาจการปกครองด้วยพระ
ราชกาหนดบริ หารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิ น ซึ่ งจากัดสิ ทธิ ทางการเมือง และถูกยกเลิกไปเมื่อ
สิ้ นปี พ.ศ. 2553 เว็บไซด์จานวนมากถูกปิ ดกั้น วิทยุชุมชนหลายแห่ งถูกปิ ด และสื่ อกระแสหลักถูก
วิพากษ์วิจารณ์วา่ ขาดความเป็ นกลางในการายงานสถานการณ์ ด้วยสถานการณ์ดงั กล่าวนี้ สื่ อใหม่
บนโลกออนไลน์ได้กลายเป็ นพื้นที่ในการแสดงออกทางการเมือง
หลายปี ที่ผา่ นมา จานวนของผูใ้ ช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยเติบโตมากขึ้นจาก 18 ล้านคน
ในปี พ.ศ. 2552 เป็ น 20 ล้านคนในปี พ.ศ. 2553 จานวนของผูท้ ี่ใช้เครื อข่ายสังคมออนไลน์อย่างเฟ
ซบุก๊ และทวิตเตอร์ กาลังเติบโตขึ้นในอัตราที่สูงมากขึ้นเช่นกัน ซึ่ งในระหว่างที่มีสถานการณ์วิกฤติ
ทางการเมือง พลเมืองได้ใช้สื่อใหม่เพื่อรวบรวมและแบ่งปันข้อมูลอย่างกว้างขวาง
41

ณัฐกานต์ กูลณรงค์ 52 ทาการศึกษาเรื่ อง การสื่ อสารทางการเมืองบนเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต


ในช่ วงรัฐบาลทักษิณ โดยอธิ บายว่า ในยุคโลกาภิวฒั น์อินเทอร์ เน็ตเป็ นเครื่ องมือการสื่ อสารทาง
การเมืองที่มีอิทธิ พลต่อระบบการเมืองอย่างสู ง โดยเฉพาะในช่วงเกิดการต่อต้านรัฐบาลทักษิณ กลุ่ม
ทางสังคมรวมถึ งประชาชนต่างใช้อินเทอร์ เน็ตเป็ นเครื่ องมือการสื่ อสารทางการเมืองทั้งจากกลุ่มที่
สนับสนุ นและคัดค้านรัฐบาลทักษิณ โดยมีรูปแบบการสื่ อสารทางการเมืองผ่านเว็บไซด์, กระดาน
สนทนา (web board) และเว็บบล็อก (blog) ซึ่ งปั จจัยที่มีผลต่อการใช้อินเทอร์ เน็ตเป็ นช่ องทางการ
สื่ อ สารทางการเมื อ งในห้ ว งเวลาดัง กล่ า ว คื อ สื่ อ มวลชนกระแสหลัก (โทรทัศ น์ , วิ ท ยุ , และ
หนัง สื อพิ ม พ์) ถู ก ควบคุ ม การนาเสนอข่ า วสารและการแทรกแซงการท างานจากรั ฐบาล ท าให้
สื่ อมวลชนกระแสหลักนาเสนอข่าวสารทางการเมืองด้านเดียว คือ ข่าวสาร หรื อความคิดเห็นที่ผา่ น
มาจากรั ฐ บาล หรื อ จากกลุ่ ม ที่ ส นับ สนุ น รั ฐ บาลเท่ า นั้น , การขยายตัว ของการสื่ อ สารผ่ า นสื่ อ
อินเทอร์ เน็ต, การเติ บโตของสื่ อทางเลื อก และคุ ณสมบัติของสื่ ออินเทอร์ เน็ต ที่เอื้ อต่อสิ ทธิ และ
เสรี ภาพในการรับรู ้ขอ้ มูลข่าวสารทางการเมือง ความสามารถในการสื่ อสารที่สะดวก รวดเร็ ว และมี
ประสิ ทธิ ภาพ ที่สาคัญคื อ อินเทอร์ เน็ตเป็ นเครื่ องมือการสื่ อสารทางการเมืองที่เอื้อต่อการสื่ อสาร
ทางการเมืองแบบสองทาง (Two – ways Communication) ซึ่ งเป็ นสิ่ งสาคัญต่อการปกครองใน
ระบอบประชาธิปไตย
อินเทอร์ เน็ตเป็ นพื้นที่สาธารณะสาหรับการสื่ อสารทางการเมืองแห่ งใหม่ นอกเหนื อจาก
การรวมตัวกันบนท้องถนน และตามสถานที่สาคัญต่างๆในช่วงเกิดการต่อต้านรัฐบาลทักษิณพื้นที่
สาธารณะบนอินเทอร์ เน็ตเป็ นพื้นที่สาหรับแลกเปลี่ ยนข้อมูลข่าวสาร การแสดงความคิดเห็นต่อ
ประเด็นทางการเมื อง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การใช้พ้ืนที่บนกระดานสนทนาในเว็บ ไซด์ต่า งๆ จาก
คุ ณสมบัติของอินเทอร์ เน็ ตที่ เปิ ดกว้างทาให้กลายเป็ นพื้นที่ที่มีความหลากหลาย และนาไปสู่ การ
ปะทะกันของวาทกรรมทางการเมือง โดยวาทกรรมหลักคือ วาทกรรมว่าด้วยผูน้ าทางการเมือง มี
วาทกรรมนายกฯ พระราชทาน (มาตรา 7) และวาทกรรมเสื้ อเหลืองเป็ นวาทกรรมสนับสนุ น ซึ่ ง
แนวโน้มการใช้พ้ืนที่การสื่ อสารทางการเมืองบนอินเทอร์ เน็ต พบว่า ในยุคโลกาภิวตั น์อินเทอร์ เน็ต
จะคงบทบาทสาคัญต่อการเมืองไทยต่อไป ทั้งด้านการสื่ อสารทางการเมือง, การเป็ นพื้นที่สาธารณะ

52
ณัฐกานต์ กูลณรงค์, “การสื่อสารทางการเมืองบนเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ตในช่ วงการต่ อต้ านรัฐบาลทักษิณ ”, วิทยานิพนธ์
ปริ ญญาโท รัฐศาสตรมหาบันฑิต สาขาวิชาการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยเชี ยงใหม่, 2550.
42

, การเคลื่อนไหวทางการเมือง, การมีส่วนร่ วมทางการเมืองในรู ปแบบใหม่ ตลอดจนการให้บริ การ


ของภาครัฐแก่ประชาชนโดยผ่านอินเทอร์เน็ต ซึ่ งมีแนวโน้มการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง
ชาญชั ย ชั ยสุ ขโกศล53 ได้ทาการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเคลื่อนไหวทางการเมือง
โดยสันติ วิธีที่เรี ยกว่า “ปฏิ บ ตั ิการไร้ ความรุ นแรง ” อยู่บนฐานทฤษฎี อานาจเชิ งการยินยอม กับ
ระบบเทคโนโลยีขนาดใหญ่ที่เรี ยกว่า “อินเทอร์ เน็ต” ในฐานะที่เป็ นที่ต้ งั ของอานาจเชิงโครงสร้าง
โดยตอบคาถามหลัก 2 ประการ ได้แก่ 1. การต่อสู้แบบไร้ ความรุ นแรงโดยใช้อินเทอร์ เน็ตใน
สังคมไทยมีลกั ษณะและเป็ นพลวัตอย่างไร 2. อินเทอร์ เน็ตไทยถูกนามาใช้เป็ นเครื่ องมือของอานาจ
ในภาคส่ วนต่างๆ อย่างไร จะเอื้ อต่อการต่อสู้โดยไม่ใช้ความรุ นแรงมากน้อยเพียงใด ซึ่ งคาถาม
ดังกล่าวใช้การศึกษา (1.) ประวัติศาสตร์ การพัฒนาเชิงโครงสร้างของอินเทอร์ เน็ตไทย เพื่อทาความ
เข้าใจเกี่ ยวกับอานาจเชิ งโครงสร้ างที่ฝังฝังอยู่ในระหว่างช่ วงลงหลักปั กฐานและช่ วงขยายตัวของ
อินเทอร์ เน็ตไทย ผ่านมิติเชิงโครงสร้างเทคโนโลยี มิติเชิงเทคนิค และมิติเชิงสถาบัน (2.) ปฏิบตั ิการ
เชิงประเด็น/เนื้อหาของกลุ่มพลังทางการเมืองหลักๆ ในช่วงเหตุการณ์ขบั ไล่รัฐบาลทักษิณ ช่วงก่อน
รัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ที่ใช้อินเทอร์ เน็ต/เว็บไซด์ในการเคลื่อนไหว เช่น เว็บผูจ้ ดั การ
ออนไลน์ ห้องราชดาเนินแห่งเว็บพันทิปดอทคอม เว็บมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน และเว็บประชาไท เป็ น
ต้น (3.) การปิ ดกั้นแทรกแซงเว็บไซด์ในฐานะที่เป็ นจุดที่อานาจเชิงโครงสร้างเข้ามาเป็ นอุปสรรคทั้ง
ในเชิงเทคนิคและเชิงสถาบันต่อปฏิบตั ิการไร้ความรุ นแรง ซึ่ งผลการศึกษาพบว่า การต่อสู้ไร้ความ
รุ นแรงโดยใช้อินเทอร์ เน็ ตของไทยมีลกั ษณะและพลวัต ดังนี้ (1) เหตุการณ์ ขบั ไล่ รัฐบาลทักษิณ
ประกอบด้วยกลุ่มพลังทางการเมือง 3 ฝ่ าย คือ กลุ่มขับไล่รัฐบาล กลุ่มสนับสนุนรัฐบาล และกลุ่มไม่
เอามาตรา 7 กลุ่มเหล่านี้ เป็ นกลุ่มปฏิบตั ิการไร้ความรุ นแรง เพราะเป็ นการเคลื่อนไหวโดยไม่ใช้
ความรุ นแรงทางกายภาพและใช้เทคนิควิธีของปฏิบตั ิการไร้ความรุ นแรงในการจัดการกับความชอบ
ธรรมและความยินยอมของฝ่ ายต่างๆ (2) อินเทอร์เน็ตไทยถูกนามาใช้เคลื่อนไหวในลักษณะ “แอ็คติ
วิซึม” กล่าวคือ ใช้อินเทอร์เน็ตเป็ นเครื่ องมือสื่ อสาร (3) วิธีการของปฏิบตั ิการไร้ความรุ นแรงที่ท้ งั –
กลุ่มใช้น้ นั เน้นหนักไปในแง่การประท้วง โน้มน้าวชักจูง การไม่ให้ความร่ วมมือที่มีอยูบ่ า้ งก็เป็ น
การรณรงค์ผ่านเว็บไซด์เป็ นสาคัญ ส่ วนการแทรกแซงไร้ความรุ นแรงมีท้ งั ที่เป็ นการเปิ ดเผยข้อมูล

53
ชาญชัย ชัยสุขโกศล, เทคโนโลยีกบั การต่ อสู้ ทางการเมืองโดยไร้ ความรุ นแรง : ศึกษากรณีอนิ เทอร์ เน็ตในประเทศไทย,
วิทยานิ พนธ์ปริ ญญาเอก คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553, http://chaisuk.wordpress.com/cv/
43

ทางเทคนิ ค ของปฏิ บ ัติ ก ารลับ และการป่ วนทางวัฒ นธรรม (4) การใช้อิ น เทอร์ เ น็ ต ท าให้ก ลุ่ ม
เคลื่ อ นไหวต้อ งเผชิ ญ กับ “พลวัต ทางเทคโนโลยีข องปฏิ บ ัติ ก ารไร้ ค วามรุ น แรง” โดยเฉพาะ
มาตรการตอบโต้ใ นทางเทคนิ ค และเชิ ง สถาบันจากผูอ้ ยู่ใ นอานาจ ซึ่ ง กุม อานาจเชิ ง โครงสร้ า ง
เทคโนโลยีอยูใ่ นมือด้วย (5) ในสถานการณ์ความขัดแย้งที่ทุกฝ่ ายล้วนใช้วิธการไร้ความรุ นแรงนั้น
เป็ นปัจจัยที่สร้างความได้เปรี ยบ คือ “ทรัพยากรไซเบอร์ ” อันเป็ นที่มาของ “อานาจเชิงปริ มาณ” ซึ่ ง
สามารถทาให้ใช้กลไกการ “ปิ ดล้อมแบบไร้ความรุ นแรง” ต่อวาระประเด็นและข้อมูลข่าวสารของ
กลุ่มอื่นๆ ได้
อิสริ ยะ ไพรี พ่ายฤทธิ์ 54 ได้กล่ าวถึ ง การใช้อินเทอร์ เน็ตเชิ งการเมืองในประเทศไทย ว่า
ในช่วงที่อินเทอร์ เน็ตเพิ่งเริ่ มแพร่ หลายในประเทศไทย จุดศูนย์กลางของกลุ่มผูส้ นใจด้านการเมือง
ในประเทศไทยอยู่ ที่ “โต๊ ะ ราชด าเนิ น ” (Rajdumnern) ซึ่ งเป็ นส่ ว นหนึ่ งของเว็บ ไซด์ พ ัน ทิ ป
(www.pantip.com) กระดานสนทนาที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยที่ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2540 ในช่วงแรก
นั้น หัวข้อการสนทนามักอยูใ่ นรู ปของการวิเคราะห์และวิจารณ์ข่าวการเมืองประจาวันมากกว่าการ
ปะทะกันของอุดมการณ์ทางการเมืองที่แตกต่างกัน
หลังจากเริ่ มขบวนการเคลื่อนไหวเพื่อต่อต้านนายกรัฐมนตรี พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร โดยมี
กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิ ปไตยเป็ นแกน (ภายหลังถูกเรี ยกว่ากลุ่มคนเสื้ อเหลือง) เมื่อปี
พ.ศ. 2548 ทาให้เกิ ดการวิพากษ์วิจารณ์และสนทนาในประเด็นทางการเมืองมากขึ้น จุดศูนย์กลาง
ของฝ่ ายต่อต้าน พ.ต.ท. ทักษิณ ชิ นวัตร อยู่ที่เว็บไซด์ผจู้ ดั การออนไลน์ (www.manager.co.th) ซึ่ ง
ช่ วงแรกว่าตัวเป็ นหนังสื อพิมพ์ออนไลน์ของเครื อผูจ้ ดั การ แต่หลังจากเครื อผูจ้ ดั การกลายเป็ นคู่
ขัดแย้งกับรัฐบาลของพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตรโดยตรง เว็บไซด์ผจู้ ดั การออนไลน์ได้ขยายบทบาทมา
เป็ นเว็บ ไซด์ ส าหรั บ รณรงค์ท างการเมื อง และเป็ นช่ องทางการสื่ อสารหลัก ของกลุ่ ม พันธมิ ต ร
ประชาชนเพื่อประชาธิ ปไตย ควบคู่ไปกับสถานี โทรทัศน์ ผ่านดาวเทียม ASTV โดยมีการเชื่ อม
เนื้ อหากันระหว่างสื่ อหลายชนิ ด เช่ น นาคลิ ปวิดีโอจาก ASTV หรื อการชุ มนุ มของพันธมิตรฯ
ขึ้นมาเผแพร่ ซ้ าบนเว็บไซด์ผจู ้ ดั การออนไลน์ รวมไปถึงยังเปิ ดให้ผอู้ ่านแสดงความเห็น (comment)
ที่ทา้ ยข่าวแต่ละชิ้น ซึ่ งมีรูปแบบคล้ายกับกระดานสนทนาอีกด้วย55

54
โครงการศึกษา “สื่ อใหม่” ในวิกฤติความขัดแย้งทางการเมือง, “สื่อออนไลน์ ” BORN TO BE DEMOCRACY,
กรุ งเทพฯ : สานักพิมพ์ PRACHATAI BOOKCLUB, 2554, หน้า 11 – 16.
55
ชาญชัย, อ้างแล้ว
44

ส่ วนฝ่ ายสนับสนุน พ.ต.ท.ทักษิณ ไม่มีเว็บไซด์ที่เป็ นกลุ่มก้อนมากนักในช่วงแรก มักอาศัย


กระดานสนทนาออนไลน์เพื่อแลกเปลี่ยนประเด็นกันมากกว่า โดยจุดศูนย์กลางอยูท่ ี่โต๊ะราชดาเนิน
ของ Pantip.com และเกิดการปะปะกันทางความคิดกับฝ่ ายที่ต่อต้าน จนสุ ดท้ายแล้วฝ่ ายที่ต่อต้านได้
ย้ายออกไปตั้งเว็บไซด์ของตัวเอง เช่ น เว็บบอร์ ดเสรี ไท นอกจาก Pantip.com แล้ว ยังมีกระดาน
สนทนาอื่นๆ เช่น เว็บไซด์ของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน กลุ่มคนผ่านฟ้ า กลุ่มวายุภกั ดิ์ เป็ นต้น
หลังเหตุการณ์รัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ.2549 เว็บไซด์ Pantip.com ได้ตดั สิ นใจปิ ด
บริ การโต๊ะราชดาเนิ นเป็ นการชัว่ คราว เป็ นผลให้สมาชิ กของโต๊ะราชดาเนินกระจายกันไปอยู่ตาม
เว็บไซด์เฉพาะกลุ่มขนาดเล็กหลายแห่ง เช่น เว็บบอร์ดของหนังสื อพิมพ์ของหนังสื อพิมพ์ประชาไท
, เว็บบอร์ ดของสานักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน เป็ นต้น56
เนื่ องจากบรรยากาศในการสื่ อสารทางการเมืองช่ วงรัฐบาลทหารของพล.อ.สุ รยุทธ์ จุลา
นนท์ เต็มไปด้วยความหวาดระแวง สื่ อแบบดั้งเดิม เช่น โทรทัศน์และหนังสื อพิมพ์ มีการเซ็นเซอร์
เนื้ อหากันเองก่อนพิมพ์ รวมถึ งการเคลื่อนไหวในภาคสนามของกลุ่มที่ต่อต้านรัฐบาลถูกจากัดวง
ด้วยมาตรการต่างๆ ทาให้กลุ่มที่มีอุดมการณ์ทางการเมืองต่อต้านรัฐบาล หันมาใช้เว็บไซด์ที่เป็ น
อิสระเพื่อเป็ นช่องทางใหม่ในการสื่ อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร นัดพบ ถ่ายทอดไฟล์เสี ยงและ
วิดีโอของการชุ มนุ มในบางพื้นที่ผา่ นระบบ Shoutcast ซึ่ งในกรณี น้ ี รวมถึงการเคลื่อนไหวของอดีต
นายกรัฐมนตรี พ.ต.ท.ทักษิณ ชิ นวัตรเอง ที่ใช้เว็บไซด์ Hi-Thaksin เป็ นเครื่ องมือสื่ อสารจากนอก
ประเทศ
ฝ่ ายรั ฐบาลได้โต้ตอบด้วยมาตรการเซ็ นเซอร์ อินเทอร์ เน็ ต ซึ่ ง มี ท้ งั ในเชิ ง กฎหมายผ่า น
ประกาศคณะรั ฐ ประหาร, พรบ.ว่ า ด้ว ยการกระท าความผิ ด เกี่ ย วกับ คอมพิ ว เตอร์ พ.ศ.2550
จนกระทัง่ ถึ งรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ในปี พ.ศ. 2553 ยังได้บงั คับใช้พ .ร.ก.บริ หารราชการใน
สถานการณ์ฉุกเฉิ นเพื่อปิ ดเว็บไซด์ วิทยุชุมชน เคเบิลทีวีจานวนมากในระหว่างการชุมนุมของกลุ่ม
คนเสื้ อแดง เดื อนเมษายน – พฤษภาคม พ.ศ. 2553 ทางออกของคนเหล่านี้เลือกใช้ อาทิ การฝาก
คลิปวิดีโอไว้บนยูทูป (Youtube.com) ใช้เว็บบล็อค (blog) จากต่างประเทศเพื่อสร้างเว็บไซด์ เป็ น
ต้น

56
กานต์ ยืนยง, Cyber Citizen’s Migration, http://www.slideshare.net/sikkha/cyber-citizens-migration
45

อย่างไรก็ตาม ในท่ามกลางสถานการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองนี้ บริ การเครื อข่ายสังคม


ออนไลน์ (Social Network)ได้รับความนิ ยมมากขึ้นในช่ วงหลังปี พ.ศ. 2551 โดยบริ การที่ได้รับ
ความนิ ยมได้แก่ ทวิตเตอร์ และเฟซบุ๊ก บริ การทั้งสองอย่างถูกนามาใช้ในกิ จกรรมทางการเมือง
ในช่ วงปี พ.ศ. 2552 ความเคลื่ อนไหวหลักอยู่ที่บญ
ั ชี ทวิตเตอร์ ของอดี ตนายกรัฐมนตรี พ.ต.ท.
ทักษิณ ชินวัตร (@thaksinlive) และนายกรัฐมนตรี ในตาแหน่ง ณ ขณะนั้น คือ นายอภิสิทธิ์ เวชชา
ชีว (@pm_abhisit)
เฟซบุ๊ก เริ่ มได้รับความนิ ยมสาหรับการใช้งานในทางการเมืองช่ วงการชุ มนุ มเมษายน –
พฤษภาคม พ.ศ. 2553 โดยช่วงแรกเกิดปรากฎการณ์รวมกลุ่มกันของผูใ้ ช้เฟซบุ๊กเพื่อสนับสนุนหรื อ
ต่อต้านนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และเกิดปรากฎการณ์ “ล่าแม่มด” โดยกลุ่มผูส้ นับสนุนรัฐบาลได้นา
ข้อความของผูต้ ่อต้านรัฐบาลมาประจาน หรื อเป็ นหลักฐานส่ งเจ้าหน้าที่ตารวจในข้อหาหมิ่นพระ
บรมเดชานุภาพ57 และยังถูกใช้เป็ นช่ องทางในการระดมผูค้ นเพื่อร่ วมการชุ มนุ ม ทั้งฝ่ ายสนับสนุ น
และต่อต้านรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เช่ น การเคลื่อนไหวของกลุ่มเสื้ อหลากสี ที่นาโดย นพ.ตุลย์
สิ ทธิสมวงค์ และกลุ่มวันอาทิตย์สีแดง ที่นาโดยนายสมบัติ บุญงามอนงค์ เป็ นต้น
อุบลรั ตน์ ศิริยุวศักดิ์58 กล่าวใน “พูดถึงนิ วมีเดีย พูดถึงสิ ทธิ ในการสื่ อสาร” ไว้วา่ สื่ อใหม่
สะท้อนภาวะปั ญหาของการสื่ อสารในสังคมไทย 2 ประการ คือ พื้นที่สาธารณะทางการเมืองและ
เสรี ภ าพในการสื่ อ สาร และได้อ ธิ บ ายถึ ง ปรากฏการณ์ ที่ นิว มี เ ดี ย ได้ส ะท้อ นออกมาให้เ ห็ น ว่า
ประเด็นพื้นที่ สาธารณะสาหรั บข้อมูลข่าวสารและการแสดงความคิดเห็ นทางการเมืองในสื่ อใน
ระบบปั จจุ บ นั มี ปัญหา อันนาไปสู่ การเปิ ดพื้นที่ใ หม่ แสวงหาพื้ นที่ การสื่ อสารใหม่ โดยไม่ รีรอ
สื่ อมวลชนกระแสหลักเดิ มๆ เอื้ อเฟื้ อพื้นที่ให้อีกต่ อไป แต่ นั่นก็ ไม่ไ ด้หมายความว่า สื่ อใหม่จะ
แทนที่สื่อกระแสหลักขนานแท้และดั้งเดิมเสี ยทีเดียว
ในประเด็นพื้นที่สาธารณะนี้ ยังคงจากัดอยู่กบั กลุ่มชนชั้นกลางซึ่ งเป็ นฐานของสื่ อหลักอยู่
อย่างเดิม หมายความว่า พื้นที่ในโลกออนไลน์ แม้จะเป็ นพื้นที่ใหม่ แต่ก็ไม่ใช่พ้ืนที่สาหรับคนไม่มี
ปากไม่มีเสี ยง หรื อ Voice of Voiceless หากแต่เป็ นพื้นที่ที่เพิ่มช่องทางการสื่ อสารให้กบั คนกลุ่มเดิม
ที่มีความสามารถเข้าถึงช่องทางการสื่ อสารอื่นอยูแ่ ล้ว

57
เชกูวารา (นามปากกา) ลัทธิล่าแม่ มดใหม่ ในค.ศ. 2010 http://biolawcom.de/blog/914/Witch-Hunter-Online-in-
Facebook-in-Thailand.html
58
เพิ่งอ้าง, หน้า 26 – 34.
46

ประเด็นที่สาคัญที่เป็ นใจกลางของปั ญหาสิ ทธิ เสรี ภาพในสังคมไทย ซึ่ งโลกออนไลน์กาลัง


เปิ ดพื้นที่ให้ก็คือ สิ ทธิ ในการสื่ อสาร ซึ่ งหมายถึ ง สิ ทธิ ในการรับรู้ขอ้ มูลข่าวสารและสิ ทธิ ในการ
แสดงความคิดเห็น ซึ่ งเป็ นสิ ทธิ ที่แม้วา่ รัฐจะยอมรับในหลักการ แต่ในทางปฏิบตั ิ รัฐไม่ได้เปิ ดให้มี
การใช้สิทธิได้จริ งในหลายๆ เรื่ อง
สมบัติ บุญงามอนงค์ 59 กล่าวใน “เฟซบุก๊ ในไทย คือ พื้นที่ต่อสู้ออนไลน์ที่ดุเดือดที่สุดแห่ ง
หนึ่ งของโลก” ไว้ว่า วิถีทางของเฟซบุ๊ก คือคาตอบของอนาคต เพราะมันเป็ นพื้นที่ก่ ึ งส่ วนตัวกึ่ ง
สาธารณะ มันสามารถสร้ างความเป็ นเฉพาะกลุ่ มและยังสามารถดารงความเป็ นตัวของตัวเองได้
ขณะเดี ย วกัน วัน ที่ คุ ณ อยากให้ ม ัน เป็ นสาธารณะ เมื่ อ มัน มี ศ ัก ยภาพมัน ก็ จ ะแสดงความเป็ น
สาธารณะได้ วิถีทางของเฟซบุก๊ สอดคล้องกับวิถีของเขามาก ในฐานะองค์กรที่ตอ้ งการสื่ อสารความ
เป็ นสาธารณะและปลดปล่อยความเป็ นปั จเจก เพราะมันมีความเป็ นมนุ ษย์และทาให้มีอารมณ์ได้
ด้วย และเขาได้มองว่า เฟซบุ๊กจะเติบโตขยายเป็ นสาธารณะแน่ นอน มันจะทาให้เกิ ดการสนทนา
เกิดการปะปนกันมากขึ้น ทาให้เรื่ องต่างๆ ไหลไปได้ไกลมาก มันถูกส่ งต่อและสามารถสื บเชื่อมโยง
ไปที่แหล่งของมันได้ ซึ่ งเป็ นการพาดเครื อข่ายหลายๆ ชั้นขึ้นอย่างซับซ้อน เป็ นเครื อข่ายทางสังคม
ที่จะมีบทบาทมาก และพื้นที่ออนไลน์ในเมืองไทยอาจจะก้าวหน้ามากหรื ออาจจะเป็ นพื้นที่ที่รบ
ดุเดือดมากที่สุดแห่ งหนึ่ งในโลก ขนาดที่รัฐได้บล็อกเฟซบุ๊ก หรื อปิ ดเว็บไซด์ติดอันดับโลก ดังนั้น
สงครามไซเบอร์ ในประเทศไทยไม่ใช่เรื่ องเล็ก ๆ แต่เป็ นเรื่ องที่ซบั ซ้อน อาจจะเป็ นพื้นที่ที่เหมาะแก่
การท าวิจยั และที่ ส าคัญอานาจของการสื่ อสารออนไลน์ เป็ นการขับเคลื่ อนภายใต้แนวคิ ดของ
“แกนนอน” ที่ขยับสู่ พ้ืนที่ออฟไลน์
พิชญ์ พงษ์ สวัสดิ์60 กล่าวใน “อินเทอร์ เน็ต คือ ป่ าออนไลน์ขนาดใหญ่” ว่า การศึกษาวิจยั
พฤติกรรมการใช้สื่อออนไลน์จะช่วยนาไปสู่ การสร้างสิ่ งใหม่ๆ ซึ่ งในยุคแรกๆ อาจจะไม่มีคนคิดว่า
สื่ อออนไลน์เป็ นการสื่ อสารสองทาง (interactive) เพราะถูกกาหนดโดยผูน้ าเสนอเนื้ อหาแต่เพียง
ฝ่ ายเดี ยว แต่ปัจจุบนั นี้ ได้เปลี่ ยนไปแร้ว ซึ่ งการเปลี่ยนแปลงต้องเกิ ดจากการศึกษาพฤติกรรมแล้ว
ปรับเปลี่ยนตัวสื่ อในเชิงเทคโนโลยีให้ครอบคลุมมากขึ้น โดยสื่ อออนไลน์ในระยะสั้นอาจจะมีความ
รุ นแรง แต่ภายใต้สังคมที่มีความอดทนเพียงพอ อดทนยอมรับความแตกต่างได้มากขึ้น ในระยะยาว

59
เพิ่งอ้าง, หน้า 44 – 51.
60
เพิ่งอ้าง, หน้า 76 – 85.
47

ก็อาจจะเกิดเหตุผลร่ วมกันได้ และที่สาคัญ online และ offline เชื่อมโยงกัน ต้องเดินไปด้วยกัน ไม่


สามารถแยกขาดได้ เพราะพื้นที่ออนไลน์อยูใ่ นฐานะที่เป็ นตัวจักรในการทาให้เกิดกระบวนการทาง
สังคม หากพลังจะเกิดขึ้นก็ตอ้ งทาในโลกออฟไลน์ดว้ ยจึงจะได้ผล
ในยุคแรกของเฟซบุ๊ก หรื อสื่ อทางสังคมใหม่ๆ เกิ ดจากการหวนราลึกอยากมีชุมชนของ
ตัวเอง เป็ นเครื่ องมื อในการเชื่ อมโยงคนซึ่ ง ห่ า งจากกัน แต่ สิ่ ง หนึ่ ง ที่ เชื่ อมโยงเข้า ไว้ด้วยกันคื อ
มิตรภาพและความเชื่อถือ แต่พอประเด็นทางการเมืองแทรกเข้ามา กลับทาให้เกิดการแบ่งสิ่ งเหล่านี้
ออกจากกัน สิ่ งที่น่าสนใจคือ เพื่อนของเราคิดไม่เหมือนเราในทางการเมือง ซึ่ งทาให้ตอ้ งย้อนกลับ
ไปในสิ่ ง เดิ ม ๆ ซึ่ ง สัง คมเราพูดตลอดว่า อย่า พูดเรื่ องการเมื องเลย เพราะเมื่อก่ อนนี้ ก ารพูดเรื่ อง
การเมืองมันเป็ นทางเลือก หมายถึงการเลือกเข้าไปในเว็บบอร์ ดการเมือง แต่ปัจจุบนั การเมืองวิ่งเข้า
มาหาในเฟซบุ๊ก ในเครื อข่ายทางสังคม การเมืองทะลุทะลวงเข้ามาในสื่ อทางสังคมซึ่ งแสดงให้เห็น
ว่า แยกจากความเป็ นส่ วนตัวกับสาธารณะยากแล้ว
ปวิน ชั ชวาลพงศ์ พันธ์ 61 กล่ า วใน “สื่ อออนไลน์ เปลี่ ยนภูมิ ทศั น์ก ารเมื องไทย” ว่า สื่ อ
ออนไลน์ได้เปลี่ ยนแปลงภูมิทศั น์ทางการเมืองทั้งหมด เพราะก่ อนหน้านี้ การแสดงความคิดเห็ น
ทางการเมือง ต้องทาโดยการออกมาเดินบนท้องถนน ต้องใส่ เสื้ อสี น้ ี ต้องถือธงชาติ เพื่อให้เห็นว่า
เกิดการรวมตัวทางการเมือง ซึ่ งแน่นอนว่ายังคงมีอยู่ แต่สื่อออนไลน์ได้ทาให้พ้ืนที่น้ นั ไม่จากัดอยูแ่ ค่
นั้นแล้ว สื่ อออนไลน์เป็ นศูนย์รวมที่ไม่อยู่ในรู ปกายภาพ แต่เป็ นจิตภาพ (spiritual) และบางทีการ
รวมตัวแบบจิตภาพนี้ มีพลังมากกว่า เพราะเป็ นพื้นที่ที่รวมเอาภาวะอารมณ์ของคน ทาให้คนที่ไม่
กล้าแสดงความเห็ นในทางการเมื องในรู ปกายภาพได้เข้ามามีส่วนร่ วมโดยผ่านสื่ อออนไลน์ ซึ่ ง
กระทาได้ง่ายและสามารถรวมตัวกันได้ง่าย ไม่ตอ้ งใช้งบประมาณเยอะ เคลื่อนไหวได้ง่าย และยาก
ที่รัฐบาลจะต่อสู ้ดว้ ย เพราะหากต่อสู้กนั บนโลกออนไลน์ถา้ จะปิ ดเซิฟเวอร์ก็สามารถเปิ ดใหม่ได้
ข้อ ดี ข องสื่ อออนไลน์ คื อ ท าให้ เ กิ ด ความโปร่ ง ใสมากขึ้ นในกระบวนการพัฒ นา
ประชาธิปไตย เพราะจากที่ฝ่ายรัฐบาล ฝ่ ายค้าน ที่เคยเล่นการเมืองแบบหลังฉาก แต่พอกลายมาเป็ น
ประเด็นออนไลน์ ทุกคนสามารถเข้าถึง ทาให้เกิดระบบตรวจสอบซึ่ งกันและกัน แต่สื่อออนไลน์ก็
เป็ นดาบสองคมที่อาจกลายเป็ นเครื่ องมือในการทาลายฝ่ ายตรงข้ามและเป็ นเครื่ องมือที่ทรงพลังมาก
และที่สาคัญ สื่ อออนไลน์ได้เปิ ดตาประชาชน สร้ างความตระหนักรู้ (Awareness) และจิตสานึ ก

61
เพิ่งอ้าง, หน้า 88 – 96.
48

(Consciousness) ให้ป ระชาชนเข้า มามี บทบาทมาแสดงความคิดเห็ น ในประเด็นที่ตนเองไม่ เคย


ได้รับโอกาสให้แสดงความคิดเห็น
มานะ ตรี รยาภิวัฒน์ 62 กล่าวใน “โลกอนาคตที่ไม่มีการผูกขาดความจริ ง” ว่า นิ วมีเดี ย
หมายถึง สื่ อดิจิทลั ซึ่ งเป็ นเว็บไซด์แบบ 2.0 คือ เป็ นยุคที่ผรู้ ับสารสามารถเป็ นผูผ้ ลิตเนื้ อหาและ
เผยแพร่ เองได้ดว้ ย อีกทั้งยังสามารถมีปฎิสัมพันธ์กนั ได้ระหว่างผูบ้ ริ โภคและผูผ้ ลิต เมื่อผูบ้ ริ โภค
โดยเฉพาะชนชั้นกลางสามารถส่ งสารได้มากขึ้น เรื่ องหรื อเหตุการณ์หนึ่ งๆ จึงไม่ได้มีความจริ งชุ ด
เดียวอีกต่อไป พูดอีกอย่างหนึ่งคือ ไม่มีใครผูกขาดความจริ งได้ง่าย และทางออกมีเพียงอย่างเดียวคือ
ทาอย่างไรเราจึงจะยอมรับว่า มันอาจมีความจริ งที่หลากหลายมากกว่าความจริ วหนึ่ งเดียว เพราะ
เทคโนโลยีมนั เปิ ดพื้นที่ให้กบั คนจานวนมากสามารถให้ขอ้ มูล ทัศนคติ ความเห็นที่หลากหลายขึ้น
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในอนาคตอันใกล้น้ ี เครื่ องมืออย่างนิ วมีเดียหรื อโซเซี ยลมีเดียจะขยายตัวทัว่ ถึง
มากขึ้น ไม่ใช่ของชนชั้นกลางเท่านั้น คนชั้นล่างก็จะมีโอกาสให้มนั สื่ อสารได้มากขึ้น ซึ่ งจะยิ่งเพิ่ม
พลังหรื อเปิ ดความจริ งได้อีกมากมายหลายชุด และอาจจะท้าทายสังคมไทยหนักกว่าเดิม

(2) การศึกษาและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วกับการใช้ สื่ออินเทอร์ เน็ตในการรณรงค์ หาเสี ยง


ยุทธพร อิสระชั ย 63 ทาการศึกษาเรื่ องอิ นเตอร์ เน็ ตกับ การเมืองไทย พบว่า อินเตอร์ เน็ ต
สามารถสร้างการรับรู ้ทางการเมืองและการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง โดยจะเห็นจากความถี่
ในการใช้สื่ออินเตอร์ เน็ตในแต่ละเดือนของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า ในแต่ละเดือน กลุ่มตัวอย่างส่ วน
ใหญ่ใช้อินเตอร์ เน็ต 16 – 23 วัน รับรู้ข่าวสารทางการเมืองจากสื่ ออินเตอร์ เน็ตในระดับบ่อย โดยมี
การวิเคราะห์ถึงความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของข่าวสารทางการเมืองที่กลุ่มตัวอย่างได้รับจาก
สื่ ออินเตอร์ เน็ตในระดับบ่อยมาก และมีความเชื่ อถือข่าวสารทางการเมืองจากสื่ ออินเตอร์ เน็ตใน
ระดับพอสมควร นอกจากนั้นยังพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่ วนใหญ่คิดว่า การรับรู้ข่าวสารทางการเมือง
จากสื่ ออิ นเตอร์ เน็ตสามารถร่ วมแสดงความคิดเห็ นผ่านทางเว็บไซด์ (web site) หรื อโปรแกรม
สนทนาต่างๆ ได้ รองลงมาคือ สามารถนาไปวิพากษ์วจิ ารณ์กบั ผูอ้ ื่นได้ และเพียงแค่รับทราบเท่านั้น
และกลุ่มตัวอย่างคิดว่า ข่าวสารของพรรคการเมืองหรื อผูส้ มัครสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรที่ได้รับจาก
62
เพิ่งอ้าง, หน้า 124 – 130.
63
ยุทธพร อิสระชัย, “อินเตอร์ เน็ตกับการเมืองไทย”, วิทยานิ พนธ์ปริ ญญามหาบัณฑิต ภาควิชาการปกครอง บัณฑิต
วิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544.
49

สื่ ออินเตอร์ เน็ตมีผลต่อการตัดสิ นใจเลือกผูส้ มัครสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร วันที่ 6 มกราคม พ.ศ.


2544 ในระดับพอสมควร
นอกจากจะสร้างความรับรู ้ให้กบั ผูร้ ับสารแล้ว ในด้านของผูส้ ่ งสารอย่างผูส้ มัครรับเลือกตั้ง
หรื อพรรคการเมืองต่างๆ ก็สามารถสร้างภาพลักษณ์ทางการเมืองของพรรคการเมืองและผูส้ มัครรับ
เลื อกตั้งได้ดว้ ยอินเตอร์ เน็ต จากการศึกษาพบว่า พรรคที่ใช้สื่ออินเตอร์ เน็ตเป็ นพรรคที่เปิ ดโอกาส
ให้ประชาชนมีส่วนร่ วมกับพรรค พรรคที่ใช้สื่ออินเตอร์ เน็ตเป็ นพรรคที่มีความทันสมัย มีวิสัยทัศน์
ถือได้ว่าเป็ นพรรครุ่ นใหม่ในยุคการปฎิรูปการเมืองตามรัฐธรรมนูญปี พ.ศ. 2540 และเป็ นพรรคที่
บุ คลากรมี ความรู ้ ความสามารถมาก มี ความคิ ดเห็ นในระดับมากต่อประเด็นที่ ว่า พรรคที่ใ ช้สื่ อ
อินเตอร์เน็ตเป็ นพรรคที่ได้ปฏิบตั ิตามนโยบายเผยแพร่ ทางเว็บไซด์ และมีผลงานที่ผา่ นมามาก และ
ผูน้ าพรรคที่ ใ ช้อินเตอร์ เน็ ตเป็ นผูน้ าทางการเมื องแบบประชาธิ ป ไตย ซึ่ งรู้ จกั ใช้เหตุ ผ ลในการ
ตัดสิ นใจแก้ปัญหาและยอมรับฟั งความคิดเห็นของบุคคลอื่น และมีความคิดเห็นในระดับปานกลาง
ต่อประเด็นที่วา่ พรรคที่ใช้สื่ออินเตอร์ เน็ตเป็ นพรรคที่มีความโปร่ งใส ตรวจสอบได้ และพรรคการ
เมืองไทยไม่นิยมใช้สื่ออินเตอร์ เน็ต
ปานหทัย ตันติเตชา64 ทาการศึกษารู ปแบบกลยุทธ์การตลาดแบบครบวงจรของพรรคไทย
รั ก ไทยในการใช้ร ณรงค์ห าเสี ย งเลื อ กตั้ง รวมทั้ง กระบวนการในการวางแผนการใช้สื่ อ และ
กระบวนการนาสื่ อไปใช้เพื่อสร้างภาพลักษณ์ทางการเมือง การเสนอนโยบานของพรรคการเมือง
การเข้าถึงพฤติกรรมความพึงพอใจของประชาชนผูม้ ีสิทธิ เลือกตั้ง ซึ่ งมีส่วนสาคัญในการรณรงค์หา
เสี ยงเลือกตั้งจนได้รับชัยชนะในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรในปี พ.ศ. 2544
ผลการศึ กษาพบว่า พรรคไทยรักไทยมีการใช้สื่อประเภทต่างๆ ที่สอดคล้องกับกลยุท ธ์
การตลาดแบบครบวงจรอย่างเป็ นระบบ ไม่ว่าจะเป็ นการรณรงค์ผา่ นสื่ อมวลชน, สื่ อโทรทัศน์, สื่ อ
วิทยุ, สื่ อหนังสื อพิมพ์และนิ ตยสาร, สื่ อในรู ปแบบกิ จกรรมพิเศษ และสื่ ออินเตอร์ เน็ต ซึ่ งสามารถ
สื่ อภาพลัก ษณ์ ท างการเมื อง, นโยบายของพรรคและสาระต่ า งๆ ที่ พ รรคต้องการสื่ อได้อ ย่า งดี
ถึงแม้ว่าพรรคไทยรักไทยจะได้รับชัยชนะในการเลือกตั้งและเป็ นแกนนาในการจัดตั้งรัฐบาล แต่

64
ปานหทัย ตันติเตชา, “ การตลาดทางการเมือง : ศึกษาเฉพาะกรณี การใช้สื่อในการรณรงค์หาเสี ยงเลือกตั้งของพรรค
ไทยรักไทย ในเขตกรุ งเทพมหานคร ”, วิทยานิพนธ์ปริ ญญามหาบัณฑิต ภาควิชาการปกครอง บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, 2546
50

ปั จจัยด้านกลยุทธ์ในการสื่ อสารการตลาดทางการเมืองแบบครบวงจรนี้ก็ไม่ใช่ปัจจัยหลักเพียงปั จจัย


เดียวในความสาเร็ จของพรรคไทยรักไทย
ชมพูนุท สุ ขศรีมั่งมี65 ทาการศึกษาเรื่ อง การศึกษาเปรี ยบเทียบกลยุทธ์หาเสี ยงเลือกตั้งเป็ น
ผูว้ ่าราชการกรุ งเทพมหานครของนายสมัคร สุ นทรเวช กับ นางสุ ดารัตน์ เกยุราพันธุ์ ปี พ.ศ. 2543
ผลการศึกษาพบว่า อินเทอร์ เน็ตเป็ นช่องทางหนึ่งในการเข้าถึงกลุ่มผูม้ ีสิทธิ์ เลือกตั้งได้มากที่สุด โดย
เป็ นการแสดงถึงความทันสมัยทันโลกเทคโนโลยีของพรรคการเมืองและผูส้ มัคร ซึ่ งการหาเสี ยง
โดยใช้ อิ น เทอร์ เ น็ ต มี ข ้อ ได้ เ ปรี ยบคื อ ประชากรส่ ว นใหญ่ ที่ ใ ช้ อิ น เทอร์ เ น็ ต กระจุ ก ตัว อยู่ ที่
กรุ งเทพมหานคร จากจานวนผูใ้ ช้อินเทอร์ เน็ตทั้งประเทศในปี 2543 ประมาณ 1,200,000 คน กว่า
ร้อยละ 70 หรื อประมาณ 840,000 คนอยูใ่ นกรุ งเทพมหานคร ในจานวน 8 แสนกว่าคนนั้นเป็ นผูม้ ี
สิ ทธิ ลงคะแนนเสี ยงเลื อกตั้งประมาณร้อยละ 85 คือ ประมาณ 715,000 คน ซึ่ งเท่ากับ ร้อยละ 20
ของผูม้ ีสิทธิ เลือกตั้งทั้งหมด (3,817,456 คน) และวัยของคนกลุ่มนี้อยูใ่ นช่วงระหว่างเกือบๆ 20 – 30
ปี เศษๆ ซึ่ งคนรุ่ นนี้ ไม่เคยผ่านสถานการณ์ ที่ เสรี ภาพทางการเมืองถูก บีบคั้นมาก่ อน จึง ไม่ค่อยมี
ทัศนคติทางการเมืองที่เด่นชัดนัก พร้อมจะเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา ถ้าใครสามารถแสดงให้เห็น
ว่าสามารถนาพาพวกเขาไปในทิศทางที่พวกตนต้องการได้ คนกลุ่มนี้อยูน่ อกเหนือการจัดตั้ง เพราะ
ส่ วนใหญ่จะเป็ นพวกที่มีการศึกษา ซึ่ งคนกลุ่มนี้ เป็ นกลุ่มที่น่าหาเสี ยงมากที่สุดและเป็ นกลุ่ มที่ใช้
อินเทอร์ เน็ตมากที่สุด ทาให้การหาเสี ยงทางอินเทอร์ เน็ตถือได้ว่าเป็ นกลยุทธ์ใหม่ที่เป็ นประโยชน์
ต่อผูส้ มัครมาก เพราะสามารถสื่ อสารได้ 2 ทางระหว่างผูส้ มัครและประชาชนผ่านทางอินเทอร์เน็ต

(3) การศึกษาและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วกับแนวคิดการครองอานาจ (Hegemony)


วัชรพล พุทธรั กษา66 ทาการศึกษาเรื่ อง รัฐบาลทักษิณกับความพยายามสร้ างภาวการณ์
ครองอานาจนา พบว่า สามารถอธิ บ ายการดาเนิ นการสร้ างภาวะการครองอานาจนาของรัฐบาล
ทักษิณได้ด้วยการเริ่ มต้นการอธิ บายที่การมอง “รัฐบาลทักษิณ” ซึ่ งเป็ นหน่ วยในการวิเคราะห์ใน

65
ชมพูนุท สุ ขศรี มง่ั มี, “ การศึกษาเปรี ยบเทียบกลยุทธ์การรณรงค์หาเสี ยงเลือกตั้งเป็ นผูว้ า่ กรุ งเทพมหานครของนาย
สมัคร สุ นทรเวช กับ นางสุ ดารัตน์ เกยุราพันธุ์ ”, วิทยานิ พนธ์ปริ ญญามหาบัณฑิต ภาควิชาการปกครอง บัณฑิตวิทยาลัย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546
66
วัชรพล พุทธรักษา, รัฐบาลทักษิณกับความพยายามสร้ างภาวะการครองอานาจนา, วิทยานิพนธ์ปริ ญญามหาบัณฑิต
ภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549.
51

ฐานะที่เป็ น “กลุ่มผูด้ าเนิ นการสร้างภาวะการครองอานาจนา” ว่าได้มีการดาเนินการทาสงครามยึด


พื้นที่ทางความคิดกับผูค้ นในสังคมตลอดระยะเวลา 5 ปี ของการครองอานาจนา โดยการทาสงคราม
ยึดพื้นที่ทางความคิดเพื่อสร้ างกลุ่มประวัติศาสตร์ ให้เกิ ดขึ้นดาเนิ นการโดยอาศัยกลไกต่างๆเป็ น
เครื่ องมื อในการยึดกุมพื้นที่ ทางสังคมทั้งสอง โดยกลไกที่ก ลุ่ มผูด้ าเนิ นการครองอานาจนาหรื อ
รัฐบาลทักษิณได้นามาใช้น้ นั ประกอบไปด้วยกลไกสองส่ วนด้วยกัน ส่ วนแรก กลไกที่ทาหน้าที่ใน
การก่อให้เกิดการยอมรับจากผูค้ นในสังคมและทาให้เกิดความยินยอมพร้อมใจกันโดยดุษฎีเรี ยกว่า
“กลไกการครองอานาจนา” ขณะที่กลไกอีกส่ วนหนึ่ งเป็ นกลไกที่มีลกั ษณะของการใช้อานาจบีบ
บังคับ มีการใช้อานาจรัฐอย่างเป็ นทางการ
กลไกการครองอานาจนาประกอบไปด้วยกลไกหลั ก คื อ กลไกนโยบายและกลไกการ
จัดการภาพลักษณ์ของผูน้ า โดยกลไกนโยบายจาแนกได้เป็ นสองลักษณะที่สาคัญ คือ นโยบายเชิ ง
เศรษฐกิจและนโยบายเชิงสังคม ในส่ วนของนโยบายเชิงเศรษฐกิจที่สาคัญ ได้แก่ โครงการพักชาระ
หนี้เกษตรกร 3 ปี และการลดภาระหนี้ โครงการหนึ่ งตาบลหนึ่ งผลิตภัณฑ์ หรื อ OTOP ธนาคารคน
จน ธนาคารประชาชน/ธนาคาร SME การจัดตั้งกองทุนหมู่บา้ น หมู่บา้ นละ 1 ล้าน และนโยบาย
แปลงสิ นทรัพย์เป็ นทุน เป็ นต้น ส่ วนนโยบายเชิงสังคมที่สาคัญ ได้แก่ โครงการประกันสุ ขภาพถ้วน
หน้า “30 บาทรักษาทุกโรค” โครงการบ้าน/คอมพิวเตอร์ /แท็กซี่ เอื้ออาทร และโครงการเอื้ออาทร
อื่นๆ การประกาศสงคราม 3 อย่างของรัฐบาลเพื่อเอาชนะความยากจน การทุจริ ต และยาเสพติด การ
ปราบปรามผูม้ ีอิทธิ พล การจัดระเบียบสังคม นโยบายแก้ปัญหาสังคมและความบากจนเชิ งบูรณา
การ (ลงทะเบี ย นคนยากจน) นโยบายเหนื อเมฆ SML และปฎิ รูปการศึก ษา หนึ่ งอาเภอ หนึ่ ง
โรงเรี ยนในฝัน เป็ นต้น
ส่ วนการจัดการภาพลัก ษณ์ ข องผูน้ านั้น เป็ นกลไกที่ ถู ก น ามาใช้เพื่ อยึดครองพื้นที่ ท าง
ความคิ ดของผูค้ นในสั ง คม กล่ าวคื อ เป็ นการท าให้ผูค้ นทัว่ ไปมี มุ ม มอง หรื อมี โลกทัศน์ที่ มี ต่อ
รัฐบาลทักษิ ณโดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อตัวของผูน้ ารัฐบาล คือ พ.ต.ท.ทักษิณ ชิ นวัตร ตามที่รัฐบาล
ต้องการ กลไกดังกล่าวได้ดาเนินการใช้เพื่อสร้างให้ประชาชนมองว่ารัฐบาลทักษิณเป็ นผูม้ ีวิสัยทัศน์
ที่กว้างไกล เป็ นผูม้ ีมีตวั ตนเรี ยบง่ายและเป็ นกันเอง และเป็ นผูม้ ีภาวะผูน้ าสู ง นอกจากนี้ กลไกการ
จัดการภาพลักษณ์ของผูน้ ายังถูกใช้เป็ นเครื่ องมือในการบรรเทากระแสกดดัน/โจมตีรัฐบาลจากกรณี
ปั ญหาต่างๆ ได้ดว้ ยการเบี่ยงเบนประเด็นความสนใจจากสังคมอีกด้วย กลไกการจัดการภาพลักษณ์
52

ที่ สาคัญที่ ถูกนามาใช้ เช่ น การสร้ างภาพลักษณ์ ของการเป็ นนักบริ หาร การเป็ นเจ้าภาพประชุ ม
APEC เพื่อแสดงให้เห็นถึงความสามารถในการจัดงาน และการได้รับการยอมรับจากต่างชาติ การ
ให้ขอ้ มูลกับประชาชนว่ารัฐบาลทักษิณสามารถชาระหนี้ กองทุนการเงินระหว่างประเทศได้ก่อน
กาหนด รวมถึงการเดินสายพบปะประชาชนในพื้นที่ดว้ ยการจัดทัวร์นกขมิ้น เป็ นต้น
ขณะเดี ย วกัน รั ฐบาลทัก ษิ ณ ก็ ไ ด้ดาเนิ น กลไกรั ฐเป็ นเครื่ อ งมื อ ในการเสริ ม สร้ า งความ
เข้มแข็งแก่รัฐบาล รวมไปถึงการสร้างความยอมรับจากสังคมด้วยลักษณะของการบังคับ ประกอบ
ไปด้วย การเพิ่มจานวนที่นง่ั ในสภาผูแ้ ทนราษฎรเพื่อเลี่ ยงการตรวจสอบ การใช้ความเข้มแข็งให้
เป็ นประโยชน์ในการผ่านร่ างกฎหมายและการแทรกแซงองค์กรที่สัมพันธ์กบั อานาจรัฐต่างๆ ได้แก่
การแทรกแซงการทางานขององค์กรอิสระตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ 2540 องค์กรต่างๆ การ
แทรกแซงสื่ อมวลชน และการเข้าไปมีบทบาทเหนือระบบราชการและกองทัพ เป็ นต้น
รั ฐบาลทัก ษิ ณ ได้ดาเนิ น การใช้ก ลไกการครองอานาจนาควบคู่ ก ัน ไปกับ กลไกรั ฐ เป็ น
เครื่ องมือในการทาสงครามยึดพื้นที่ทางความคิด เพื่อเป็ นการสร้างความเข้มแข็งให้แก่รัฐบาลเอง
และสร้ างการยอมรับ รวมถึงการสร้างความรู้สึกเห็นพ้องร่ วมกันของผูค้ นส่ วนใหญ่ในสังคม การ
ครองอานาจนาที่ ส มบูรณ์ จะเกิ ดขึ้ นได้เมื่ อรั ฐบาลทักษิ ณสามารถสร้ า งกลุ่ ม ประวัติศาสตร์ หรื อ
สามารถยึด ครองสั ง คมเหนื อโครงสร้ า งสัง คมทั้ง ส่ ว นบนและส่ วนล่ า งขึ้ นมาได้ส าเร็ จ แต่ จาก
การศึกษาพบว่า รัฐบาลทักษิณนั้นไม่สามารถสร้างภาวะการครองอานาจนาอย่างสมบูรณ์ให้เกิดขึ้น
ได้ ทั้งนี้ เพราะรั ฐบาลไม่สามารถดาเนิ นการยึดกุมพื้นที่ประชาสังคมได้อย่างสมบูรณ์ แม้กลไก
นโยบายจะสามารถสร้างการยอมรับและครองใจผูค้ นในสังคมได้ในระดับหนึ่ ง และแม้วา่ รัฐบาล
ทัก ษิ ณ จะสามารถยึด กุ ม พื้ นที่ สั ง คมการเมื องได้ก็ ตาม แต่ รั ฐบาลทัก ษิ ณไม่ ส ามารถสร้ า งกลุ่ ม
ประวัติศาสตร์ ได้สาเร็ จ เป็ นผลให้ภาวะการครองอานาจนาที่สมบูรณ์ ไม่เกิ ดขึ้นในช่ วงเวลาการ
ครองอานาจของรัฐบาลทักษิณ โดยสิ่ งบ่งชี้ที่สาคัญนั้นคือ การปรากฏขึ้นของกลุ่มพลังต่างๆจากชน
ชั้นที่ต่างกันในสังคมที่ดาเนินการตอบโต้การครองอานาจนาของรัฐบาลทักษิณ คือ กลุ่มปั ญญาชน/
นักวิชาการ สื่ อมวลชน กลุ่ มการเมืองภาคประชาชน และกลุ่ ม การเมื องอื่ นๆ ซึ่ ง การดาเนิ นการ
โต้ตอบต่อการครองอานาจนาของกลุ่มพลังต่างๆ จากชนชั้นต่างๆ นั้นเป็ นการแสดงให้เห็นว่า การ
ดาเนิ นการใช้กลไกต่าง ๆ ทั้งกลไกการครองอานาจนาและกลไกรัฐนั้นไม่สมบูรณ์แบบ เพราะยังมี
ผูค้ นอีกจานวนหนึ่งในสังคมตระหนักรู้ได้ถึงการครอบครองความคิดโดยรัฐบาลทักษิณ การออกมา
53

แสดงพลังด้วยวิธีการต่างๆ จึงเป็ นการทาให้รัฐบาลทักษิณรู้ได้วา่ ในพื้นที่ประชาสังคมนั้นยังสร้าง


การยอมรับโดยดุษฎีจากประชาชนไม่สาเร็ จ
ชนิดา ชิตบัณฑิตย์ 67 ทาการศึกษาเรื่ อง โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ : การสถาปนา
พระราชอ านาจนา (พ.ศ. 2494-2546) โดยปรั บ ปรุ งมาจากวิท ยานิ พ นธ์ ระดับปริ ญญาโท สาขา
มานุ ษยวิทยาในปี พ.ศ. 2547 พบว่า โครงการพระราชดาริ เป็ นปฏิบตั ิการทางสังคมที่มีอุดมการณ์
บรรจุอยู่ภายใน โดยปฏิ บตั ิการของโครงการพระราชดาริ ประกอบไปด้วยการผลิตระบบความคิด
และปฏิบตั ิการที่เป็ นรู ปธรรม โดยลักษณะเฉพาะของอุดมการณ์และปฏิบตั ิการทางอุดมการณ์ที่ถูก
ผลิตขึ้นผ่านโครงการพระราชดาริ แบ่งออกได้เป็ น 4 ช่ วง ได้แก่ ช่วงที่ 1 ยุคก่อกาเนิด ได้แก่ การ
ดาเนิ นโครงการพระราชดาริ ในช่วงปี พ.ศ. 2494 – 2500 ช่วงที่ 2 ยุคการพัฒนาเพื่อความมัน่ คง
ในช่วงปี พ.ศ. 2501 – 2523 ช่วงที่ 3 ยุคกาเนินองค์กรประสานงาน ในช่วงปี พ.ศ. 2524 – 2530 และ
ช่วงที่ 4 ยุคกาเนิดองค์กรเอกชน เพื่อสนับสนุนการดาเนินงานในช่วงปี พ.ศ. 2531 – 2546
กระบวนการสถาปนาพระราชอานาจนา หมายถึ ง กระบวนการที่พ ระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยูห่ วั ทรงสามารถสร้าง และรักษาสถานภาพนาเหนือรัฐและชาติ เนื่องจากทรงสามารถแสดงตัว
ว่าเป็ นตัวแทนที่ดารงสถานภาพสู งสุ ดในการตอบสนองผลประโยชน์และความต้องการของชนชั้น
หรื อกลุ่ มทางสังคมอื่ นๆ นอกจากนี้ การสถาปนาพระราชอานาจนาเป็ นเงื่ อนไขที่ทรงทาหน้าที่
เสมือนเป็ นปั ญญาชนในฐานะผูใ้ ห้การศึกษา ผูจ้ ดั ตั้งเชื่อมโยง และผูน้ า ทั้งในมิติการเมือง เศรษฐกิจ
สังคมวัฒนธรรม รวมไปถึงแนวความคิดและวิถีทางใน “การพัฒนา” ผ่านการสร้างสายสัมพันธ์กบั
กลุ่มต่างๆ ในสังคมผ่านปฏิบตั ิการของโครงการพระราชดาริ ทั้งนี้ กระบวนการในการธารงรักษา
ความเหนื อกว่าในการครองอานาจนานั้น กระทาผ่านการดาเนินการในหลายลักษณะผ่านการสร้าง
“กลุ่มทางประวัติศาสตร์ ” (Historical Bloc)
การสถาปนาพระราชอานาจนาทางด้าน “การพัฒนา” ผ่านการนาเสนอตัวแบบ การพัฒนา
ในอุดมการณ์ “เศรษฐกิ จพอเพียง” ซึ่ งเป็ นอุดมการณ์ที่ตอบโต้กบั ตัวแบบการพัฒนาที่ท้ งั ตอบโต้
และประสานกับตัวแบบการพัฒนาในระบบ กล่าวคือ อุดมการณ์เศรษฐกิจพอเพียงชะลอการผลิต
เพื่อการค้า และลดการแข่งขันในตลาด ในแง่น้ ี อุดมการณ์เศรษฐกิจพอเพียงจึงปะทะกับอุดมการณ์

67
ชนิดา ชิตบัณฑิตย์, โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ : การสถาปนาพระราชอานาจนาในพระบาทสมเด็จพระ
เจ้ าอยู่หัว, กรุ งเทพฯ, มูลนิธิโครงการตาราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ , 2550.
54

ทุนนิ ยม ในอีกด้านหนึ่ งอุดมการณ์น้ ี สอดรับกับการเคลื่อนไหวด้านอุดมการณ์ ของเอ็นจีโอ และ


องค์กรชาวบ้านที่หันมาให้ความสาคัญกับการผลิตเพื่อการพึ่งตนเอง และการรักษาวัฒนธรรมภูมิ
ปั ญญาท้องถิ่ น จะเห็ นได้ว่า อุดมการณ์เศรษฐกิ จพอเพียงทางานใน 2 ระดับ คือ ระดับที่ 1 การ
เปลี่ยนฐานเศรษฐกิจ ซึ่ งได้แก่ การเปลี่ยนพลังการผลิตที่หนั ไปใช้เทคโนโลยีพ้ืนบ้าน และระดับที่ 2
การเปลี่ยนแนวคิดและอุดมการณ์ เรื่ องเป้ าหมายของชีวิต ของครอบครัว และของประเทศที่จะไปสู่
การพึ่งตัวเอง
การสถาปนาพระราชอานาจนาด้านการพัฒนาในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวผ่านการ
ดาเนิ นโครงการพระราชดาริ ยังมีความหมายรวมถึงแนวทางที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรง
ได้รับ “ฉันทามติ” จากกลุ่มทางสังคมต่างๆ ให้นาเสนอแนวทางการพัฒนาและการดาเนินกิจกรรม
การผลิ ตในทางเศรษฐกิ จให้แก่กลุ่ มเกษตรกร โดยการสร้างความยอมรับต่อปั ญญาชนทั้งในและ
นอกระบบราชการ แล้วจึงสร้ างระบบการดาเนิ นโครงการพระราชดาริ ข้ ึนมาเพื่อยึดโยงปั ญญาชน
ของทุกกลุ่มชนชั้นเอาไว้ ทาให้อุดมการณ์ที่ส่งผ่านการดาเนินกิ จกรรมด้านการพัฒนาในโครงการ
พระราชดาริ ที่ทรงนาเสนอ สามารถแพร่ กระจายไปสู่ ปัญญาชนจนกลายเป็ น “สามัญสานึ ก” ของ
สังคม ทั้งนี้ บทบาทปั ญญาชนของโครงการพระราชดาริ เป็ นตัวจักรในการขับเคลื่อนการสถาปนา
อานาจนาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ผ่า นการดาเนิ นโครงการพระราชดาริ โดยเชื่ อมโยง
ระหว่างพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั กับกลุ่มต่างๆ ในสังคม
ทั้ง นี้ การต่ อ สู ้ ช่ ว งชิ ง พื้ น ที่ ท างความคิ ด จิ ต ใจของอุ ด มการณ์ โ ครงการพระราชด าริ
จาเป็ นต้องมีกระบวนการต่อสู ้ทางอุดมการณ์ระหว่างอุดมการณ์หลักที่ครอบครองพื้นที่อยูก่ ่อนหน้า
กับอุดมการณ์ โครงการพระราชดาริ ในกระบวนการต่อสู้ทางอุดมการณ์ประกอบไปด้วยขั้นตอน
สาคัญ 2 ประการคือ 1) กระบวนการรื้ อโครงสร้างของอุดมการณ์สายหลัก แยกแยะ และวิเคราะห์
บางองค์ประกอบของอุดมการณ์หลัก ตลอดจนวิพากษ์กระบวนการทางสังคมที่อุดมการณ์น้ นั ดารง
อยู่ (disarticulation) แล้ว 2) สร้างหรื อตีความองค์ประกอบของอุดมการณ์น้ นั ใหม่ (rearticulation)
ในงานชิ้ นนี้ ให้ความหมายของอุดมการณ์ในมิติ ของโครงการพระราชดาริ ว่า “โครงการ
พระราชด าริ เ ป็ นกิ จ กรรมด้ า น “การพัฒ นา” ของสถาบัน กษัต ริ ย์ ที่ มี อ งค์ป ระกอบส าคัญ 2
อุ ดมการณ์ คื อ อุ ดมการณ์ ก ษัตริ ย ์นิย ม และอุ ดมการณ์ ก ารพัฒ นา” ซึ่ งเป็ นอุ ด มการณ์ ที่ เกิ ดขึ้ น
55

คู่ขนานกันในปฏิบตั ิการทางอุดมการณ์ผา่ นโครงการพระราชดาริ และปรากฏร่ วมกันในอุดมการณ์


“กษัตริ ยน์ กั พัฒนา”
อุ ด มการณ์ “กษัต ริ ย์นัก พัฒ นา” เป็ นอุ ด มการณ์ ที่ เ น้ น บทบาทด้ า นการพัฒ นาของ
พระมหากษัตริ ยใ์ นฐานะผูก้ ระทาการในการปฏิบตั ิการทางอุดมการณ์ ผ่านโครงการพระราชดาริ
เพื่อชี้ให้เห็นถึงบทบาทของพระมหากษัตริ ยท์ ี่ทรงงานหนักอย่างต่อเนื่อง เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต
และสภาพความเป็ นอยู่ของพสกนิ กร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่ มเกษตรกรผูย้ ากไร้ ดอ้ ยโอกาสใน
ชนบทห่ างไกล การปฏิ บตั ิ การของโครงการพระราชดาริ ภายใต้อุดมการณ์กษัตริ ยน์ ักพัฒนายังมี
ลักษณะที่เป็ นการยืนยันถึงพระราชอัจริ ยภาพ และพระปรี ชาสามารถ และพระวิสัยทัศน์ที่ทรงมีต่อ
พสกนิ กรและทิศทางการพัฒนาประเทศ ซึ่ งเป็ นส่ วนหนึ่ งที่สนับสนุ นอุดมการณ์หลักของรัฐ คือ
อุดมการณ์ชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
อุ ด มการณ์ ข องโครงการพระราชด าริ ยัง สอดคล้อ งกั บ ทัศ นะของกรั ม ชี่ ที่ เ สนอว่ า
“อุดมการณ์มีความเป็ นอิสระระดับหนึ่ง ” (the relative autonomous of Ideology) จากโครงสร้าง
เศรษฐกิจ แต่ยงั คงเป็ นอุดมการณ์ที่มีปัจจัยทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมเป็ นปั จจัยที่
ส่ งผลต่อการเผยแพร่ และจากัดอุดมการณ์ อุดมการณ์ของโครงการพระราชดาริ เป็ นกระบวนการที่
ดาเนินไปอย่างต่อเนื่องผ่านปฏิบตั ิการในลักษณะของกิจกรรมการพัฒนาที่ถูกผลิตขึ้นมาในนามของ
โครงการพระราชดาริ ซึ่ งเป็ นผลมาจากการปะทะ ประสาน ระหว่างอุดมการณ์ต่างๆ ในสังคม ทั้ง
อุ ดมการณ์ ท างการเมื อง อุ ด มการณ์ ก ารพัฒ นาเศรษฐกิ จ อุ ดมการณ์ รัฐ อุ ดมการณ์ ข บวนการที่
ต่อต้านรั ฐ และอุ ดมการณ์ พุ ทธศาสนา เป็ นต้น ซึ่ ง มีล ักษณะแตกต่ างกันออกไปตามบริ บทของ
สถานการณ์ในขณะนั้น
โดยการต่อสู ้ระหว่างอุดมการณ์ต่างๆ ในแต่ละช่วงชี้ ให้เห็นถึงสนามความขัดแย้ง และการ
ปะทะ ประสานกัน ระหว่า งอุ ดมการณ์ โครงการพระราชดาริ ก ับอุดมการณ์ ต่างๆ ที่ป รากฏในคู่
ความสั ม พัน ธ์ ห ลากหลายระดับ ทั้ง จากความขัด แย้ง และประสานกัน ของชนชั้น ในแง่ ข อง
ความสัมพันธ์ในผูผ้ ลิ ตอุดมการณ์และผูป้ ฏิบตั ิการของอุดมการณ์ ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มทาง
สังคมที่มีทศั นะและผลประโยชน์ที่แตกต่างกันปรากฏในคู่ความสัมพันธ์ระหว่างพระมหากษัตริ ย ์
กับ ผูน้ ารั ฐบาล ข้า ราชการ ปั ญญาชน เทคโนแครต ทหาร ตารวจตระเวนชายแดน ราษฎร ซึ่ ง
ประกอบด้วยเกษตรกรและชาวเขา ขบวนการต่อต้านรัฐ เป็ นต้น
56

ชนิดา ชิ ตบัณฑิตย์ 68 เสนอว่า เศรษฐกิ จพอเพียงไม่ได้นาเสนอแต่แนวทางในการพัฒนา


เท่านั้น แต่ยงั เป็ นภาพสะท้อนให้เห็นการประสานกันของอุดมการณ์ดา้ นการพัฒนาของกลุ่มต่างๆ
ทั้งภาครัฐ องค์กรพัฒนาเอกชน ปั ญญาชน โดยมีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นแกนกลางในการขับเคลื่อน
โดยการเติบโตของอุดมการณ์เศรษฐกิ จพอเพียงได้กลายเป็ นส่ วนหนึ่ งของอุดมการณ์การพัฒนาใน
สังคมไทยที่ เป็ นผลมาจากบริ บททางการเมืองยุคหลังสงครามเย็นและบริ บททางเศรษฐกิ จหลัง
วิก ฤติ เศรษฐกิ จ ซึ่ ง ส่ ง ผลให้ อุดมการณ์ เ ศรษฐกิ จพอเพีย งมี บ ทบาทต่ อ การก าหนดทิ ศ ทางและ
นโยบายการพัฒนาในสังคมไทย และยังมีบทบาทสาคัญในการสถาปนาพระราชอานาจนาของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว เมื่อนาเอาแนวคิดเรื่ องอุดมการณ์และปฏิบตั ิการทางอุดมการณ์ของ
กรัมชี่ และแนวคิดเรื่ องการครองอานาจนาวิเคราะห์ พบว่า เศรษฐกิจพอเพียงจัดเป็ นปฏิบตั ิการทาง
สังคมรู ปแบบหนึ่ งที่มีอุดมการณ์ เนื่ องจากประกอบด้วยแนวคิด ปรัชญา รวมถึงภาคปฏิบตั ิการที่
ชัดเจน นัน่ คือ เกษตรทฤษฎีใหม่
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ พระราชทานพระราชดารัสหลักเศรษฐกิจพอเพียงในวันที่ 4
ธันวาคม พ.ศ. 2540 ซึ่ งเป็ นช่ วงวิกฤติเศรษฐกิ จ พร้ อมกับช่ วงนั้นอานาจของพระมหากษัตริ ยม์ ี
สถานะสู งสุ ดในสังคมไทย ทั้งในแง่ สังคม การเมือง หรื ออุดมการณ์ ทาให้การเผยแพร่ แนวคิดสู่
สังคมได้รับการยอมรับในวงกว้างและการดาเนินกิจกรรมพัฒนาตามแนวพระราชดาริ ก็จะส่ งผลต่อ
การสร้ างบทบาทพระมหากษัตริ ยย์ ุคใหม่ คือ พระมหากษัตริ ยน์ กั พัฒนา ซึ่ งในแง่น้ ี อาจมองได้ว่า
เป็ นการครองอานาจนาในด้านอุดมการณ์ โดยเฉพาะอุ ดมการณ์กษัตริ ยน์ ิยมในสังคมไทย ซึ่ งส่ งผล
ต่อการเติบโตของอุ ดมการณ์ เศรษฐกิ จพอเพียง สิ่ งเหล่านี้ ถูกตอกย้ า และผลิ ตซ้ าโดยสถาบันทาง
สังคมต่า งๆ เช่ น สถาบันการศึ กษา หน่ วยงานราชการ สื่ อมวลชน ส่ งผลให้เศรษฐกิ จพอเพียงมี
บทบาทต่อการกาหนดอุ ดมการณ์ การพัฒนาประเทศ ประกอบกับเงื่ อนไขการเชื่ อมประสานของ
อุดมการณ์การพัฒนาของภาครัฐและองค์กรพัฒนาเอกชนผ่านแผนเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติโดย
เริ่ มตั้งแต่แผน 5 (พ.ศ. 2525-2529) ทาให้เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นยุทธศาสตร์ การพัฒนาประเทศ และ
แผน 8 เป็ นจุดเปลี่ยนที่สาคัญ เนื่องจากมีการนาเสนอแนวคิดเน้นคนเป็ นศู นย์กลางในการพัฒนา

68
ชนิดา ชิตบัณฑิตย์, มองเศรษฐกิจพอเพียงผ่ านแว่นหลากสี : “เศรษฐกิจพอเพียง” กับ “การสถาปนาพระราชอานาจ
นา” ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั . บทความในการประชุมเชิงวิชาการ เรื่ องเหลียวหลังแลหน้าการเปลี่ยนแปลงสังคมบทอีสาน
ช่วงทศวรรษ 2540-2550 กรณี “เศรษฐกิจพอเพียง : ความรู ้และความไม่รู้”, คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ร่ วมกับ
สถาบันวิจยั สังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550.
57

และวิพากษ์ทิศทางการพัฒนาประเทศเป็ นครั้งแรกในแผน ในแง่ของกระบวนการก็มีการจัดระดม


ความเห็นจากหน่วยงานราชการ นักวิชาการ องค์กรพัฒนาเอกชน องค์กรประชาชน องค์กรชุมชน
ตั้งแต่ระดับท้องถิ่นถึงระดับชาติ และในแผน 9 เศรษฐกิ จพอเพียงก็ถูกผลักดันให้เป็ นยุทธศาสตร์
แห่ งชาติผา่ นเครื อข่ายปั ญญาชนที่เข้าร่ วมในการร่ างแผนฯ ต่อเนื่องมาจนถึงแผนที่10 โดยรู ปธรรม
หรื อปฏิ บตั ิ การของเศรษฐกิ จพอเพียงจากพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ คื อ
เกษตรทฤษฎีใหม่ เกษตรกรที่ดาเนิ นการตามแนวเกษตรทฤษฎีใหม่ตอ้ งแบ่งพื้นที่การผลิตออกเป็ น
3 ส่ วน เพื่อทาการผลิ ตให้มีกินมีอยู่ ขั้นต่อมา คือรวมกลุ่มเป็ นสหกรณ์ พัฒนาการผลิต การตลาด
และเติบโตเป็ นธุ รกิจชุ มชนขนาดย่อยต่อไป โดยองค์กรที่มีบทบาทหลักในการเผยแพร่ อุดมการณ์
คือ มูลนิธิชยั พัฒนา
กรณี ศึกษาการเผยแพร่ การพัฒนาตามแนวพระราชดาริ โดนศูนย์ศึกษาการพัฒนา ห้วยฮ้อง
ไคร้ อันเนื่ องมาจากพระราชดาริ แสดงให้เห็ นถึ ง กระบวนการเผยแพร่ แนวความคิ ดเศรษฐกิ จ
พอเพี ย งสู่ เกษตรกร ศู นย์ไ ด้จดั ตั้งคณะท างานโครงการเกษตรทฤษฎี ใ หม่ มีหน้า ที่ จดั อบรมให้
เกษตรกร โดยคัดเลื อกเกษตรกรที่อาศัยอยู่รอบๆ มาฝึ กอบรม แนวคิด ปรัชญา รวมถึงภาคปฏิบตั ิ
โดยคณะทางานจะประเมินศักยภาพและถ้าเห็นว่าเหมาะสมจะให้เป็ นเกษตรกรตัวอย่างและต้องไป
เผยแพร่ ใ ห้ เ กษตรกรคนอื่ น ๆ ต่ อ ไป ในแง่ น้ ี ตัว เกษตรกรจึ ง ถู ก พัฒ นาให้ก ลายเป็ นผูเ้ ผยแพร่
เศรษฐกิ จพอเพียงผ่านวิถีชีวิตของตนเอง จากการสัมภาษณ์เกษตรกรที่เข้าร่ วมโครงการจานวน 13
ราย พบว่า ปั จจัยที่ทาให้อุดมการณ์เศรษฐกิจพอเพียงดารงอยูไ่ ด้ หรื อเป็ นภาคปฏิบตั ิของเกษตรกร
ได้ มี 6 ประการ คือ การสนับสนุ นปั จจัยการผลิ ตต่างๆ เฉลี่ยครอบครัวละหลายแสน, อุดมการณ์
ความเชื่อมัน่ ของเกษตรกรต่อสถาบันพระมหากษัตริ ยแ์ ละเศรษฐกิจพอเพียง เนื่องจากเกษตรกรต้อง
ต่อสู ้กบั กลไกตลาด ต้องกระตือรื อร้น ไม่ฟุ่มเฟื อย ซึ่ งเป็ นเรื่ องยากในสังคมปั จจุบนั , ทักษะในการ
ประยุกต์แนวคิดทฤษฎีใหม่มาใช้ในการดาเนินกิจกรรมการเกษตรและในชีวิตประจาวัน, ปั จจัยด้าน
เงินทุนหมุนเวียน ตลาด และแรงงาน, ภาวะหนี้ สินของเกษตรกร ถ้าเกษตรกรมีหนี้ สินมาก่อน หรื อ
มี เงื่ อนไขที่ จะท าให้เป็ นหนี้ สิน เช่ น มีลูก ก็ยากที่จะดารงชี วิตอย่างพอเพียงได้, และปั จจัยเชิ ง
วัฒนธรรม เช่น ต้องไม่สังสรรค์ ไม่กินเหล้า ไม่ร่วมงานบุญ ถ้าหากขาดปัจจัยเหล่านี้ขอ้ ใดข้อหนึ่ ง ก็
ยากที่จะบรรลุ อุดมการณ์ เศรษฐกิจพอเพียง ทาให้พบว่า อุดมการณ์เศรษฐกิ จพอเพียงมีความย้อน
แย้งในตัวเองสู ง ซึ่ งแสดงให้เห็ นถึ งลักษณะเฉพาะของสังคมไทย กล่ าวคือ อุดมการณ์ เศรษฐกิ จ
58

พอเพียง ในด้านหนึ่ งดู เหมื อนจะวิพากษ์อุดมการณ์ ทุนนิ ยม แต่ถึงที่สุดแล้ว เศรษฐกิ จพอเพียงก็


ไม่ได้นาเสนอให้ปรับเปลี่ ยนโครงสร้างทางการผลิตเหมือนระบบเศรษฐกิจอื่นๆ อีกทั้งอุดมการณ์
เศรษฐกิ จ พอเพี ย งยัง มี บ ทบาทเสริ มอุ ด มการณ์ รั ฐ เนื่ อ งจากอุ ด มการณ์ เ ศรษฐกิ จ พอเพี ย ง
ประกอบด้วย อุ ดมการณ์ กษัตริ ยน์ ิ ยม กับอุดมการณ์การพัฒนา ซึ่ งตัวอุดมการณ์ กษัตริ ยน์ ิ ยมเป็ น
ส่ วนหนึ่งของอุดมการณ์รัฐในแง่ของอุดมการณ์ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริ ย ์

(4) การศึกษาและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วกับแนวคิดอุดมการณ์ (Ideology)


นฤมล ทับ จุ มพล69 ทาการศึกษาเรื่ อง “การใช้สื่อในการสร้ างอุดมการณ์ ทางการเมือง :
ศึกษาจากบทเพลงของทางราชการ (พ.ศ. 2475-2530)” พบว่า บทเพลงได้ถูกใช้เป็ นสื่ อในการสร้าง
อุดมการณ์ทางการเมืองที่ทางราชการต้องการเสนอให้กบั ประชาชน โดยผ่านคาร้องและเนื้ อหาใน
บทเพลงซึ่ งกล่าวถึ งสถาบันทางอุดมการณ์ต่างๆ ได้แก่ ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริ ย ์ กล่าวถึง
ค่านิยมทางสังคมที่สนับสนุ นหรื อแสดงออกซึ่ งความจงรักภักดี ตลอดถึงคาอธิ บายหรื อเหตุผลของ
ความจงรักภักดีในรู ปของประวัติศาสตร์ ฐานะ และความสาคัญของสถาบันอุดมการณ์ โดยบทเพลง
ของทางราชการในช่ วง พ.ศ. 2475 -2500 นั้น จะเน้นการให้น้ าหนักต่ออุดมการณ์และเนื้ อหาของ
บทเพลงจะกล่าวถึ งเกี ยรติภูมิ ประวัติศาสตร์ ความเป็ นมา และการให้ความสาคัญต่อชาติ กล่าวถึง
อาณาเขตและบูรณภาพเหนื อดินแดนของประเทศ ตลอดจนการเรี ยกร้องให้ประชาชนแสดงความ
จงรักภักดีดว้ ยการเสี ยสละแม้กระทัง่ ชีวติ เพื่อปกป้ องประเทศชาติโดยถือว่าเป็ นภารกิจของตน ส่ วน
ลัก ษณะเนื้ อหาของบทเพลงในช่ ว งหลัง จะกล่ า วถึ ง ความส าคัญของสถาบันพระมหากษัต ริ ย ์
ประวัติศาสตร์ ความเป็ นมาของชาติกบั บทบาทขององค์พระมหากษัตริ ยใ์ นอดีต ตลอดจนพระราชจ
ริ ย วัต รและการเสี ย สละเพื่ อพสกนิ ก ร เรี ย กร้ องให้ป ระชาชนถวายความจงรั ก ภัก ดี ต่ อสถาบัน
พระมหากษัตริ ยด์ ว้ ยการปกป้ องพระเกียรติภูมิและสละชีพตนเป็ นราชพลี

69
นฤมล ทับจุมพล. การใช้ สื่อในการสร้ างอุดมการณ์ ทางการเมือง : ศึกษาจากบทเพลงของทางราชการ (พ.ศ. 2475 -
2530). วิทยานิพนธ์ตามหลักสูตรปริ ญญารัฐศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาการปกครอง บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ,
2531.
59

ปรีชา ธรรมวินทร70 ทาการศึกษาเรื่ อง “การกล่อมเกลาทางการเมืองโดยผ่านหนังสื อเรี ยน:


วิเคราะห์หนังสื อเรี ยนตามหลักสู ตรประถมศึก ษา พุ ทธศัก ราช 2521 พบว่า ระบบการศึ กษามี
บทบาทสาคัญอย่างมากในการตระเตรี ยมคนให้เป็ นสมาชิกอันพึงประสงค์ของระบบสังคมการเมือง
ในอนาคต โดยอาศัย “โรงเรี ยน” เป็ นกลไกสาคัญในการหล่อหลอมขัดเกลาให้ผเู้ รี ยนมีความคิดและ
คุ ณ สมบัติ ต่ า งๆ ตามที่ รั ฐ ต้อ งการ กล่ า วอี ก นัย หนึ่ ง กระบวนการเรี ย นการสอนในโรงเรี ย น
เปรี ยบเสมือน “กระบวนการหล่อหลอมขัดเกลามนุษย์” นัน่ เอง จากการศึกษาวิเคราะห์เนื้ อหาของ
หนังสื อเรี ยนประถมศึกษาที่ใช้สอนในเวลานี้พบว่า นอกจากจะสอนความรู้ดา้ นวิทยากรแขนงต่างๆ
แล้ ว ยัง มี ก ารอบรมสั่ ง สอนให้ ผู้เ รี ยนเกิ ด ความจงรั ก ภัก ดี ต่ อ สถาบัน ชาติ ศาสนา และ
พระมหากษัตริ ยอ์ ีกด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง “การปลูกฝังให้เกิ ดความจงรักภักดีต่อชาติ” ได้รับการ
กล่ าวถึ งมากที่ สุด ด้วยการมุ่งสอยให้ผเู้ รี ยนเกิ ดความสานึ กในความเป็ นไทย และปลุ กใจให้เกิ ด
ความรั ก หวงแหนชาติ และพร้ อมที่จะเสี ยสละแม้ชีวิตเพื่อชาติบา้ นเมือง อีกทั้งยังปลูกฝั งให้เกิ ด
ความรักและศรัทธาต่อศาสนา โดยมุ่งหวังที่จะอบรมสั่งสอนให้ผเู้ รี ยนเป็ น “คนดี” ด้วยการปฏิบตั ิ
ตามหลั ก ธรรมของศาสนาตลอดจนปลู ก ฝั ง ความกตั ญ ญู ก ตเวที ต่ อ “ชาติ ศาสนา และ
พระมหากษัตริ ย”์ นอกจากนี้ ยงั มีเนื้ อหาบางส่ วนที่ปลูกฝัง “เกี่ยวกับประชาธิ ปไตย” แต่มิได้มุ่งเน้น
ในเรื่ องสิ ทธิ เสรี ภาพ การมีส่วนร่ วมทางการเมือง และการรวมตัวกันทางการเมืองของประชาชนใน
รู ปองค์กรต่างๆ อย่างแท้จริ ง แสดงให้เห็นว่า “ระบบการศึกษา” หรื อ “โรงเรี ยน” มีบทบาทในฐานะ
เป็ นกลไกทางด้านอุดมการณ์ที่มุ่งหล่อหลอมกล่อมเกลาให้ผเู้ รี ยนมีอุดมการณ์ที่ “จงรักภักดีต่อชาติ
ศาสนา และพระมหากษัตริ ย”์ เป็ นสาคัญ ซึ่ งเป็ นการใช้ระบบการศึกษาเพื่อตระเตรี ยมคนให้เติบโต
เป็ นสมาชิกทางสังคมที่ยอมรับและสนับสนุนระบบสังคมการเมืองที่ดารงอยูน่ นั่ เอง
หทัยรั ตน์ มั่นอาจ71 ทาการศึกษาเรื่ อง “การสร้างอุดมการณ์ชาติเวียดนามผ่านการศึกษา
ภาคบังคับระหว่างปี ค.ศ. 1975 – 2003” พบว่า ก่อนการเกิดขึ้นของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
ในปี ค.ศ. 1975 ประเทศเวีย ดนามถื อได้ว่ามี ความแตกต่ างหลากหลายไปในแต่ ละกลุ่ มแต่ล ะ
เผ่าพันธุ์ ซึ่ งความแตกต่างที่สาคัญของเหนือและใต้ก็คือ ความแตกต่างกันในเรื่ องของอุดมการณ์ที่

70
ปรี ชา ธรรมวินทร, การกล่อมเกลาทางการเมืองโดยผ่ายหนังสือเรียน : วิเคราะห์ หนังสื อเรียนตามหลักสู ตร
ประถมศึกษา พุทธศักราช 2521. สารนิพนธ์หลักสูตรรัฐศาสตร์มหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , 2532.
71
หทัยรัตน์ มัน่ อาจ, การสร้ างอุดมการณ์ ชาติเวียดนามผ่ านการศึกษาภาคบังคับระหว่างปี ค.ศ. 1975 – 2003, วิทยานิพนธ์
ตามหลักสู ตรปริ ญญาศิลปศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาวิชาภูมิภาคศึกษา มหาวิทยาลัยเชี ยงใหม่, 2549.
60

แต่ ล ะเวี ย ดนามถื อ ครอง ส่ ง ผลต่ อ อุ ด มการณ์ ห ลัก ที่ ค รอบง าสั ง คม กล่ า วคื อ อุ ด มการณ์ เ สรี
ประชาธิ ปไตยในภาคใต้ และสังคมนิ ยมมาร์ กซิ สม์-เลนินนิสม์ในภาคเหนือ การรวมชาติในระดับ
รัฐในปี ค.ศ. 1975 ถื อเป็ นจุ ดก าเนิ ดของกระบวนการสร้ างรั ฐชาติ เวีย ดนามภายใต้ระบบการ
ปกครองแบบสังคมนิยมมาร์กซิสม์-เลนินนิสม์ที่มีอุดมการณ์โฮจิมินห์เป็ นแนวทาง
ปฏิ บตั ิการสร้ างชาติดว้ ยเทคโนโลยีแห่ งอานาจ โดยเฉพาะกลไกทางการศึกษาภาคบังคับ
ถือเป็ นกลไกสาคัญในการที่จะเป็ นเครื่ องมือในการสร้างอุดมการณ์ชาติเวียดนามผ่านการศึกษา ตาม
แนวคิดของ Louis Althusser ที่วา่ การศึกษาเป็ นกลไกทางอุดมการณ์ที่สาคัญของรัฐ เพื่อนาไปสู่ การ
สร้ างความเชื่ อในการดารงอยู่ในสถานภาพสังคมขณะนั้น ซึ่ งบทบาทของการศึกษาในการที่เป็ น
เครื่ องมื อ ของการส่ ง ผ่า นการ “ถื อ ครองของอุ ดมการณ์ ห ลัก ” ในการที่ จ ะก าหนดและส่ ง ผ่า น
อุดมการณ์หลักของสังคมเพื่อสร้างสังคมการเมืองและสังคมพลเมือง
ระบบอุดมการณ์ ชาติในสังคมเวียดนามก่อนรวมชาติการเลือกใช้อุดมการณ์ชาติชุดใดนั้น
ได้แปรเปลี่ยนไปตามปั จจัยทางการเมืองและกลุ่มขั้วอานาจ ซึ่ งความสาคัญของระบบการศึกษาใน
สังคมเวียดนาม การศึกษาถือเป็ นสถาบันทางสังคมที่มีหน้าที่ในการส่ งผ่านและครอบงาอุดมการณ์
สอดคล้อ งกับ อุ ด มการณ์ ต ามแนวของกรั ม ชี่ แ ละอัล ธู แ ซร์ ที่ ไ ด้เ สนอทฤษฎี ว่า อุ ด มการณ์ เ ป็ น
จิตสานึ กของชนชั้นผูป้ กครอง นาไปสู่ การครองอานาจนา (Hegemony) ที่เป็ นอุดมการณ์หลักไปสู่
ประชาชนโดยส่ งผ่านกลไกทางอุดมการณ์ นัน่ ก็คือ กลไกทางการศึกษา ซึ่ งความสัมพันธ์ระหว่าง
ระบบการเมื องและระบบการศึ ก ษาทั้ง อิ ท ธิ พ ลทางการเมื องที่มี ต่อการศึ ก ษา และอิ ท ธิ พ ลของ
การศึกษาที่มีต่อการเมือง ส่ งผลต่อการกาหนดกลยุทธ์ทางการศึกษาเพื่อที่จะนาไปสู่ การถือครอง
อานาจดังกล่าว

You might also like