You are on page 1of 28

บทคัดย่อ

คนข้ามเพศ : ตัวตน วัฒนธรรมย่อย และพืน้ ที่ทางสังคม

การวิจยั ครัง้ นี้เป็ นการวิจยั เชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มี


วัต ถุ ประสงค์เพื่อ ศึกษาประวัติศ าสตร์และความหมายของคนข้า มเพศ
ในสังคมไทย กระบวนการสร้างพืน้ ทีท่ างสังคม และวัฒนธรรมย่อยของ
คนข้ามเพศ กลุม่ ตัวอย่างทีใ่ ช้ในการวิจยั ครัง้ นี้ คือ กลุม่ ชายรักเพศเดียว
กันทีเ่ ปิดเผยตนเองว่าเป็ นคนข้ามเพศ จำนวน 30 คน เครือ่ งมือทีใ่ ช้ใน
การวิจยั ได้แก่ แนวทางการสัมภาษณ์ แนวทางการสังเกต ผลการวิจยั พบว่า
คนข้ามเพศในสังคมไทยได้มกี ารรวมกลุม่ และสร้างวัฒนธรรมย่อยของกลุม่
ตนเองขึน้ มา จนกระทัง นำมาสูก่ ารสร้างพืน้ ทีท่ างสังคมของคนข้ามเพศ ซึง่

มีทงั ้ การต่อสูใ้ นระดับกลุม่ และการต่อสูร้ ะดับปจเจกซึ ง่ เป็นการต่อสูใ้ นชีวติ
ประจำวัน โดยการต่อสู้ ต่อรองกับความสัมพันธ์เชิงอำนาจในสังคมนัน้ จะ
แตกต่างกันไปตามจุดประสงค์ของการดำเนินชีวติ และประสบการณ์ทค่ี น
ข้ามเพศแต่ละคนประสบมา ถึงแม้วา่ โดยสรุปแล้วการมองเพียงรูปร่างภายนอก
ของคนข้ามเพศทุกคนจะอ้างอิงเลียนแบบความเป็ นหญิง แต่ทงั ้ หมดก็ขน้ึ
อยู่กบั ความสามารถทางการเลียนแบบของคนข้ามเพศแต่ละคนทีม่ รี ะดับ
ความสามารถและศักยภาพทีแ่ ตกต่างกัน ซึง่ คนข้ามเพศเหล่านี้ไม่ได้ตก
อยูใ่ นสถานการณ์ทค่ี ล้ายคลึงกันเสมอ ทัง้ นี้ขน้ึ อยูก่ บั พืน้ ทีท่ ค่ี นข้ามเพศแต่
ละคนประสบอยูแ่ ตกต่างกัน แต่ถงึ อย่างนัน้ ก็ตามคนข้ามเพศมีการสร้าง
ความหมายให้กบั ตนเองภายใต้บริบททางสังคมวัฒนธรรม และชีวติ ประจำวัน

คำสำคัญ : พืน้ ทีท่ างสังคม คนข้ามเพศ อัตลักษณ์ วัฒนธรรมย่อย


Abstract
Identity, Sub-Cultural and Social Space of the Transgender

This research focuses on the ‘history and transgender meaning’,


‘social space construction processes’ and ‘sub cultural of the transgen-
der’ in Thailand. The study aims to study the social space construction
processes of the transgender, who are known in Thailand as katheys
(male to female). A qualitative research method was applied and
conducted by in-depth interviews among 30 transgenders. The
findings showed the transgenders in Thai society are consolidated
groups and have sub-cultures of their own until they are brought
to a social space of transgender. The transgender fights a battle
on a daily basis. The power negotiation of their power relationships
in society varies according to the purpose of life. In conclusion,
regardless of the outward appearance, transgenders look across all
gender references to imitate a woman. However, it all depends on
the ability of cross-sex imitation of each person who has the ability
and potential to be different. The transgender is not always caught
in similar situations; rather it depends on the area where trans-
gender experiences are different. Regardless of this, transgenders
have a meaning for themselves through social and cultural context.

Keywords : social space, transgender, identity and sub-cultural


คนข้ามเพศ : ตัวตน วัฒนธรรมย่อย และพืน้ ที่ทางสังคม*

ปิยลักษณ์ โพธิวรรณ์**

บทนำ
ประวัตเิ รือ่ งของเพศ (sex) ในอดีตนัน้ ถือว่าเป็ นเรือ่ งส่วนตัวของ
มนุษย์และปลอดจากความเป็ นการเมือง อีกทัง้ เรือ่ งของเพศยังถูกมองว่า
เป็นเรือ่ งของธรรมชาติ เป็นความต้องการพืน้ ฐานของความเป็นมนุษย์ เรือ่ ง
ของเพศทีถ่ ูกต้องดีงามมักถูกจัดวางให้สอดคล้องกับความเป็ นธรรมชาติท่ี
มนุ ษย์ในสังคมสามารถสังเกตเห็นได้อย่างชัดเจน ในสังคมส่วนใหญ่แล้ว
บุคคลแยกประเภทของความสัมพันธ์ทางเพศโดยใช้ธรรมชาติเป็นเกณฑ์ มี
ความเชือ่ ว่าเพศนัน้ ไม่สามารถทีจ่ ะเปลีย่ นแปลงได้ นันคื
่ อเรือ่ งของเพศเป็น
มิตขิ องระบบความคิด ความเชื่อ การแสดงออก ทีย่ อมรับได้เพียงแค่

* บทความนีเ้ ป็นส่วนหนึง่ ของการศึกษาวิทยานิพนธ์เรือ่ ง “ขบวนการเคลือ่ นไหว


ทางสังคมของคนข้ามเพศ” หลักสูตรศิลปศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยา
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
โดยมีอาจารย์ ดร.มณีมยั ทองอยู่ เป็ นอาจารย์ทป่ี รึกษาวิทยานิพนธ์หลัก
และผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เยาวลักษณ์ อภิชาตวัลลภ เป็ นทีป่ รึกษาวิทยานิพนธ์รว่ ม
** นักศึกษาปริญญาเอก สาขาวิชาสังคมวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคม-
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คนข้ามเพศ : ตัวตน วัฒนธรรมย่อย และพืน้ ทีท่ างสังคม 101

บทบาทของการมีความสัมพันธ์แบบรักต่างเพศ และเพศสัมพันธ์นนั ้ มีไว้เพือ่


สืบทอดเผ่าพันธุ์ (สุไลพร ชลวิไล, 2550 : 31) ดังนัน้ ความสัมพันธ์ทาง
เพศแบบอืน่ ทีม่ องดูผดิ ธรรมชาติ จึงมักถูกตีตราว่าเป็ นเรือ่ งของความผิด
มีความวิปริตเบีย่ งเบน ทัง้ นี้เป็นเพราะระบบความคิดเรือ่ งเพศนัน้ ยังตกอยู่
ภายใต้การครอบงำบนอุดมการณ์ของการแบ่งแยกระบบเพศตามธรรมชาติ
ทีก่ อ่ ให้เกิดการสร้างคำใหม่ และให้ความหมายใหม่ ในสังคมไทยนัน้ ตัง้ แต่
อดีตมาจนถึงปจจุบนั ยังปรากฏภาพให้เห็นว่าคนข้ามเพศนัน้ ยังจัดเป็นกลุม่
คนชายขอบทางสังคมอย่างชัดเจน ไม่วา่ จะเป็นการกำหนดความหมาย การ
ตอกยำความรูเ้ รือ่ งระบบเพศผ่านสถาบันต่างๆ ทางสังคม การสร้างความ
เป็ น อื่น ให้ค นข้า มเพศผ่า นปฏิบ ัติก ารทางภาษาทัง้ ที่ก ระทำอย่า งเป็ น
ทางการและไม่เป็ นทางการก็ตาม สาเหตุทงั ้ หมดนัน้ ล้วนแต่เป็ นการเบียด
ขับให้คนข้ามเพศต้องรูส้ กึ ว่าตนเองนัน้ เป็นส่วนด้อยของสังคม ไม่สามารถ
ทีจ่ ะรับสิทธิทเ่ี ท่าเทียมได้ คนข้ามเพศถูกปฏิบตั ใิ ห้เป็นสีสนั ของสังคม ถูก
ตีตราว่าเป็ นตลกน่าขบขัน ถูกล้อเลียน บางครัง้ สังคมก็ดเู หมือนให้การ
ยอมรับ แต่ในบ่อยครัง้ ก็ดเู หมือนรังเกียจและกีดกัน ถึงแม้วา่ ในปจจุบนั
สัง คมจะพยายามสร้า งภาพให้ดู เ หมือ นว่ า คนข้า มเพศนั น้ มีส ิท ธิแ ละ
ความเสมอภาคไม่ตา่ งจากคนทัวไป ่ แต่ภายใต้มายาคติทางสังคมดังกล่าว
นัน้ สังคมยังคงสร้างภาพลักษณ์ ให้คนข้ามเพศมีความหมายและคุณค่า
ในเชิงลบตลอดเวลา ด้วยเหตุน้หี ลายครัง้ ทีค่ นข้ามเพศพยายามแสดงออก
ซึง่ ตัวตนเพือ่ ให้เป็นทีย่ อมรับของสังคม คนข้ามเพศหลายคนพยายามสร้าง
จุดเด่น แต่ทงนี ั ้ ก้ ารยอมรับได้ของสังคมไทยก็ตงอยู
ั ้ บ่ นความจำกัดของระดับ
การยอมรับได้ตามศักยภาพความสามารถ อาชีพ ฐานะทางเศรษฐกิจและ
สังคม ของคนข้ามเพศทีแ่ ตกต่างกัน
ดังนัน้ การทำความเข้าใจถึงความหมายและคุณค่าของคนข้ามเพศ
102 ดำรงวิชาการ

นั น้ จำเป็ น อย่ า งยิ่ง ที่จ ะต้อ งทำความเข้า ใจเกี่ย วกับ สภาวการณ์ ท่ีเ อื้อ
อำนวยต่อการสร้างตัวตนของคนข้ามเพศทีม่ คี วามแตกต่างกัน ทัง้ นี้เป็ น
เพราะคนข้ามเพศมีความซับซ้อนของตัวตนทีห่ ลากหลาย ดังนัน้ การสร้าง
ความหมาย การสร้างตัวตนของคนข้ามเพศนัน้ จึงมีความแตกต่างกันตาม
แต่ละช่วงเวลาและพืน้ ที่ คนข้ามเพศจึงมีการจัดวางตำแหน่งทีท่ างของตัว
ตนผ่านกระบวนการสร้างอัตลักษณ์ทท่ี ำให้รบั รูไ้ ด้วา่ ตนเองเป็นใคร มีความ
สัมพันธ์กบั บุคคลอืน่ อย่างไรและยิง่ ไปกว่านัน้ บางครัง้ คนข้ามเพศยังต้องมี
การใช้อตั ลักษณ์รว่ ม (collective identity) เพือ่ เป็ นสัญลักษณ์ในการอ้างอิง
ความเป็ นตัวตน และการรวมกลุม่ เพือ่ สร้างพืน้ ทีใ่ ห้กบั ตนเอง เมือ่ เป็ นเช่นนี้
พืน้ ทีข่ องคนของคนข้ามเพศจึงไม่ใช่สงิ่ ทีเ่ กิดจากการกระทำของคนข้าม
เพศเท่านัน้ แต่เป็ นการเกิดขึน้ จากการหล่อหลอมทางสังคมควบคูก่ นั
พื้น ที่ท างสัง คมของคนข้า มเพศนั น้ เป็ น พื้น ที่ซ่ึง เป็ น เครือ ข่า ย
ของความสัมพันธ์เชิงอำนาจทีเ่ หลือ่ มลำระหว่างกลุม่ ต่างๆ ทัง้ ทีเ่ ป็ นกลุม่
ของสถาบันทางสังคมย่อย เช่น ครอบครัว สถานศึกษา จนไปถึงกลุม่ ของ
อำนาจรัฐ ไม่เว้นแม้แต่ในกลุม่ ของความสัมพันธ์กบั คนรักเพศเดียวกัน การ
ทีค่ นข้ามเพศถูกกระบวนการทางสังคมกระทำให้เป็ นชายขอบ การถูก
เบียดขับถูกทำให้ดอ้ ยอำนาจในการต่อรอง เป็ นกลุม่ ทีอ่ ยูใ่ นลำดับชัน้ ตำ
สุดในความสัมพันธ์เชิงอำนาจของกลุม่ คนรักเพศเดียวกัน และถูกทำให้
เป็นคนทีไ่ ร้พน้ื ที่ ทำให้คนข้ามเพศต้องเผชิญกับภาวะความเป็นคนชายขอบ
ในมิตติ ่างๆ อย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้
อย่างไรก็ตาม คนข้ามเพศนัน้ ได้พยายามดิน้ รนต่อรองต่อสภาวะ
ชายขอบและการถูกเบียดขับทีต่ นเองเผชิญ เพือ่ สร้างพืน้ ทีท่ างสังคมให้กบั
ตนเอง แต่การถูกเบียดขับทัง้ จากกลุม่ คนส่วนใหญ่ในสังคมและในกลุม่ คน
รักเพศเดียวกันในบางครัง้ ส่งผลให้คนข้ามเพศด้อยอำนาจในการต่อรอง
คนข้ามเพศ : ตัวตน วัฒนธรรมย่อย และพืน้ ทีท่ างสังคม 103

และมีสถานภาพทีไ่ ม่มนคง ั ่ ทำให้การสร้างพืน้ ทีท่ างสังคมของคนข้ามเพศ


ไม่ชดั เจน ดังจะเห็นได้จากการเคลื่อนไหวของคนข้ามเพศไม่ได้ปรากฏ
ผ่านศักยภาพของคนข้ามเพศโดยตรงที่พยายามต่อต้านและตอบโต้กบั
อำนาจในสังคม แต่ได้ปรากฏผ่านการช่วยเหลือและได้รบั ความร่วมมือของ
กลุม่ คนรักเพศเดียวกันประเภทอืน่ ทีพ่ ยายามดึงเอาประเด็นสำคัญๆ ของ
คนข้ามเพศมาสร้างใช้ผา่ นปฏิบตั กิ ารทางภาษา การพยายามนิยามความ
หมายและการนำเสนออัตลักษณ์ของคนข้ามเพศในการต่อรอง และการ
สร้างพืน้ ทีท่ างสังคม โดยนำเสนออัตลักษณ์ทแ่ี ตกต่างกันในการต่อรองใน
แต่ละเวลาและพืน้ ที่ กับความสัมพันธ์เชิงอำนาจทีแ่ ตกต่างกัน
นอกจากนี้กลุ่มของวัฒนธรรมย่อยของคนข้ามเพศ มักจะถูกก่อ
กำเนิดขึน้ การจากรวมกลุ่ม ซึง่ การรวมกลุ่มของคนข้ามเพศนัน้ เป็ นการ
หล่อหลอมตัวตนและร่วมแสดงอัตลักษณ์ ซึง่ ตัวตนและอัตลักษณ์ของคน
ข้ามเพศบางอย่างได้ถกู สร้างความหมาย และหยิบยืน่ ให้โดยสังคม อีกทัง้
ตัวตนของคนข้ามเพศถูกมองแบบเหมารวม และมีบทบาทการแสดงออก
ตามแบบทีส่ งั คมส่วนใหญ่คนุ้ เคย แต่ทว่าตัวตนและอัตลักษณ์ในบางแบบ
ของคนข้ามเพศกลับถูกปกปิ ดไว้ แต่ทงั ้ นี้ความเป็ นตัวตนและอัตลักษณ์
ของคนข้ามเพศกลับมีลกั ษณะทีม่ คี วามลืน่ ไหล ซับซ้อน จนไม่สามารถที่
จะมองอย่างตายตัวได้ ทังนี ้ พ้ น้ื ทีท่ างร่างกายก็เป็นส่วนหนึง่ ทีม่ สี ำคัญทีค่ น
ข้ามเพศมีการปรับแต่งให้สอดรับกับสถานการณ์และความสัมพันธ์อยูเ่ สมอ
ซำยังใช้เป็ นยุทธศาสตร์ในการสะท้อนความเป็ นตัวตนของตนเอง
พืน้ ทีข่ องการรวมตัวของคนข้ามเพศ ไม่ว่าจะเป็ นพืน้ ทีท่ างภูม-ิ
ศาสตร์อย่างสถาบันเสริมความงาม หรือพืน้ ทีบ่ นโลกไซเบอร์ ก็เป็ นอีก
หนึ่งทีเ่ ปิ ดโอกาสให้คนข้ามเพศได้คน้ พบตัวตนและอัตลักษณ์ของตนเอง
นอกจากนัน้ ยังเป็ นการให้โอกาสคนข้ามเพศได้มโี อกาสเข้าถึงสถานภาพ
104 ดำรงวิชาการ

ใหม่ทางสังคม คนข้ามเพศหลายคนใช้ความรู้ ความสามารถจากความเป็น


มืออาชีพทีเ่ กิดจากการฝึกฝนจากความชืน่ ชอบส่วนตัวไปสูก่ ารเปลีย่ นแปลง
ครัง้ สำคัญของชีวติ และในสถานการณ์แบบนี้ทำให้คนข้ามเพศบางคนได้
รับการยอมรับอย่างสูงจากสังคม แต่สง่ิ ทีน่ ่าสนใจคือ คนข้ามเพศบางคนใช้
โอกาสทางความสามารถที่โดดเด่นนี้อ้างความมีคุณูปการต่อสังคมและ
เป็นใบเบิกทางไปทีก่ ารยอมรับจากสังคมและครอบครัวของตนเอง และคน
ข้ามเพศยังมีการรับเอาความคาดหวังทางสังคมต่อบทบาทของลูกทีด่ มี คี วาม
กตัญญูโดยการดูแลจุนเจือครอบครัวอย่างดี

วัตถุประสงค์ของการวิ จยั
ศึกษากระบวนการสร้างตัวตน วัฒนธรรมย่อยและพืน้ ทีท่ างสังคม
ของคนข้ามเพศ

ระเบียบวิ ธีวิจยั
การศึกษาในครัง้ นี้เป็นการศึกษาแบบมุง่ เน้นการศึกษาโดยใช้หลัก
ของการวิจยั เชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เพือ่ เก็บรวบรวมข้อมูล
ทีเ่ กีย่ วข้องกับกระบวนการสร้างตัวตน วัฒนธรรมย่อยและพืน้ ทีท่ างสังคม
ของคนข้ามเพศ ผลของการสร้างพืน้ ทีท่ างสังคมและการต่อสู้ ต่อรอง ต่อ
ความสัมพันธ์เชิงอำนาจของกลุม่ คนข้ามเพศ ซึง่ เป็ นการบูรณาการข้อมูล
ทัง้ ทางด้านพฤติกรรมทางสังคม การรวมกลุ่ม ของคนข้ามเพศโดยใช้
หลักการของระเบียบวิธวี จิ ยั แบบ Oral History เพือ่ เป็ นการศึกษา Life
History ภายใต้กระบวนทัศน์ สร้างสรรค์สงั คม ในการบอกเล่าหรือการ
เล่าเรือ่ งทีเ่ คยถูกละเลย หรือปฏิเสธไม่ให้มกี ารกล่าวถึง เพือ่ ให้ทราบถึง การ
ดำรงชีวติ ประจำวันและกระบวนการต่อสูใ้ นชีวติ ประจำวัน
คนข้ามเพศ : ตัวตน วัฒนธรรมย่อย และพืน้ ทีท่ างสังคม 105

กรอบแนวคิ ดในการวิ จยั


การปรากฏตัว ของบุ ค คลที่ถู ก จัด ว่ า เป็ น เพศที่ผ ิด ออกไปจาก
เพศกระแสหลัก ได้ถกู ตีตราจากกรอบมาตรฐานหลักทางสังคมว่าเป็ นกลุม่
คนเบีย่ งเบน มีความวิปริตทางทางเพศ เป็ นภัยของสังคม สมควรทีร่ ฐั จะ
ต้องเข้ามาจัดการควบคุม การให้บทบาทของรัฐต่ออำนาจในการจัดการเรือ่ ง
ของเพศจึงเป็ นความทับซ้อนบนความเป็ นการเมือง เนื่องจากรัฐมีกลไก
การควบคุมทางเพศของบุคคล โดยการออกกฎหมาย หรือกำหนดนโยบาย
สาธารณะ ซึง่ เป็นเครือ่ งมือทีช่ อบธรรมในการจัดการกับประเด็นทางเพศที่
ไม่เข้ากับประเด็นของมาตรฐานสังคม รัฐรับรองการกระทำทางเพศทีถ่ กู ต้อง
ตามกฎหมาย ให้อภิสทิ ธิ ์แก่คนทีท่ ำตามกรอบกติกาทีร่ ฐั กำหนดในรูปของ
การคุม้ ครอง ในขณะทีผ่ ขู้ ดั ขืน ไม่ยอมทำตาม จะถูกลงโทษ โดยจะเป็ น
ไปในรูปแบบของการไม่ได้รบั การคุม้ ครองจากรัฐ ดังนัน้ กลุม่ คนเหล่านี้จงึ
พยายามทีจ่ ะต่อสู้ เรียกร้องเพือ่ จะรักษาและแสวงหาพืน้ ทีใ่ นการแสดงออก
ในแง่มมุ ต่างๆ ของตัวตนทางเพศ โดยมีสถาบันของรัฐเป็ นพืน้ ทีห่ ลักพืน้ ที่
หนึง่ ในการต่อสูเ้ รียกร้อง เพราะนอกจากจะต้องการให้รฐั ยอมรับ และรับรอง
เสรีภาพในเรือ่ งของเพศและตัวตนทางเพศแล้ว ยังเกีย่ วข้องกับการเปลีย่ น
แปลงนโยบายผลประโยชน์ อภิสทิ ธ์เกีย่ วกับความคุม้ ครองทีจ่ ะตามมาอีก
หลายประการ
106 ดำรงวิชาการ

ภาพที1 กรอบแนวคิดในการวิจยั

กลุ่มเป้ าหมาย
คือคนข้ามเพศทีเ่ ป็ นชายรักเพศเดียวกันทีเ่ ปิ ดเผยตนเองว่าเป็ น
คนข้ามเพศ ทัง้ ทีแ่ ปลงเพศและยังไม่ผา่ นการแปลงเพศ รวมถึงบุคคลทีอ่ ยู่
ระหว่างการตัดสินใจ และตรวจสอบทางด้านจิตวิทยาก่อนตัดสินใจตามกระบวน
การแปลงเพศ ซึง่ เป็ นผูท้ ย่ี นิ ดีให้ความร่วมมือและพร้อมทีจ่ ะมีสว่ นร่วมใน
การศึกษาอย่างแท้จริง โดยทีก่ ลุม่ เปาหมายเป็นบุคคลข้ามเพศทีม่ อี ายุมาก
กว่า 18 ปี ทีอ่ าศัยอยูใ่ นประเทศ จำนวน 30 คน

เครื่องมือที่ใช้ในการวิ จยั
ในการศึกษาครังนี
้ ้ ผูว้ จิ ยั เป็นเครือ่ งมือหลักในการเก็บรวบรวมข้อมูล
และวิเคราะห์ขอ้ มูล โดยใช้วธิ กี ารดังต่อไปนี้
คนข้ามเพศ : ตัวตน วัฒนธรรมย่อย และพืน้ ทีท่ างสังคม 107

1) การสังเกตอย่างมีส่วนร่วมและไม่มีส่วนร่วม โดยผูว้ จิ ยั ได้


กำหนดแนวทางการในสังเกต โดยการกำหนดวัตถุประสงค์ในการสังเกตไว้
ล่วงหน้า ซึง่ ในขณะทีผ่ วู้ จิ ยั จะเข้าไปสูพ่ น้ื ทีใ่ นการศึกษา ผูว้ จิ ยั จะศึกษา
เกีย่ วกับบริบทสภาพทัวไปของพื
่ น้ ทีน่ นั ้ คือ ความเป็ นอยู่ ลักษณะของ
สถานที่ การรวมกลุม่ นอกจากนี้ผวู้ จิ ยั จะเข้าไปสังเกตแบบไม่มสี ว่ นร่วม
คือ การเฝ้าสังเกตพฤติกรรมทางสังคม เช่น การเข้าไปสังเกตการพูดคุย
กันภายในกลุม่ คนข้ามเพศ และสังเกตลักษณะการทำงานในกระบวนการ
กลุม่ ของคนข้ามเพศว่าเป็ นอย่างไร มีการทำกิจกรรมอะไรบ้างในแต่ละวัน
หรือแม้แต่การเข้าร่วมประชุมภายในกลุ่มบ้างเป็ นครัง้ คราว โดยผูว้ จิ ยั มี
แนวทางการสังเกต ประกอบไปด้วย แนวทางการสังเกตแบบไม่มสี ว่ นร่วม
(non- participant observation) และแนวทางการสังเกตแบบมีสว่ นร่วม
(participant observation) เป็ นเครือ่ งมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล
2) การสัมภาษณ์ ผูว้ จิ ยั ทำการสัมภาษณ์ผูใ้ ห้ขอ้ มูลตามแนว
คำถามในการสัมภาษณ์ทผ่ี วู้ จิ ยั สร้างขึน้ และรวมถึงข้อคำถามทีอ่ าจจะเกิด
ขึน้ ในระหว่างการสังเกต โดยใช้เทคนิคการสัมภาษณ์แบบกึง่ โครงสร้าง
(Semi-Structure Interview หรือ SSI) ในการสัมภาษณ์ผรู้ หู้ รือผูใ้ ห้ขอ้ มูล
เป็ นสำคัญ ส่วนการให้สมั ภาษณ์กลุม่ เป้าหมายนัน้ จะใช้วธิ กี ารสัมภาษณ์
แบบเจาะลึก (In-Depth Interview) โดยมีแนวทางการสัมภาษณ์เป็นเครือ่ งมือ
ในการรวบรวมข้อมูล ในขณะทีท่ ำการศึกษาผูว้ จิ ยั จะปรับแนวทางในการ
สัมภาษณ์ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ทเ่ี กิดขึน้ ในขณะนัน้ เสมอ เพือ่ ให้ได้
ข้อมูลทีค่ รอบคลุมและตรงตามวัตถุประสงค์ของการวิจยั
3) การบันทึกเสียงคำสัมภาษณ์/บันทึกภาพ/สนทนากลุม่ ผูว้ จิ ยั
ใช้วธิ กี ารบันทึกเสียง บันทึกภาพ เพือ่ เป็ นการช่วยความจำข้อมูลทีไ่ ด้จาก
การสัมภาษณ์/การสนทนากลุม่ ทังนี ้ ผ้ วู้ จิ ยั ทำการขออนุญาตผูใ้ ห้ขอ้ มูลก่อน
108 ดำรงวิชาการ

เสมอ เมือ่ ได้รบั อนุญาตจึงจะทำการบันทึก

การวิ เคราะห์ข้อมูล
1) การวิ เคราะห์เชิ งเนื้ อหา (content analysis) ผูว้ จิ ยั ทำการ
อ่านข้อมูลทีไ่ ด้จากการเก็บรวบรวมข้อมูล รวมทังฟ ้ งเสียงจากการสัมภาษณ์/
สนทนากลุม่ ทีบ่ นั ทึกมา เพือ่ ให้เห็นรายละเอียดทังหมด
้ เพือ่ ให้ผวู้ จิ ยั สามารถ
หาสาระหลักและหยิบยกขึน้ มาเป็นประเด็นข้อความรูห้ ลัก (theme) และรอง
ทีไ่ ด้จากการประมวลข้อมูลดังทีก่ ล่าวถึง
2) การวิ เคราะห์โดยใช้ตาราง (matrix analysis) ข้อมูลทีไ่ ด้
จากการศึกษาถูกนำมาจัดกลุม่ ข้อมูลโดยใช้ตาราง (matrix) เพือ่ ให้เห็นความ
ชัดเจน ซึง่ จะทำให้ผวู้ จิ ยั สามารถนำไปใช้รว่ มในการวิเคราะห์เชิงเนื้อหาที่
กล่าวถึงข้างต้น

ผลการวิ จยั
ภาพปจจุบนั : ร้านเสริ มสวย พืน้ ที่แห่งการสะท้อนตัวตนคนข้ามเพศ
คนข้ามเพศทีพ่ บเห็นทัวไปในพื
่ น้ ทีต่ า่ งๆ ไม่วา่ จะเป็นตามร้านอาหาร
ตามคณะหมอลำ ตามร้านเสริมสวยในสังคมไทย จะเห็นว่ามีจำนวนมาก
และนับวันยิง่ มองเห็นได้ชดั เจนมากขึน้ ไม่วา่ จะเป็ นการดำรงชีวติ แบบไม่
เปิดเผย และเปิดเผย ทัง้ ทีผ่ า่ นการผ่าตัดแปลงเพศแล้ว และยังไม่ผา่ นการ
ผ่าตัดแปลงเพศ ทัง้ ทีท่ ำหน้าอกแล้ว และทีย่ งั ไม่ทำ ทัง้ หมดล้วนแต่เป็นการ
สะท้อนให้เห็นถึงความหลากหลาย และยังถูกทำให้เป็ นชายขอบแห่งเพศ
ทีต่ งั ้ อยู่บนพืน้ ฐานของการยอมรับได้ของสังคมทีม่ รี ะดับการยอมรับแตก
ต่างกัน รวมถึงการเป็ นพืน้ ทีร่ ะหว่างการสร้างการยอมรับ สร้างตัวตน และ
การแสดงออกซึง่ ความสามารถพิเศษในการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้
คนข้ามเพศ : ตัวตน วัฒนธรรมย่อย และพืน้ ทีท่ างสังคม 109

คนข้ามเพศนัน้ ส่วนใหญ่จะมีลกั ษณะร่วมทีเ่ หมือนกันคือ การพยายาม


อ้างอิงความเป็นเพศหญิง ทังการแต่
้ งกาย และกิรยิ า รวมไปถึงความสามารถ
พิเศษด้านการตกแต่งความงาม เช่นการเสริมสวยทีท่ ำให้คนข้ามเพศดู
โดดเด่นและยอมรับได้ในตำแหน่งอาชีพนี้
คนข้า มเพศในการวิจ ยั ครัง้ นี้ เ ป็ น กลุ่ ม คนที่ถูก เบีย ดขับ ให้อ อก
ไปจากคนอื่นในสังคม แต่คนข้ามเพศยังสามารถใช้ความรู้ ความพิเศษ
ด้า นพรสวรรค์ข องการสร้า งความงามภายใต้ข้อ ที่จ ำกัด ของการแสดง
ตัวตน ผ่านการเข้าร่วมกลุม่ ให้บริการด้านเสริมสวย และการทำงานอาชีพ
พิเศษ ทีค่ นข้ามเพศพยายามสร้างให้เป็ นจุดเด่นของการยอมรับได้และ
พยายามผลักดันให้เป็นอาชีพสงวนให้คนข้ามเพศเท่านัน้

เส้นทางของการเข้าสู่อาชีพให้บริ การด้านความงาม
พีห่ ญิง คนข้ามเพศวัย 45 ปี เป็ นช่างแต่งหน้าฝีมอื ดี เป็ นชาว
จังหวัดร้อยเอ็ดโดยกำเนิด พืน้ เพฐานะครอบครัวรับราชการ และมีฐานะดี
โดยหญิงได้สำเร็จการศึกษาในสาขาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต แต่ไม่ได้ใช้
ความรูค้ วามสามารถด้านวิทยาศาสตร์ในการสร้างอาชีพ หญิงเป็นเจ้าของ
ร้านเสริมสวยและร้านเช่าชุดไทย ชุดวิวาห์ทม่ี ชี อ่ื เสียง จนทุกวันนี้หญิงมี
รายได้ไม่ตำ กว่าเดือนละ 50,000 บาท จากการรับจ้างแต่งหน้านอกสถานที่
และการรับตัดชุดไหม ชุดไทย และชุดวิวาห์ หญิงให้ความสำคัญกับคน
ข้ามเพศรุ่นน้องทีต่ อ้ งการจะเรียนวิชาการตัดเย็บ และการแต่งหน้าจาก
ตนเองเสมอ
พวกเรารูด้ วี า่ การทีจะไปแย่
่ งคนอืนหางานทำนั
่ น้ เป็นไปได้ยากการ
สร้างอาชีพและการทำงานอิสระจะเหมาะสมกับกะเทยมากกว่า ด้วยเหตุน้ี
หญิงจึงบอกน้องเสมอว่าต้องทำตัวเองให้มคี วามสามารถ และสร้างอาชีพ
110 ดำรงวิชาการ

ด้วยตนเอง และอาชีพทีเ่ หมาะกับพวกเรามากทีส่ ดุ ก็เห็นจะเป็ นการเสริม


สวย การแต่งหน้า การตัดเย็บ เท่านัน้ ล่ะค่ะ เพราะเราเองก็ไม่ได้สวยเด่นพอ
ทีจะไปทำมาหากิ
่ นประเภทอืนเหมื ่ อนกะเทยทีเขาสวยๆ
่ ได้ (หญิง คนข้ามเพศ)
หญิงมีลูกน้องในร้านเสริมสวยและร้านตัดเย็บทีท่ ำงานประจำอยู่
6 คน ไม่นบั ลูกน้องทีจ่ า้ งเป็นเฉพาะกิจ อย่างเช่น เทศกาลลอยกระทง กีฬา
และรับปริญญา ทีจ่ ะมีลกู ค้าจำนวนมากมาใช้บริการการแต่งหน้าและทำผม
ในส่วนนี้หญิงจะมีการเรียกใช้ลูกน้ องในสังกัดตนเองมาร่วมงานอีกกว่า
สิบคน ซึง่ ลูกน้องทัง้ หมดนัน้ จะมีแต่คนข้ามเพศเท่านัน้
ศรีมาช่วยพีหญิ ่ งเป็นชัวครั่ งชั
้ วคราวเท่
่ านัน้ ค่ะ เพราะบางเวลาลูกค้า
มาก พีห่ ญิงทำไม่ทนั อีกอย่างศรีกม็ อี าชีพของตนเองอยู่ คือร้านขนม ที ่
ต้องดูแล ตรงนัน้ ก็มลี กู น้องทัง้ ชาย หญิง มาช่วยทำขนมขายรายวัน แต่
การมาช่วยพีห่ ญิงก็ทำให้ศรีได้เรียนรูว้ ชิ าการแต่งหน้าและทำผม ซึง่ ไม่แน่
ในอนาคตอาจจะเปิดร้านเสริมสวยเสริมรายได้อกี ร้านค่ะ (ศรี คนข้ามเพศ)
ทุ ก วัน นี้ ห ญิง ได้ย ึด อาชีพ ของการให้บ ริก ารด้า นความงามเป็ น
หลักให้แก่ตนเอง จนกระทังมี ่ รายได้ทม่ี นคงสามารถจุ
ั่ นเจือพ่อ แม่ พีน่ ้อง
ในครอบครัวได้ แม้วา่ ตอนแรกหญิงจะเป็ นบุคคลทีค่ รอบครัวคิดเสมอว่า
ทำให้เสือ่ มเสียชือ่ เสียง แต่ตอนนี้หญิงได้กลายเป็ นบุคคลทีค่ รอบครัวให้
ความรัก และความสำคัญ ซึง่ อาจจะหมายถึงการมีรายได้ของหญิงทีม่ าก
กว่าพีน่ ้องคนอืน่ และเป็ นบุคคลทีท่ ำให้พอ่ แม่นนั ้ อยูด่ ี กินดี และมีบา้ นใหม่
ถึงแม้วา่ หญิงจะเป็ นคนข้ามเพศแต่กเ็ ป็ นเสาหลักของครอบครัว และแม้วา่
จะเป็ นการยอมรับบนข้อจำกัดของรายได้กต็ าม แต่หญิงก็ภมู ใิ จในตัวเอง
คนข้ามเพศ : ตัวตน วัฒนธรรมย่อย และพืน้ ทีท่ างสังคม 111

ตัวตนที่หลากหลายของคนข้ามเพศ
การนิยามความหมายของเพศ และการทบทวนความเป็ นหญิงและ
ความเป็ นชาย เริม่ ต้นมาตัง้ แต่ชว่ งศตวรรษที่ 17-18 ในอังกฤษและฝรังเศส ่
และช่วงศตวรรษที่ 19 - 20 ในยุโรปและอเมริกา (สุชาดา ทวีสทิ ธิ ์, 2547
อ้างถึงใน Nicholson, 2000 : 290) แต่ในสังคมไทย ประวัตศิ าสตร์ของผู้
รักร่วมเพศนัน้ ไม่มคี วามชัดเจนว่าเริม่ ต้นเมือ่ ใด และไม่มกี ารบันทึกไว้เป็ น
หลักฐานอย่าง แต่อย่างไรก็ตาม มีความเชือ่ ว่าน่าจะมีการรับรูห้ รือมองเห็น
ปญหาของ พฤติกรรมรักร่วมเพศมาตัง้ แต่ในอดีต เพราะทัง้ นี้ได้มบี นั ทึก
ไว้ในเรือ่ งราวของพระพุทธศาสนา ไม่วา่ จะเป็ นในรูปแบบของนิทาน และ
ภาพพฤติกรรมรักเพศเดียวกันทีป่ รากฏบนจิตรกรรมฝาผนังของวัดต่างๆ
ในประเทศไทย นอกจากนี้ในพระไตรปิฎกอันประกอบด้วย พระวินยั ปิฎก
อภิธรรมปิฎก และ สุตตันตปิฎก เป็ นหลักธรรมทีส่ ำคัญของพุทธศาสนา
ได้กล่าวในเรือ่ งของ “กะเทย” หรือ “บันเฑาะก์” โดยที่ “บันเฑาะก์” ถือเป็ น
ข้อห้ามหนึ่งทีไ่ ม่ยนิ ยอมให้บวชได้ ความเชือ่ ในทางพระพุทธศาสนาเชือ่ ว่า
เพศของฆราวาสและเพศของบรรพชิตนัน้ สามารถ หลุดพ้น ได้ และพฤติ-
กรรมรักเพศเดียวกันได้มกี ารบัญญัตวิ า่ เป็นสิง่ ทีผ่ ดิ และไม่ดงี ามต่อพุทธศาสนา
โดยเฉพาะในพระวินยั ปิฎกได้ระบุเป็ นข้อห้ามข้อหนึ่งของพระสงฆ์วา่ จะ
กระทำมิได้ อันทำให้ไม่ใส่ใจช่วยเผยแผ่พระศาสนาอันเป็ นกิจของสงฆ์
ก่อนหน้าทีจ่ ะมีการใช้คำเรียกว่าคนข้ามเพศ ในอดีตคนข้ามเพศ
ถูกเรียกว่า กะเทย ซึง่ ในปจจุบนั กะเทยได้รบั ความสนใจจากสังคม และได้
เป็ นหัวข้อของการศึกษาหรือทำวิจยั อย่างกว้างขวางไม่ว่าจะเป็ นมิตทิ าง
ด้านการแพทย์ จิตวิทยา และมานุษยวิทยา กะเทยนัน้ ได้ถกู เหมารวมให้
อยูใ่ นกลุม่ ของชายรักร่วมเพศ (male homosexual) (Jackson, 1998 อ้างถึง
ใน Winter and Udomsak, 2002 : 4) แต่ในทางวิทยาศาสตร์ได้ให้
112 ดำรงวิชาการ

ความหมายของกะเทยไว้วา่ กะเทยแท้ คือ คนทีม่ อี วัยวะเพศของทัง้ เพศ


หญิงและเพศชายในร่างกายเดียวกัน แต่ต่อมาคำว่า กะเทย ถูกใช้เพื่อ
อธิบายชายทีร่ บั เอาบทบาทของความเป็นผูห้ ญิง ซึง่ ตรงกับคำภาษาอังกฤษ
ว่า “ladyboy” (Jackson, 1998 อ้างถึงใน Winter and Udomsak, 2002 : 4)
ในสังคมไทย กะเทย มีความหมายกว้างครอบคลุมไปถึงผูช้ ายที่
มีลกั ษณะทีอ่ งิ ความเป็นหญิงทังการแต่
้ งกายและการพูดจา รวมถึงการเรียก
กะเทยว่า เพศทีส่ าม หรือ สาวประเภทสอง ในการแต่งกายของกะเทยไทย
เทียบเคียงได้กบั คำว่า “transvestite” ซึง่ หมายถึง ผูท้ ป่ี รารถนาในการแต่ง-
กายทีต่ รงข้ามกับเพศของตน โดยคำนี้ได้ถกู ใช้ครัง้ แรกโดย Dr.Magnus
Hirschfeid ซึง่ เป็ นผูท้ ศ่ี กึ ษาพฤติกรรมทางเพศทางด้านการแพทย์ แต่ทาง
การวิจยั ใช้คำนี้ในการเรียกผูท้ ช่ี อบใส่เสือ้ ผ้าของเพศตรงข้ามทีม่ คี วามเบีย่ ง
เบนทางเพศ (Benjamin, 1996:2) ในสังคมตะวันตกกะเทยทีผ่ า่ นการแปลง
เพศ ตรงกับคำว่า “transsexual” ซึง่ หมายถึง การมีสภาพจิตใจเป็ นเพศ
ตรงข้ามซึง่ สามารถเป็ นได้ทงั ้ ชายและหญิง แต่คำว่ากะเทยจะมุ่งเน้นไป
ทีก่ ารต้องการเป็ นหญิง นัน่ คือคนเหล่านี้จะพยายามทุกวิถที างทีจ่ ะทำให้
ตนเองนัน้ เป็ นเพศทีต่ อ้ งการ ทัง้ นี้เป็ นเพราะการไม่พอใจในความเป็ นเพศ
และบทบาทของเพศทีส่ งั คมกำหนดให้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การมีอวัยวะ
เพศทีไ่ ม่ตอ้ งการและเป็ นอุปสรรคต่อการดำเนินชีวติ ดังนัน้ คนเหล่านี้จงึ
พยายามทีจ่ ะกำจัดอวัยวะเพศออกจากร่างกายและปรับเปลีย่ นเป็ นอวัยวะ
ทีต่ อ้ งการ โดยอาศัยนวัตกรรมทางการแพทย์ นันรวมไปถึ ่ งการใช้ฮอร์โมน
เพศหญิงในการรักษาควบคูไ่ ปกับการผ่าตัด (Bolin, 1992:457-460)
แต่ ถึง อย่า งไรก็ต ามลัก ษณะของกะเทยที่เ ป็ น ผู้ท่ีแ ต่ ง กายข้า ม
เพศ (transvestite) และผูท้ ผ่ี า่ นการผ่าตัดแปลงเพศ (transsexual) มีลกั ษณะ
ของการซ้อนทับคือ ผูท้ แ่ี ต่งกายข้ามเพศนัน้ ยังมีความเป็ นชายในบทบาท
คนข้ามเพศ : ตัวตน วัฒนธรรมย่อย และพืน้ ทีท่ างสังคม 113

ของสังคม แม้วา่ ความต้องการด้านจิตใจจะเป็นหญิง แต่ในฐานะทางสังคม


กลุม่ คนเหล่านี้จะมีลกั ษณะทีข่ ดั แย้งกับสังคมและกฎหมาย รวมถึงบางคน
มีลกั ษณะของรักต่างเพศและมีครอบครัวได้ แต่ในกะเทยบางคนจะมีความ
เข้มข้นของความต้องการเป็นหญิงเพิม่ ขึน้ คือ มีความเลือ่ นไหลไปมาระหว่าง
transvestite และ transsexual คือไม่สามารถยอมรับการมีความสัมพันธ์
ทางเพศกับหญิงได้ รวมถึงมีความต้องการทีจ่ ะเป็นหญิง และมีความสัมพันธ์
ทางเพศกับชาย แต่ยงั มีความกลัวทีจ่ ะเปลีย่ นแปลงอวัยวะเพศของตนเอง
จึงทำได้แค่เพียงการแต่งกาย การพูดจา และการดำเนินชีวติ แบบหญิงเท่า
นัน้ ในขณะทีย่ งั มีกะเทยบางกลุม่ ทีม่ คี วามสุดโต่งในการอ้างอิงเพศหญิง
กลุม่ สุดท้ายนี้จะเป็ น transsexual คือมีการเปลีย่ นแปลงอวัยวะเพศของ
ตนเองให้เป็ นหญิง (Benjamin, 1996:7)
ในระยะต่อมาได้มกี ารก่อกำเนิดกลุ่มคำที่ใช้เรียกกะเทยขึ้นมา
ใหม่ คือคำว่า “transgender” ซึง่ หมายถึงบุคคลทีม่ กี ารนิยามตนเองว่าเป็ น
ผูท้ ม่ี บี ทบาททางเพศตรงข้ามกับเพศทางสรีระของตนเอง ไม่วา่ จะเป็ นผูท้ ่ี
มีลกั ษณะทัง้ สองเพศ (intersexes) ผูท้ ม่ี สี ภาพจิตใจและผูท้ ม่ี คี วามต้องการ
เป็ นเพศตรงข้ามทัง้ ชายและหญิง (transsexual male และ transsexual
female) ผูท้ ช่ี อบแต่งกายด้วยเสือ้ ผ้าของเพศตรงข้าม (transvestite) ผูท้ ่ี
มีลกั ษณะทัง้ ชายและหญิงอยูใ่ นบุคคลเดียวกัน (androgynous) เพศทีส่ าม
(third gendered) ในการให้ความหมายของคำว่า transgender นัน้
Bullought (1979) นิยามไว้ครอบคลุมถึงผูช้ ายและผูห้ ญิงทีม่ คี วามสัมพันธ์
ทางเพศกับบุคคลเพศเดียวกันทีเ่ ป็ นรักต่างเพศ (heterosexual) กับบุคคล
ทีม่ คี วามสัมพันธ์ทางเพศกับผูร้ กั สองเพศ (bisexual) ดังนัน้ คำว่า trans-
gender จึงเป็ นคำกลางๆ ทีใ่ ช้สอ่ื ถึงบุคคลทีม่ ลี กั ษณะของการแต่งกายตรง
ข้ามกับเพศของตนเอง และมีความสัมพันธ์ทางเพศกับบุคคลทีร่ กั ต่างเพศ
114 ดำรงวิชาการ

และรักทัง้ สองเพศ นันรวมไปถึ


่ งกะเทยในสังคมไทยด้วยเช่นกัน

การนิ ยามตัวตนของคนข้ามเพศในพืน้ ที่ร่วมสมัย


ปรากฏการณ์ทางสังคมของการต่อสู้ การปะทะ และการช่วงชิงความ
หมายของการสร้างชุดความรู้ ความจริงโดยผ่านอำนาจของการใช้ปฏิบตั ิ
การทางภาษา และวาทกรรม เพือ่ ส่งเสริมให้อำนาจบางอย่างมีความเข้มแข็ง
ขึน้ รวมถึงการพยายามกดทับอำนาจบางอย่างให้ดอู อ่ นแอลง มักเป็ นการ
พยายามครอบงำอำนาจไว้ โดยกระทำผ่านการผลิตซำทางภาษา นันคื ่ อสิง่
ทีเ่ กิดขึน้ กับคนข้ามเพศนัน้ ไม่ใช่เพียงอำนาจทีถ่ ูกครอบงำจากปฏิสมั พันธ์
เชิงอำนาจในสังคมเท่านัน้ แต่ยงั เป็ นการต่อสูแ้ ละช่วงชิงอำนาจ และการ
พยายามนิยามตัวตนของตนเอง และในบางครังการใช้ ้ ปฏิบตั กิ ารทางภาษา
ของคนข้ามเพศนัน้ ได้ไปกดทับ หรือ เบียดขับคนข้ามเพศด้วยกันเอง
เราก็รตู้ วั ตัง้ แต่เกิดแล้วค่ะว่าเราเป็ นกะเทย แต่เราก็พยายามสร้าง
ตัวของตนเองด้วยน ำพักน ำแรง และไม่เคยทำตัวเสือ่ มเสีย บางครัง้ กะเทย
ก็ถกู ประจานจากสังคมว่าเป็ นพวกบ้าผูช้ าย เลี้ยงดูผชู้ าย หรือว่าขายตัวให้
ฝรังบ้
่ าง อะไรต่างๆ นานา เราก็ไม่โทษสังคมหรอกค่ะ แต่ทสัี ่ งคมพูดก็เป็นจริง
เพราะก็มกี ะเทยบางกลุม่ เป็ นอย่างทีเ่ ขาว่าค่ะ (จุ๊บแจง คนข้ามเพศ)
ความเห็น ของจุ๊ บ แจงไม่ ไ ด้แ ตกต่ า งไปจากคนข้า มเพศอย่ า ง
กระปุก ทีพ่ ยายามนิยามตนเองโดยการให้ความหมายทีแ่ ตกต่างไปจากคนอืน่
กระปุกไม่ใช่กะเทยนะคะ เป็ นผูห้ ญิงค่ะ เป็ นสาวอีกประเภทหนึ่ง
เท่านัน้ และก็ไม่ชอบให้ใครมาเรียกกะเทยค่ะ เพราะกระปุกก็รกั ษารูปร่าง
หน้าตา มีความสวยกว่าผูห้ ญิงบางคนซะอีก (กระปุก คนข้ามเพศ)
แม้แต่ในสังคมของคนข้ามเพศด้วยกัน ก็มกี ารให้ความหมายและ
การนิยามตัวตนทีแ่ ตกต่างกันไป คนข้ามเพศบางคนเรียกตัวเองว่าผูห้ ญิง
คนข้ามเพศ : ตัวตน วัฒนธรรมย่อย และพืน้ ทีท่ างสังคม 115

สาวประเภทสอง เพศทีส่ าม ทัง้ นี้กเ็ พือ่ เป็ นการยกระดับตนเองให้แตกต่าง


ไปจากคนข้ามเพศทัวไป ่ หรือ กะเทยธรรมดา อีกทัง้ คนข้ามเพศยังมีการ
ปะทะกันในทางความหมายภายในกลุม่
ความจริงมันก็คอื กะเทยทังหมดนะคะ
้ เราก็ตอ้ งยอมรับ จะยังไงเรา
ก็ไม่ใช่ผหู้ ญิงอยูด่ ี เพราะเราไม่มมี ดลูก ผูห้ ญิงต้องให้กำเนิดคนได้ แต่นี ่
เราทำไม่ได้ แม้วา่ เราจะสวยแค่ไหน หรือผ่านการผ่าตัดแปลงเพศมาแล้ว
ก็ตาม จะทำได้เต็มทีก่ แ็ ค่กะเทยยกระดับเท่านัน้ ค่ะ (เอส คนข้ามเพศ)
สิง่ สำคัญในการทำความเข้าใจเรือ่ งของอำนาจและการใช้วาทกรรม
นัน้ เป็ นเรือ่ งของอำนาจทีเ่ กิดจากการช่วงชิงความหมายของคนทีถ่ ูกเบียด
ขับ หรือคนชายขอบในสังคม นันรวมไปถึ ่ งคนข้ามเพศทีพ่ ยายามต่อสูท้ งั ้
ในระดับปจเจกและในระดับกลุ่ม ซึง่ มีทงั ้ การต่อสูท้ เ่ี ป็ นทางการและการ
ต่อสูใ้ นชีวติ ประจำวัน ซึง่ ล้วนแต่เป็นการต่อรองกับความสัมพันธ์เชิงอำนาจ
ในสังคม โดยคนข้ามเพศนัน้ ได้ทำการต่อสู้ ต่อรองผ่านปฏิบตั กิ ารทางภาษา
และ การพยายามแสดงตัวตนและความหมาย พร้อมทัง้ แสวงหาพืน้ ทีท่ าง
สังคมของตนเอง
การต่อสู้ ต่อรองกับความสัมพันธ์เชิงอำนาจของคนข้ามเพศเป็ น
การพยายามช่วงชิงความหมาย และการสร้างพืน้ ทีท่ างสังคมให้เป็ นทีย่ อม
รับได้ แต่ถงึ อย่างไรก็ตาม การพยายามครอบงำคนข้ามเพศจากกลุม่ ความ
สัมพันธ์เชิงอำนาจนัน้ ไม่ใช่เพียงแค่การครอบงำในระดับบนลงล่างเท่านัน้
แต่คนข้ามเพศนัน้ ยังถูกครอบงำจากระดับแนวราบ ซึง่ มีทงการครอบงำและ
ั้
เบียดขับจากสังคม และจากคนข้ามเพศด้วยกันเอง
เพือ่ นกะเทยด้วยกันก็ไม่ได้หมายความจะสนิทใจในการคบกันค่ะ
เดีย๋ วนี้กม็ กี ารจัดกลุม่ เป็นกะเทยมีการศึกษา กะเทยในมหาลัย กะเทยมีเงิน
กะเทยบ้านนอก กะเทยหางเครือ่ ง กะเทยลูกจ้าง สารพัดจะนำมาจัดกลุม่
116 ดำรงวิชาการ

ถึงแม้วา่ ในบางครังพวกเราจะมี
้ การรวมตัวกัน แต่ในเรืองที
่ นำมาพู
่ ดคุยหรือ
ปรึกษากันก็ยงั เป็นเรืองเฉพาะกลุ
่ ม่ เช่น พวกมีเงินเค้าก็จะคุยกันเรืองเรี
่ ยน
ต่อ เรือ่ งไปต่างประเทศ และเค้าก็ไม่ได้ให้เราแสดงความคิดเห็นอันใด คง
เพราะคิดว่าเราไม่มกี ารศึกษาค่ะ (กบ คนข้ามเพศ)
แต่ถงึ อย่างไรก็ตามคนข้ามเพศก็พยายามแสวงหาทางออก โดย
การสร้างชุดความหมายใหม่ขน้ึ มา เพือ่ เป็ นการสร้างวาทกรรมอันใหม่นนั ่
คือ การพยายามหาความหมายทีไ่ ม่ใช่เพียงแค่มองว่า แท้จริงแล้วคนข้าม
เพศก็เป็ นเพียงแค่ กะเทย เท่านัน้
ดังนัน้ การทีค่ นข้ามเพศจะหลุดออกจากการครอบงำทางสังคม จำ
เป็ นอย่างยิง่ ที่คนข้ามเพศจะต้องสร้างตัวตนให้แตกต่างออกไปจากการ
นิยามโดยสังคม จากการศึกษาคนข้ามเพศ ทำให้ทราบว่า การนิยามตัวตน
ของคนข้ามเพศ และการใช้ชวี ติ ประจำวันของคนข้ามเพศเป็นส่วนหนึง่ ของ
การสร้างพืน้ ทีท่ างสังคมเช่นกัน

รูปแบบของวัฒนธรรมย่อย และพืน้ ที่ทางสังคมของคนข้ามเพศ


การทำงานด้านการเสริมสวย และการให้บริการด้านความงามนัน้ ดู
ราวจะเป็นอาชีพทีส่ ร้างความมันคงให้
่ คนข้ามเพศ รวมถึงยังเป็นพืน้ ทีแ่ ห่ง
การยอมรับตัวตนของคนข้ามเพศ ดังจะเห็นได้จากการนำเสนอความงาม
ทัง้ ด้านการแต่งตัว การออกแบบทรงผม การออกแบบตัดเย็บเสือ้ ผ้า รวม
ไปถึงไอเดียและแนวคิดของการจัดสวน จัดดอกไม้ ส่วนมากจะมีคนข้าม
เพศเป็ นทีมงานในการจัด หรือเป็ นผูจ้ ดั การนัน้ เสียเอง ดังจะเห็นได้วา่ ใน
ต่างจังหวัดและในเมืองใหญ่ คนข้ามเพศนัน้ จะมีพน้ื ทีท่ างสังคมมากมายไม่
แตกต่างกันมากนัก ไม่วา่ จะเป็น ร้านเสริมสวย หรือ คณะหมอลำ ในขณะที่
ในเมืองหลวง คนข้ามเพศจะมีพน้ ื ทีท่ างสังคมเป็นสปา ร้านอาหาร คอฟฟีช่ อ๊ ป
คนข้ามเพศ : ตัวตน วัฒนธรรมย่อย และพืน้ ทีท่ างสังคม 117

และเวทีการแสดงคาบาเร่ตโ์ ชว์ นันคื ่ อจะแตกต่างกันไปตามสถานที่ เวลา


ความสามารถ ฐานะทางเศรษฐกิจ และโอกาสทางสังคมของคนข้ามเพศเอง
บ่อยครัง้ ที่คนข้ามเพศใช้อตั ลักษณ์ ร่วมที่เหมือนกันในการสร้าง
วัฒนธรรมย่อย นันคื ่ อ การอ้างอิงการเลียนแบบเพศหญิง แต่ทแ่ี ตกต่าง
กันคือ คนข้ามเพศทีม่ รี ะยะห่างของชนชัน้ ฐานะ และอาชีพ ไม่สามารถ
ทีจ่ ะมีสร้างวัฒนธรรมย่อยทีค่ ล้ายคลึงกันได้ จากการเก็บข้อมูลทำให้ทราบ
ว่าวัฒนธรรมย่อยของคนข้ามเพศมีสว่ นสำคัญทีส่ มั พันธ์กบั พืน้ ที่ เวลา และ
โอกาสในการแสดงตัวตนของคนข้ามเพศ
แต่ถงึ จะมีช่องว่างของระดับฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างไร
คนข้ามเพศก็จะมีลกั ษณะร่วมเสมอ ซึง่ จากข้อมูลทีพ่ บทำให้ทราบว่าคน
ข้ามเพศมีรปู แบบของวัฒนธรรมย่อยทีแ่ ตกต่างกันไปตามพืน้ ที่ นันคื ่ อ คน
ข้ามเพศทีม่ ลี กั ษณะของการอ้างอิงเพศหญิงทีไ่ ม่สุดโต่งจะมีวฒ ั นธรรมที่
แตกต่างจากคนข้ามเพศทีอ่ า้ งอิงความเป็ นหญิงทีส่ ดุ โต่ง
ตอนทำงานก็ตอ้ งแต่งชายค่ะ เพือ่ ความเหมาะสมของสถานที ่ แม้
แต่เวลาพูดก็ตอ้ งใช้คำว่า ครับ หรือใช้คำแทนตัวเองว่า ผม แต่นนไม่ ั ่ ได้
ใช้ตลอดเวลา หากเราอยูก่ บั เพือ่ นกะเทยด้วยกัน หรือกับเพือ่ นสนิท ก็จะ
ใช้คำพูดของผูห้ ญิง บางทีกใ็ ช้คำพูดแรงๆ ซึง่ เราก็รตู้ วั เองว่าโอกาสไหน
สถานทีอ่ ย่างไร ทีเ่ ราควรจะแสดงออกอย่างไร (น้อย คนข้ามเพศ)
การแสดงออกของน้อย ทำให้ทราบว่าพืน้ ทีแ่ ละโอกาส รวมถึงบุคคล
ทีม่ ปี ฏิสมั พันธ์ดว้ ย มีอทิ ธิผลต่อการแสดงตัวตนของน้อย ซึง่ แตกต่างจาก
นำฝน
...เราก็เป็นผูห้ ญิงเหมือนกันนะ แต่เป็นผูห้ ญิงอีกแบบหนึง่ ในสไตล์
ของเรา ฝนเองก็แต่งหญิงตลอดเวลาทัง้ เวลาอยูท่ บี ่ า้ น และเวลาไปเรียน
คำพูดคำจาก็เป็ นแบบหญิงตลอด ไม่ได้แอ๊บเหมือนคนอืน่ ค่ะ ก็เรามันใจ... ่
118 ดำรงวิชาการ

(นำฝน คนข้ามเพศ)
วัฒนธรรมย่อยของการพูดจาและการแต่งกายของคนข้ามเพศมี
รูปแบบทีแ่ ตกต่างกันเมือ่ คนข้ามเพศต้องอยูใ่ นพืน้ ทีส่ าธารณะ นันเป็่ นเพราะ
อิทธิพลของความแตกต่างในการนิยามลักษณะของตัวตน แต่ถงึ อย่างไร
ก็ตาม หากคนข้ามเพศได้มาอยูพ่ น้ื ทีท่ เ่ี ป็ นของตนเองแล้ว คนข้ามเพศไม่
ว่าจะเป็ นผูท้ อ่ี า้ งอิงเพศหญิงทีส่ ดุ โต่ง และไม่สดุ โต่ง ก็สามารถแสดงออก
ซึง่ ตัวตนของตนเองได้ โดยไม่จำเป็ นต้องปิดบัง
นอกเหนือจากการพูดจา และการแต่งกายแล้ว อิทธิพลของระดับ
การนิยามตัวตนของคนข้ามเพศก็สง่ ผลต่อการมีความสัมพันธ์กบั เพศชาย
ด้วยเช่นกัน คนข้ามเพศทีม่ ฐี านะทางเศรษฐกิจและสังคมทีอ่ ยูใ่ นระดับสูง
จะมีโอกาสได้รจู้ กั ผูช้ ายในระดับทีส่ งู กว่าคนข้ามเพศทีม่ ฐี านะทางเศรษฐกิจ
ไม่ดี นันคื่ อโอกาสทางเศรษฐกิจจะบ่งบอกถึงรสนิยมในการแต่งกาย การ
ใช้เครือ่ งประดับของคนข้ามเพศ ซึง่ คนข้ามเพศทีม่ ฐี านะทางการเงินทีด่ จี ะ
มีการใช้สนิ ค้ายีห่ อ้ ดัง และมีราคาแพง ทีส่ ามารถสือ่ ให้เพศชายรูว้ า่ เธอผู้
นี้สามารถทีจ่ ะเลีย้ งดูปเู สือ่ เพศชายได้อย่างดี แต่แม้คนข้ามเพศทีม่ ฐี านะ
ทางเศรษฐกิจทีไ่ ม่ดี และไม่มอี ำนาจทางการเงิน ก็พยายามทีจ่ ะแสดงออก
ซึง่ การจับจ่ายและการเอาอกเอาใจเพศชายเท่าทีต่ นเองจะทำได้
...เราก็มอี าชีพเป็ นลูกจ้างร้านเสริมสวย ได้รบั เงินเป็ นรายวันซึง่ ก็
ไม่ได้มากมาย แต่กบเองก็พยายามเจือจานให้หนุ่มเต็มที ่ อย่างน้อยก็พอ
ได้ซอ้ ื เหล้าซือ้ เบียร์ เพราะลำพังอาชีพขับรถรับจ้างของหนุ่มก็ไม่พอใช้จา่ ย
แต่หากจะให้เราจ่ายประจำเป็นรายเดือนก็ไม่มปี ญ  ญาเลยค่ะ... (กบ คนข้ามเพศ)
...เงินเดือนมันคงค่
่ ะ รับราชการ ก็แบ่งให้แฟนใช้เป็นรายเดือน พา
เค้าไปเทียวบ้่ างบางโอกาส ส่วนเราเองก็แบ่งไว้เก็บไว้ใช้สว่ นตัว ซือ้ เสือ้ ผ้า
เครืองสำอาง
่ ทำตัวให้สวยเสมอ เพราะก็กลัวเขาจะตีจากไปหาสาวๆ เหมือน
คนข้ามเพศ : ตัวตน วัฒนธรรมย่อย และพืน้ ทีท่ างสังคม 119

กันค่ะ ...บางทีกน็ ้อยใจค่ะทีตั่ วเขาให้เราเป็นคนดูแล ในขณะทีเขาก็่ เอาเงิน


จากเราไปดูแลผูห้ ญิง...แต่กพ็ ดู อะไรมากไม่ได้คะ่ เพราะเขาเองก็อยูใ่ นสังคม
เดียวกันกับเรา หากสังคมรูว้ ่ามีกะเทยเลี้ยงดู เขาเองก็คงจะอายค่ะ...
(เชษฐ์ คนข้ามเพศ)
จากเรือ่ งราวของกบ และเชษฐ์ แม้จะเป็ นคนข้ามเพศเหมือนกัน
แต่ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมทีแ่ ตกต่างกันทำให้ความสัมพันธ์ทม่ี ตี ่อ
คนรักแสดงออกในระดับทีแ่ ตกต่างกัน นันหมายความว่
่ าความสัมพันธ์ของ
เพศชายที่มตี ่อคนข้ามเพศเป็ นรูปแบบของวัฒนธรรมย่อยที่แตกต่างไป
จากรักต่างเพศเช่นชายและหญิงทัวไป ่ คนข้ามเพศมีความสัมพันธ์กบั เพศ
ชายบนเงือ่ นไขทีจ่ ำกัด และเป็นการคบหาบนการแลกเปลีย่ นผลประโยชน์
ซึง่ กันและกัน นันคื่ อ คนข้ามเพศจะให้ขอ้ เสนอเรือ่ งของการเลีย้ งดูและค่า
ใช้จา่ ย รวมถึงการอำนายความสะดวกในการใช้ชวี ติ ในแต่ละวัน แต่ฝา่ ย
ชายเองต้องตอบสนองโดยการมอบร่างกายและศักดิศรี ์ ให้คนข้ามเพศ
การแสดงออกซึ่งวัฒนธรรมย่อยของคนข้ามเพศจะมีพลังในการ
ต่อสู้ ต่อรองกับความสัมพันธ์เชิงอำนาจมาก เมือ่ มีการรวมกลุม่ เกิดขึน้
นัน่ คือคนข้ามเพศมีการพยายามทีจ่ ะต่อสู้ เพื่อเปิ ดพืน้ ทีท่ างสังคมให้กบั
ตนเองตลอดเวลา ไม่วา่ จะเป็ นการใช้ชวี ติ ในประจำวัน หรือแม้แต่การเข้า
ร่วมกลุ่ม โดยการเข้าร่วมกลุ่มของคนข้ามเพศนัน้ จะเริม่ ต้นมาจากความ
ต้องการของตนเองเป็ นหลัก นันคื ่ อการพยายามหาทางออกซึง่ การแสดง
ตัวตนของตนเอง คนข้ามเพศหลายคนทีเ่ ลือกพืน้ ทีท่ างภูมศิ าสตร์ในการ
รวมกลุม่ ไม่วา่ จะเป็ นพืน้ ทีร่ า้ นเสริมสวย สปา สวนสาธารณะ ฟิตเนต
หรือ แม้แ ต่ พ้ืน ที่เ สมือ นจริง เพราะคนข้า มเพศบางคนยัง มีค วามจำกัด
ในการแสดงออกซึง่ ตัวตน คนข้ามเพศจะมีพน้ื ทีห่ ลักทีจ่ ะมีการเข้าไปร่วม
กลุม่ เป็นประจำ ในขณะทีบ่ างครังจะมี ้ พน้ื ทีร่ องในการไปพบปะบ้างเป็นครัง้
120 ดำรงวิชาการ

คราว แล้วแต่โอกาสและปจจัย ในการเลือกพืน้ ทีข่ องคนข้ามเพศมักจะขึน้


กับวัฒนธรรมย่อยทีถ่ กู ใจของตนเอง ทังที ้ เ่ ป็นพืน้ ทีท่ ไ่ี ม่ไกลสามารถเดินทาง
ไปมาได้ ในพืน้ ทีแ่ ห่งนัน้ มีเพือ่ นทีถ่ กู ใจ หรือพืน้ ทีแ่ ห่งนัน้ มีกจิ กรรมทีต่ รง
กับความถนัดและความสนใจของตนเอง
การเริม่ ต้นของการไปรวมกลุม่ ของคนข้ามเพศนัน้ มีหลายรูปแบบ
ทัง้ ทีไ่ ปด้วยตนเอง และการชักชวนของเพือ่ น ทัง้ นี้ไม่วา่ จะอย่างไรก็ตาม
จุ ด ประสงค์ข องการเข้า ไปรวมกลุ่ ม ของคนข้า มเพศนั น้ จะเป็ น ไปเพื่อ
ต้องการแสดงออกซึง่ ตัวตนของตนเอง ทีพ่ วกเขาไม่สามารถกระทำได้ทวั ่
ไปในสังคม อีกทัง้ ยังเป็ นการรวมกลุม่ ของวัฒนธรรมย่อย เป็ นการสร้าง
เครือข่ายทางสังคม และยังเป็ นพัฒนาการด้านตัวตนของคนข้ามเพศอัน
เกิดจากการเรียนรูจ้ ากประสบการณ์ของเพือ่ นคนอืน่ ทีก่ ่อให้เกิดการสร้าง
ความรูใ้ นการแสดงตัวตน การสร้างพืน้ ทีท่ างสังคมด้วยตนเอง และรวมไป
ถึงการช่วยเหลือเกือ้ กูลกันในด้านต่างๆ

สรุปผลและอภิ ปรายผลการวิ จยั


ในสังคมไทยยังพบเห็นได้ว่าคนข้ามเพศนัน้ ยังจัดอยู่ในสถานะ
ของคนชายขอบ และยังถูกเบียดขับจากสังคมในหลายลักษณะ ไม่วา่ จะ
เป็ นการถูกกีดกันให้เข้าถึงตำแหน่งในหน้าทีก่ ารงาน การเข้ารับการศึกษา
การเลือกปฏิบตั ดิ า้ นการแพทย์ สาธารณสุข การประกันชีวติ ทัง้ นี้เป็ น
เพราะคนข้ามเพศขาดอัตลักษณ์ทางตัวตนทีแ่ น่นอน และยังมีวถิ ขี องการ
ใช้ชวี ติ ทีแ่ ตกต่างไปจากชายและหญิงทัวไป
่ ดังนัน้ คนข้ามเพศจึงมีความ
พยายามทีจ่ ะดิน้ รน ต่อสู้ ต่อรองกับสถานการณ์ในหลายลักษณะ ไม่วา่ จะ

เป็นการต่อสูใ้ นระดับปจเจกของการใช้ ชวี ติ ประจำวัน หรือการรวมกลุม่ เพือ่
เป็ นพลังของการต่อสู้ ต่อรองกับความสัมพันธ์เชิงอำนาจ ซึง่ ยุทธศาสตร์
คนข้ามเพศ : ตัวตน วัฒนธรรมย่อย และพืน้ ทีท่ างสังคม 121

สำคัญ ที่ค นข้า มเพศเลือ กในการจัด การกับ ความสัม พัน ธ์เ ชิง อำนาจใน
สังคม คือ การพยายามสร้างความหมายใหม่ให้กบั ตนเองด้วยการแสวงหา
พืน้ ทีท่ างสังคม รวมไปถึงการสร้างพืน้ ทีท่ างสังคมทีเ่ ป็นทีย่ อมรับเพือ่ ดำรง
คุณค่าของตนเอง (อานันท์ กาญจนพันธุ,์ 2545: 6)
การสร้างพื้นที่ทางสังคมของคนข้ามเพศเกิดจากเครือข่ายทาง
สังคมทีพ่ วกเขามีรว่ มกัน ซึง่ เป็ นความสัมพันธ์ในทุกๆ ด้านทีม่ ตี ่อกัน ทัง้
ในด้านเศรษฐกิจ สังคม การพูดคุย ปรึกษา แลกเปลีย่ นประสบการณ์ รวม
ถึงการช่วยเหลือซึง่ กันและกัน โดยเครือข่ายทางสังคมนัน้ มีอทิ ธิพลในการ
กำหนดแนวทางพฤติกรรมเพราะความสัมพันธ์ระหว่างกันนำมาซึ่งการ
แลกเปลีย่ นซึง่ กันทังในด้
้ านวัตถุและไม่ใช่วตั ถุ อันหมายถึงสิง่ ของความช่วย
เหลือต่างๆ เช่น ด้านการเงินหรือความผูกพันทางใจ ดังนัน้ ความสัมพันธ์
ระหว่างคนข้ามเพศจึงหมายถึงการได้รบั ประโยชน์ทงั ้ สองฝา่ ย การพบปะ
กันบ่อยๆ นำมาซึง่ เครือข่ายทางสังคมทีด่ ภี ายในกลุม่ คนข้ามเพศ (พิมพวัลย์
ปรีดาสวัสดิ,์ 2530:151)
การสร้างพื้นที่ทางสังคมของคนข้ามเพศก่อกำเนิ ดขึ้นจากการ
ไม่ได้รบั การยอมรับจากสังคมทัง้ ในด้านตัวตนและพฤติกรรม ส่งผลให้คน
ข้ามเพศต้องรวมกลุม่ กันเองและเกิดเป็นวัฒนธรรมย่อยขึน้ มา ซึง่ วัฒนธรรม
ย่อยของคนข้ามเพศคือ วัฒนธรรมใหม่ทส่ี ร้างขึน้ ในรูปของกิจกรรมต่างๆ ที่
ทำร่วมกันจนทำให้เกิดประเพณีทเ่ี ด่นชัดขึน้ ในกลุม่ ซึง่ จะชีใ้ ห้เห็นถึงวิธคี ดิ
ความรูส้ กึ และพฤติกรรม โดยปจจัยทีก่ ่อให้เกิดวัฒนธรรมย่อยมาจาก
ประสบการณ์ทเ่ี ป็นปญหา ทำให้เกิดกลุม่ สังคมและมีการรวมตัวเพือ่ หาทาง
ออกให้กบั ปญหาและเกิดจากการสร้างครือข่ายทางสังคมของผูท้ ป่ี ระสบ
ปญหาทีค่ ล้ายคลึงกัน จนนำมาสูก่ ารรวมกลุม่ ในขนาดใหญ่ขน้ึ ทัง้ นี้กเ็ พือ่
จัดการกับความสัมพันธ์เชิงอำนาจทีม่ อี ยูท่ วไปในสั
ั่ งคม
122 ดำรงวิชาการ

นอกจากนี้ พ้ืน ที่ท างสัง คมของคนข้า มเพศเป็ น พื้น ที่ข องการ


เรียนรูป้ ระสบการณ์ชวี ติ ด้านเพศวิถี เป็นพืน้ ทีใ่ นการแสดงความรูส้ กึ ปลด
ปล่อยความทุกข์ และสร้างความสุขให้กบั ตัวเอง ตามวิถที างทีป่ รารถนา
ซึง่ สิง่ เหล่านี้คนข้ามเพศไม่สามารถกระทำได้งา่ ยในพืน้ ทีอ่ น่ื ๆ ทัง้ นี้เพราะ
พื้นที่ทางสังคมของคนข้ามเพศถูกสร้างขึน้ และกำหนดให้มคี วามหมาย
ที่นิยามพื้นที่ทางภูมศิ าสตร์ให้เชื่อมโยงเข้ากับความสัมพันธ์ทางสังคม
ซึง่ เป็นพืน้ ทีใ่ นการรองรับการใช้ชวี ติ ของในรูปแบบต่างๆ ทีม่ คี วามเป็นส่วน
ตัวและไม่เปิดเผย หรือพืน้ ทีท่ เ่ี ปิดเผย รวมถึงอาจจะเป็ นพืน้ ทีแ่ ห่งโอกาสมี
ความสัมพันธ์ทางเพศได้ในเวลาเดียวกัน
ถึง แม้ว่า การเข้า ไปสู่พ้นื ที่ท างสัง คมของคนข้า มเพศบางครัง้ ดู
เหมือนว่าจะเป็ นการมุ่งตอบสนองความต้องการทางด้านวัตถุ มากกว่า
ความต้องการในเชิงอุดมคติ ซึง่ เป็นการใช้ชวี ติ เพือ่ การตอบสนองทางเพศ
และการตอบสนองทางอารมณ์ ใ นด้า นความบัน เทิง ที่ต งั ้ อยู่บนเงื่อ นไข
ของการแลกเปลีย่ นเชิงวัตถุเท่านัน้ แต่เงือ่ นไขในการสร้างพืน้ ทีท่ างสังคม
ของคนข้า มเพศก็ต ัง้ ไว้บ นพื้น ฐานของความต้อ งการในการที่จ ะต่ อ สู้
ต่อรองกับความสัมพันธ์เชิงอำนาจ ผ่านกระบวนการสร้างความหมายให้
กับตนเอง และผ่านการใช้อตั ลักษณ์รว่ มในการรวมกลุม่ จนก่อกำเนิด
รูปแบบของวัฒนธรรมย่อยขึน้ มา ไม่วา่ จะพืน้ ทีท่ างสังคมของคนข้ามเพศ
นัน้ จะเป็ นเพียงพืน้ ทีเ่ ฉพาะของคนข้ามเพศ แต่ถงึ อย่างไรก็ตามคนข้าม
เพศก็หวังไว้เสมอว่าพืน้ ทีท่ างสังคม รวมไปถึงกลุม่ ของวัฒนธรรมย่อยของ
ตนเองนัน้ จะได้รบั การยอมรับจากสังคมด้วยเช่นเดียวกัน
คนข้ามเพศ : ตัวตน วัฒนธรรมย่อย และพืน้ ทีท่ างสังคม 123

ข้อเสนอแนะ
การนำข้อมูลทีไ่ ด้จากการศึกษาตัวตน วัฒนธรรมย่อย และพืน้ ที่
ทางสังคมของคนข้ามเพศ จะทำให้มองเห็นลักษณะของการรวมกลุม่ อัน
จะไปสูก่ ารทำความเข้าใจขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมของคนข้ามเพศ
ได้ รวมถึงสามารถทำความเข้าใจปรากฏการณ์ทางสังคมทีค่ ล้ายคลึงกัน
เช่น การศึกษาวิถที างสังคมของกลุม่ คนรักเพศเดียวกัน กลุม่ ของชายรัก
ชาย และหญิงรักหญิงได้

กิ ตติ กรรมประกาศ
การศึกษาครังนี
้ ส้ ำเร็จลุลว่ งได้ดว้ ยความกรุณาของผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์
ดร.เยาวลักษณ์ อภิชาติวลั ลภ และดร.มณีมยั ทองอยู ่ ผูช้ ว่ ยศาสตรจารย์
และอาจารย์ประจำภาควิชาสังคมวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น และงานการศึกษาครัง้ นี้ได้รบั ทุนสนับสนุนการทำ
วิจยั จากบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น ทุนสนับสนุนการเผยแพร่
ผลงานการวิจยั จากศูนย์วจิ ยั พหุลกั ษณ์สงั คมลุม่ นำโขง มหาวิทยาลัย
ขอนแก่น ทีไ่ ด้ชแ้ี นะ ให้ทนุ สนับสนุนตลอดจนกรุณาเป็ นทีป่ รึกษาตลอด
การวิจยั ขอกราบขอพระคุณไว้ ณ ทีน่ ้ีดว้ ย
124 ดำรงวิชาการ

เอกสารอ้างอิ ง

จตุพร บุญหลง. (2548). ชีวิตติ ดเบอร์: ตัวตนและเพศ วิถขี องเกย์ "ควิง”


ในเซานา M. กรุงเทพฯ: สำนักบัณฑิตอาสาสมัคร มหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร์.
พิมพ์วลั ย์ ปรีดาสวัสดิ.์ (2530). การดูแลรักษาสุขภาพตนเองและทัศน
ทางสังคมวัฒนธรรม. ศูนย์ศกึ ษานโยบายสาธารณสุข มหาวิทยาลัย
มหิดล.
สุชาดา ทวีสทิ ธิ ์. (2547). "เพศภาวะ : การท้าทายร่าง การค้นหาตัวตน"
ใน สุชาดา ทวีสทิ ธิ ์ (บรรณาธิการ). เพศภาวะ : กระบวนทัศน์
เพื่อโลกใบใหม่ที่เท่าเทียม. (หน้า 1 – 20). เชียงใหม่ : ศูนย์
สตรีศกึ ษา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภายใต้การ
สนับสนุนของมูลนิธริ อ้ คกีเ้ ฟลเลอร์.
สุไลพร ชลวิไล. (2550). เพศไม่นิ่ง ตัวตน เพศภาวะ เพศวิ ถี ในมิ ติ
สุขภาพ. กรุงเทพฯ: โครงการจัดตัง้ สำนักงานศึกษานโยบาย
สาธารณสุข สวัสดิการและสังคม. มหาวิทยาลัยมหิดล.
อานันท์ กาญจนพันธ์. (2545). การต่อสูเ้ พือ่ ความเป็ นคนชายขอบในสังคม
ไทย. เอกสารประกอบวิ ชาการเพื่ อเป็ นเกี ยรติ แด่
อ.ฉลาดชาย รนิ ตานนท์ ในวาระอายุครบ 60 ปี. ใน
กนกศักดิ ์ แก้วเทพ (บรรณาธิการ). ศูนย์สตรีศกึ ษามหาวิทยาลัย
เชียงใหม่.

Benjamin, H. (1966). The transsexual Phenomenon. New York :


Julian Press.
คนข้ามเพศ : ตัวตน วัฒนธรรมย่อย และพืน้ ทีท่ างสังคม 125

Bolin, Anne. (1996). Vandalized Vanity: Feminine Physiques Betrayed


and Portrayed. In tattoo, Torture, Mutilation and
Adomment: the Danaturalization of the Body in Culture
and Text. Albang: SUNY Press.
Bullough, Vernl. (1997). Homosexuality: A History. New York: NAL.
During, S. (1999). Space Power and Knowledge. The Cultural
Studies Reader. New York : Routledge.
Feinberg, L. (2006). Transgender Liberation: A Movement Whose
Time Has Come. The Transgender Studies Reader.
Susan Stryker and Stephen Whittle. (ed). USA: Routledge
Taylor and Francis Group.
Peter Nardi. (2000). Gay Masculinities. SAGE Publication, London.
Richardson, D. (2000). Rethinking Sexuality. London: SAGE
Publications.
Sedgwick, E.K. (2006). Axiomatic. The Cultural Studies Reader. 6th ed.
Simon During (ed). USA: Routledge.
Tim Edwards. (2005). “Queering the Pitch? Gay Masculinities” in
Michael S. Kimmel, Jeff Hearn and R. W. Connell (eds.) Hand-
book of Studies on Men & Masculinities. SAGE Publication,
London.
Winter,&Udomsak. (2002). Gender Stereotype and self among
Transgenders: Uderlying Element. The international of Journal
of Transgenderism 6;4.

You might also like