You are on page 1of 14

presentation

Sociologist
ÉMILE DURKHEIM เ อ มี ล เ ด อ ร์ ไ ค ฮ์ ม

PRPR 530 ทฤษฎีสังคมร่วมสมัย


table of
CONTENT
about Durkheim Context/Background Social Fact

The di vi si on of labor i n soci ety Sui ci de The Elementary from of


religious life

Émile Durkheim
introduce
ABOUT DURKHEIM
เกิดเมื่อวันที่ 15 เมษายน ค.ศ. 1858
ในครอบครัวชาวยิวสายอนุรักษณ์นิยม
ณ เมืองเอปินาล (Épinal) ประเทศฝรั่งเศส
ในปี 1879 ได้เข้าเรียนระดับปริญญาเอกที่สถาบันเอกอล นอร์เมล
(Ecole Normale) กรุงปารีส

ที่มารูปภาพ: https://bit.ly/3PKS3Mc
ผลงานตีพิมพ์ที่สำคัญของเดอร์ไคฮ์ม
1893 1895 1897 1916

The Division of Labour The Rules of Suicide : A Study in The Elementary Forms
in Society Sociological Method Sociology of the Religious Life
"การแบ่งแยกแรงงานในสังคม" "กฎเกณฑ์เกี่ยวกับวิธีการ "การฆ่าตัวตาย" "แบบฟอร์มเบื้องต้นเกี่ยวกับ
ทางสังคมวิทยา" ชีวิตทางศาสนา"
ลัทธิวิทยาศาสตร์ แนวคิดต่อต้าน
Cult of Sciences
ลัทธิปัจเจกนิยม
Anti-individualism

กระแสนี้ส่งผลกระทบต่อแนวคิดของนักคิดหลาย ๆ คน โดย เป็นแนวคิดที่มีรากฐานมาจากการปฏิวัติฝรั่งเศส ในปี ค.ศ. 1789


เป็นกระแสนโยบายที่ส่งเสริมการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์ และ ซึ่งนักคิดหลายคนเห็นว่า ภายหลังเหตุการณ์ปฏิวัตินั้น ปัจเจกได้
กาาใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ เช่น ปฏิฐานนิยมในการศึกษา ถูกแยกออกจากสังคมและเข้ามามีความสัมพันธ์กับสังคมก็
ทำความเข้าใจกับสังคม ต่อเมื่อมีความจำเป็นทางด้านเศรษฐกิจและผลประโยชน์ส่วน
ตัว ซึ่งเป็นภัยต่อความเชื่อมแน่น (cohesion) ของสถาบัน
สังคม
สังคมวิทยา VS จิตวิทยา
วิชาสังคมวิทยา = วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับข้อเท็จจริงทางสังคมที่เป็น
สิ่งที่อยู่ภายนอก และมีอำนาจบังคับควบคุมพฤติกรรมของปัจเจก

สังคมวิทยา VS ปรัชญา
วิชาสังคมวิทยา ใช้วิธีการศึกษาข้อเท็จจริงทางสังคมด้วยวิธีการ
วิจัยเชิงประจักษ์ (empirical research) ไม่ใช่การศึกษาโดยใช้

1798-1857
กระบวนการทางความคิดเพียงอย่างเดียว

AUGUSTE COMTE
ที่มารูปภาพ: https://bit.ly/3pGqVDs
ข้อเท็ จจริงทางสังคม (Social Fact)

เดอร์ไคฮ์ม มอง"ข้อเท็จจริงทางสังคม"คือสิ่งที่อยู่ภายนอกตัวปัจเจก แต่มีอำนาจบังคับพฤติกรรม


ของปัจเจก เป็นความเชื่อ เป็นวิธีการปฏิบัติที่เหมือน ๆ กันของกลุ่มคน เป็นสิ่งที่ปัจเจคต้องกระทำตาม และ
เป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วก่อนที่ปัจเจกจะแสดงพฤติกรรมนั้น เพื่อให้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง การปฏิบัตินั้น
จะมีลักษณะเหมือน ๆ กันทั้งสังคม และทุกคนยอมรับได้

แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ

1. ข้อเท็จจริงทางสังคมที่เป็นวัตถุ(Material Social Fact) ซึ่งสามารถสังเกตได้ในโลกสังคมที่อยู่ภายนอก


ตัวบุคคล เช่น รัฐบาล กฎหมาย การตั้งถิ่นฐาน การกระจายตัวทางประชากร สถาปัตยกรรม วิธีการสื่อสาร ฯลฯ
2. ข้อเท็จจริงทางสังคมที่ไม่ใช่วัตถุ (Non - Material Social Fact) เป็นกระบวนการทางความคิดที่อยู่
นอกพื้นฐานจิตใจซึ่งแต่ละบุคคลซึมซับมากจากสภาพแวดล้อมทางสังคมที่อาศัยอยู่ เช่น มโนธรรมร่วม กระแส
สังคม
การแบ่งแยกแรงงานในสังคม (The Division of Labor in Society)

สังคมบรรพกาล ไม่มีการแบ่งแยกแรงงาน สังคมสมัยใหม่ มีการแบ่งแยกแรงงานชัดเจน

พลวัตความหนาแน่นของประชากร
ทุกคนทำงาน +ความเข้มข้นของการปฏิสังสรรค์ ลักษณะงานที่
แทบทุกประเภทด้วยตนเอง +ทรัพยากรไม่เพียงพอกับการใช้ซ้ำๆอย่างเดียวกัน เฉพาะเจาะจงมากขึ้น
และทำอย่างนี้เหมือนกัน จนกลายเป็น
ความชำนาญพิเศษแต่ละด้าน

สังคมยึดโยงด้วยความคล้ายคลึงกัน
เหมือนกัน เท่าเทียมกัน ต้นกำเนิดปัจเจกนิยม
สมาชิกต้องพึ่งพาอาศัยกัน

กฎหมายเป็นลักษณะเน้นการปราบปราม ลักษณะกฎหมายให้ความยุติธรรมกับปัจเจก
ไม่ให้มีความคิดพฤติกรรมที่แตกต่าง เน้นการชดใช้คืนให้กับผู้เสียหาย
welcome to
การฆ่าตัวตาย

ให้ความสนใจที่ "การแพร่กระจาย" ของปรากฏการณ์การฆ่าตัวตาย


ใน "ประชากรกลุ่มหนึ่งๆ หรือสังคมหนึ่งๆ"
เพื่ออธิบายลักษณะและสาเหตุทางสังคมของการฆ่าตัวตาย
จนกลายเป็นแม่แบบวิธีการศึกษาปรากฏการณ์ทางสังคม
ประเภทการฆ่าตัวตาย

3. เนื่องจากภาวะไร้บรรทัดฐาน
1. เนื่องจากการยึดถือตัวตน 2. เนื่องจากการยึดถือหมู่คณะ
ปัจเจกรู้สึกเคว้งคว้าง เป็นทุกข์
ไม่มีความรู้สึกผูกพันกับหน่วยสังคม ปัจเจกถูกกลุ่มหรือสังคมกดดัน
ไม่สามารถตอบสนองความต้องการที่
ที่ใหญ่กว่า คำนึงถึงแต่ตัวเองเป็นหลัก กลายเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มอย่าง สำคัญในชีวิตจากสภาวะที่ไม่มีแนวทาง
ไม่ได้สนใจสภาพแวดล้อมทางสังคม สมบูรณ์ โดยไม่ได้คำนึงถึงสิทธิตนเอง ชัดเจนเป็นหลักในกระทำหรือ
จนผิดหวัง ไม่ได้รับการตอบสนอง
เช่น สังคมอินเดียในอดีต ภรรยาต้อง ไม่มีการกำกับควบคุมที่ชัดเจน เช่น
ท้อแท้กับความเป็นจริงที่ไม่ได้เป็นไป
ฆ่าตัวตายตามสามีที่เสียชีวิต ภาวะเศรษฐกิจซบเซา โรงงานถูกปิด
ตามที่คาดหวัง

(Egoistic suicide) (Altruistic suicide) (Anomic suicide)

(Fatalistic suicude)
4. เนื่องจากกฎเกณฑ์ที่เข้มงวดมาก ปัจเจกถูกควบคุมบังคับให้ปฏิบัติตาม
กฎระเบียบของกลุ่มที่เข้มงวดมาก
จนรู้สึกว่าถูกขัดขวาง อารมณ์ ความรู้สึก ความต้องการ
รู ปแบบเบื้ องต้ นของชีวิตทางศาสนา
(The Elementary Form of Religious Life)

- เขาต้องการจะค้นหาว่าอะไรคือองค์ประกอบร่วมเชิงประจักษ์ (the real)


หรือลักษณะทางสังคมที่เป็นสากลของศาสนาทุกศาสนา กล่าวอีกนัยหนึ่งคือเขา
ต้องการค้นหาทฤษฎีที่ใช้อธิบายลักษณะพื้นฐานทางสังคมของศาสนาทุกศาสนา
นั่นเอง

- วิธีการค้นหาสามัญลักษณะที่มีอยู่ในศาสนาทุกศาสนานั้น ต้องใช้วิธีกลับไป
คันหาที่รูปแบบดั้งเดิมที่สุดของศาสนา (the mostprimitive form) ที่ดำรง
อยู่ในสังคมบรรพกาล ด้วยวิธีนี้เท่านั้นจึงจะหารูปแบบของศาสนาต้นแบบที่
ชัดเจนที่สุด โดยไม่ถูกรบกวนด้วยปัจจัยแทรกซ้อนอื่น ๆ

ที่มา: https://gallica.bnf.fr/ark:/12148/bpt6k14149475/f11.item.texteImage
การนับถือโทเทม(Totemism)
- ความศักสิทธิ์ ตัวแทนของพลัง
- สัญลักษณ์กลุ่มวงศ์วาน เช่น สัญลักษณ์ที่สลักลงบนวัตถุต่าง ๆ รอยสัก
- การสร้างความผูกพันแบบเครือญาติ โดยไม่ใช่กลุ่มคนในสายเลือดเดียวกัน
เช่น กลุ่มล่าสัตว์ กลุ่มที่ยอมรับโทเทมลักษณะเดียวกัน

ที่มา: https://teen.mthai.com/variety/134574.html ที่มา: https://thaihypnosis.com/Content/page/Totem-and-Taboo-


องค์ประกอบของทุกศาสนามี 3 ประการ

- พลังศักดิ์สิทธิและความเชื่อในพลัง
- การบัติญัติพิธีกรรม หรือการบูชาสัญลักษณ์/ตัวแทนความศักสิทธิ์
- การจัตระเบียบของกลุ่มคน เช่น การจัดโครงสร้างของกลุ่มที่นับถือ

เดอร์ไคฮ์มสรุปว่า ต้นกำเนิดของศาสนาอยู่ที่สังคมมนุษย์ หรือจิตวิญญาณของหมู่เหล่า(collective


soul) หรือมโนธรรมร่วม (collective conscience) ซึ่งเป็นตัวสร้างสำนึกเกี่ยวกับอัตลักษณ์ของกลุ่มหรือ
สังคมนั้น รวมถึงค่านิยม บรรทัดฐานและสัญลักษณ์ที่เป็นเครื่องแสดงถึงความเป็นปีกแผ่นของสังคมด้วย ดัง
นั้นเวลาที่สมาชิกในสังคมทำความเคารพต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในศาสนาของตนเอง นั่นเท่ากับการที่สมาชิกของ
สังคมนั้นกำลังทำความเคารพต่อสังคมของตนเองนั่นเอง
Émile Durkheim PRPR 530 ทฤษฎีสังคมร่วมสมัย

In summary
สรุป
Apichat Saengsawang Tinna Akanong Khwanruethai Amorndoljai

You might also like