You are on page 1of 68

สังคมไทยกับหลักปรัชญา

เศรษฐกิจพอเพียง

THAI SOCIETY AND THE


PHILOSOPHY
OF THE SUFFICIENCY
ECONOMY 1
บทที่ 7 ความหลากหลายทางสังคมและ
วัฒนธรรม
7.1 ความเป็ นตัวตนอันหลากหลายและการสร้างความ
ภาคภูมิใจในตนเอง: การเกิดขึ้นของชาติและชาตินิยม
7.2 ความเป็ นชาติพนั ธุแ์ ละกลุม่ คนที่หลากหลาย
7.3 กลุม่ คนด้อยโอกาส
7.4 แนวคิดหญิงชายและความหลากหลายทางเพศใน
ปั จจุบนั
7.5 การเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ของครอบครัวสมัยใหม่
2
7.4 แนวคิดหญิงชายและความ
หลากหลายทางเพศในสังคมปั จจุบนั

3
แนวคิดหญิงชายและความหลากหลายทางเพศ
ในสังคมปั จจุบนั
 ความเป็ นเพศคืออะไร?
เมื่อกล่าวถึง เพศ (sex)
แน่นอนว่าหลายคนคงนึกถึง
หญิงและชาย
คือลักษณะทางสรีระหรือชีวภาพ
แบ่งชายและหญิงออกจากกัน
และด้วยการแบ่งเช่นนี้ ยังเกี่ยวพันถึง...
❖ ความเป็ นเพศชายและความเป็ นเพศหญิง
(masculinity and femininity) หรือ 4

❖ ความเป็ นเพศ / เพศสภาพ / เพศสภาวะ (Gender) 4


แนวคิดหญิงชายและความหลากหลายทางเพศ
ในสังคมปั จจุบนั
  
เพศสรีระ เพศสภาพ เพศวิถี
Sex Gender Sexuality

5
แนวคิดหญิงชายและความหลากหลายทางเพศ
ในสังคมปั จจุบนั
SEX
เป็ นผูห้ ญิงหรือเป็ นผูช้ าย
มีอวัยวะเพศหรือเครื่องเพศแบบไหน

6
7
แนวคิดหญิงชายและความหลากหลายทางเพศ
ในสังคมปั จจุบนั
เพศสภาพ (GENDER) หรือความเป็ นเพศ
เกิดจากการกระบวนการขัดเกลาทางสังคม

8
แนวคิดหญิงชายและความหลากหลายทางเพศ
ในสังคมปั จจุบนั
เพศสภาพ (GENDER)
เกิดจากการกระบวนการขัดเกลาทางสังคม

9
แนวคิดหญิงชายและความหลากหลายทางเพศ
ในสังคมปั จจุบนั
เพศวิถี หรือ Sexuality
พฤติกรรม รสนิยม ความชอบทางเพศ

10
แนวคิดหญิงชายและความหลากหลายทางเพศ
ในสังคมปั จจุบนั
▪ เพศวิถี (Sexuality)
หมายถึง...ความคิดและพฤติกรรมเกี่ยวกับเรื่องเพศ นับตั้งแต่
ก่ อ นมี เ พศสัม พัน ธ์ (เช่ น ...เป็ นผู ห้ ญิ ง ต้อ งสงวนท่ า ที ) ขณะมี
เพศสัม พัน ธ์ (เช่ น ...เป็ นผูห้ ญิง ควรนอนเฉยๆ) กระทั ่งหลัง มี
เพศสั ม พั น ธ์ (เช่ น ...ผู ้ห ญิ ง ไทยรู ้สึ ก ผิ ด เมื่ อ เสี ย ตั ว ) หรื อ
ข้อกาหนดว่าควรมีเพศสัมพันธ์กบั เพศตรงข้ามเท่านั้น เป็ นต้น

11
แนวคิดหญิงชายและความหลากหลายทางเพศ
ในสังคมปั จจุบนั
รูปแบบของเพศสภาพและเพศวิถีเหล่านี้ นาไปสูป่ รากฏการณ์การ
ทาความรุนแรงต่อผูห้ ญิง
ธรรมชาติอาจสร้างร่างสรีระ หรือ เพศสรีระ ให้ผหู ้ ญิง
เสียเปรียบผูช้ ายอยูบ่ า้ ง แต่ เพศสภาพ กลับไปขยายความ
เสียเปรียบที่หญิงมีตอ่ ชายให้เพิ่มเป็ นทวีคณ
ู ...
เช่น.. ผูห้ ญิงต้องทากับข้าวและเลี้ยงลูก ในขณะที่ ผูช้ ายนั ่งดื่ม
เบียร์ ดูทีวี
ดังนั้น...ระบบเพศสภาพและเพศวิถีแบบดังกล่าว จึงมีลกั ษณะ
แบบชายเป็ นใหญ่ หรือปิ ตาธิปไตย (Patriarchy)
12
โครงสร้างสังคมและแนวคิดเรือ่ งเพศ
ในสังคมไทย มีลกั ษณะแบบ ‘ชายเป็ นใหญ่’
โครงสร้า งสั ง คมแบบชายเป็ นใหญ่ คื อ สถาบั น ต่ า งๆ ในสั ง คมให้
ความส าคัญ กับ เพศชายมากกว่ า เพศสภาพอื่ น ๆ ทั้ง ระบบการศึ ก ษา ศาสนา
วั ฒ นธรรม ประเพณี การปกครอง สถาบั น ต่ า งๆ ดั ง กล่ า วเหล่ า นี้ ได้ใ ห้
ความหมายกับ เพศชายเป็ นหลัก ไม่ ว่ า จะเป็ นเรื่ อ งการสื บ สกุ ล ของสถาบัน
ครอบครัว การเป็ นผูน้ าในสถาบันการเมืองการปกครอง การเป็ นผูน้ าทางจิต
วิ ญ ญาณในสถาบัน ศาสนา เนื้ อหาของกฎหมาย วั ฒ นธรรม ประเพณี ที่ เ ปิ ด
โอกาสและให้ความสาคัญกับผูช้ ายเป็ นสาคัญ

**ในเมื่อโครงสร้างสังคมให้ความสาคัญกับเพศใดเพศหนึ่ง
เป็ นศูนย์กลางเช่นนี้
ก็ยอ่ มส่งผลกระทบต่อเพศสภาพอื่นๆ ตามมา** 13
ลักษณะเด่นของโครงสร้างสังคม
‘ชายเป็ นใหญ่’
1) ให้ความสาคัญกับ ‘รักต่างเพศ’ (Heterosexuality) เป็ นหลัก
เนื่ องจากรักต่างเพศเป็ นความรักระหว่างชายกับหญิง จึงเป็ น
กรอบอานาจที่ลงตัวพอดิบพอดีในการมอบบทบาทความเป็ น
ผู ้น าให้กั บ ชาย และมอบความเป็ นผู ้ต ามให้กั บ หญิ ง ทั้ ง นี้
การศึกษา กฎหมาย ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี ต่างก็วาง
หลัก เกณฑ์แ ละสนั บ สนุ น การใช้ชี วิ ต คู่ แ บบรัก ต่ า งเพศไว้ใ ห้
เรียบร้อยแล้ว
14
2) รัง เกี ย จ ‘กะเทย’ หรื อ รัง เกี ย จความ ‘หลากหลายทาง
เพศ’ (Homophobia)
เพราะ...กะเทยมีเพศสภาพที่ไม่ใช่ผูช้ ายแข็งแกร่ง อกไม่ส ามศอก
และถึ ง แม้จ ะเป็ นกะเทยที่ ย ั ง มี อ งคชาติ อ ยู่ (ยั ง ไม่ ไ ด้ถู ก ตั ด ออก)
ก็ตาม
เพราะการเป็ น ‘ผูช้ ายที่ ชอบผูช้ าย’ ก็ยงั เป็ นสิ่งที่ สังคมไทย
ยังไม่อยากจะยอมรับได้ง่ายๆ แม้ว่าเมื่อดูจากภายนอกจะเป็ นผู ้ชายที่ไม่
ต่างจากผูช้ ายทัว่ ไป แต่เพราะสังคมชายเป็ นใหญ่ที่ยอมรับได้เฉพาะ
‘ผูช้ าย’ เท่านั้น ‘ผูช้ ายที่แตกต่าง’ จึงเป็ นอันต้องถูกรังเกียจไปด้วย
ดั ง นั้ น สัง คมชายเป็ นใหญ่ จึ ง ไม่ ย อมเปิ ดโอกาสให้เ กิ ด การยอมรั บ
เพศสภาพที่แตกต่างหลากหลายได้ง่ายนัก
15
3) ไม่มีพ้ ืนที่ให้ ‘ผูห้ ญิง’ ควบคุมผูห้ ญิง รังเกียจผูห้ ญิง (Misogyny or
Sexism)
ตัว อย่ า งจากกรณี รื้ อฟื้ นการบวชภิ ก ษุ ณี เ มื่ อ 2-3 ปี ที่ แ ล้ว ได้
ในที่ สุดคาตอบจากสถาบันสงฆ์ไทยก็คือไม่เปิ ดโอกาสให้มีการบวชหญิง
เป็ นพระสงฆ์อย่างเป็ นทางการ แม้การบวชหญิงเป็ นพระสงฆ์จะมีระบุ ไว้ใน
พุทธศาสนาว่าสามารถบวชได้ และเป็ นส่วนหนึ่ งของพุทธบริษัท 4 ก็ตาม
นอกจากนี้ ...สังคมชายเป็ นใหญ่ มีมุ มมองต่ อ ผูห้ ญิ งว่า เป็ น ‘มาร’
จึงมักรณรงค์ควบคุมเรื่องเพศของผูห้ ญิงมากกว่าผูช้ าย การบอกให้ผูห้ ญิง
‘รักนวลสงวนตัว’ เป็ นตัวอย่างหนึ่ งของการพยายามควบคุมผูห้ ญิ งให้อยู่
ในร่องในรอย ในขณะที่ผูช้ ายกลับมีการรณรงค์ให้สวมถุงยางอนามัยแทน
16
4) มองว่าผูห้ ญิงเป็ นเพศที่อ่อนแอ

ไม่ว่าจะเป็ นเรื่องเซ็กส์หรือเรื่องการดาเนิ นชี วิต ผูห้ ญิงมัก


เป็ นฝ่ ายที่ ต กเป็ นรองผู ้ช ายเสมอ โดยมี ก ฎหมายมารองรั บ
ความคิดความเชื่อเช่นนี้ ด้วย

เช่น ผูห้ ญิงมีหน้าที่รองรับความต้องการทางเพศของผูช้ าย


เรือนร่างของผูห้ ญิงเป็ นที่ระบายความใคร่ของผูช้ าย หรื อถูกทาให้
กลายเป็ นสินค้า เป็ นต้น

17
ด้วยเหตุน้ ี จึงมีเหตุการณ์ตา่ งๆ ที่แสดงถึง
ความไม่เท่าเทียมทางเพศปรากฏขึ้นมากมาย
 ความรุนแรงที่มีตอ่ เพศหญิง
‘เพศหญิง’ ถูกกระทาจากสังคมอย่างโจ่งแจ้งหลายอย่าง เช่น
▪ การข่มขืน
ผูห้ ญิงมีข่าวถูกข่มขืนไม่เว้นแต่ละวัน ที่น่าสนใจคือข่าวระหว่างวันที่ 24 –
25 มกราคม 2548 มี 3 รายสาคัญ ได้แก่
▪ โทรมยับเด็กหญิง ม.2 ล่า 30 โจ๋หื่นฯ
▪ สาว ปวส. แจ้งจับลูกชุมพล สับกุญแจมือขืนใจ
▪ จับแท็กซี่บา้ กามข่มขืน นศ. สาวปี 4 หนีเสือปะจระเข้
สถานี โทรทัศน์ให้ทางบ้านส่ง SMS แสดงความเห็นว่า...ใครผิด?
ไม่น่าเชื่อว่าผลคือ ผูช้ ายผิด 23% ผูห้ ญิงผิด 77%
(จากสถิติปี 2547 ผูห้ ญิงไทยถูกข่มขืนเฉลี่ยวันละ 14 คน) 18
ด้วยเหตุน้ ี จึงมีเหตุการณ์ตา่ งๆ ที่แสดงถึง
ความไม่เท่าเทียมทางเพศปรากฏขึ้นมากมาย
▪ ความรุนแรงในครอบครัว
ทั้งที่ฝ่ายภรรยาถูกทาร้ายร่างกาย และถูกบังคับขืนใจให้ร่วมเพศ
จากสถิติปี 2543 ผูห้ ญิงถูกคู่ครองทาร้าย ในกรุงเทพฯ 41% ใน
ต่างจังหวัด 47%

มุกห์ ตาราน มาย หญิงปากีสถาน...


ถูกศาลตัดสินให้ชาย 4 คน ลงโทษด้วยการข่มขืนเธอ (พิธี karo kari)
เนื่ องจากความผิดของน้องชายที่ไปมีความสัมพันธ์กบั หญิงสูงศักดิ์ใน
หมูบ่ า้ น
19
คนส่วนใหญ่มกั ไม่ได้ตง้ั คาถาม...
กับ ‘ความรุนแรง’ ข้างต้น (แม้แต่ผหู ้ ญิงด้วยกันเอง)
เหตุใดจึงเป็ นเช่นนัน้ ?

สาเหตุเป็ นเพราะ... คติความเชื่อทางสังคมหรือระบบวัฒนธรรมที่


เราเรียกกันว่า ปิ ตาธิปไตย หรือ
ชายเป็ นใหญ่ (Patriarchy) ที่สร้างความชอบธรรมให้กบั สภาวะ
ที่เหนือกว่าของผูช้ ายที่มีตอ่ ผูห้ ญิง

ดังนั้น ปิ ตาธิปไตย จึงหมายถึง ระบบความเชื่อที่ให้คณ


ุ ค่าต่อ
ผูช้ ายมากกว่าผูห้ ญิง (โดยภาพรวม) หรือเรียกว่า ระบบนิยม
20
ชาย
แนวคิดสตรีนิยม (Feminism)

เกิ ด ขึ้ นมาเพื่ อ ตั้งค าถามกับ สภาพ ‘ที่ ผู ห้ ญิง ด้อ ยกว่ า ผูช้ าย’
สตรีนิยมจึงเป็ นทั้งแนวคิดทฤษฎีและแนวการเคลื่อนไหวทาง
สังคมของผูห้ ญิง โดยผูห้ ญิง และเพื่อผูห้ ญิง...
❖ สตรีนิยมแนวเสรีนิยม (Liberal feminism)
❖ สตรีนิยมแนวมาร์กซิสต์ (Marxist feminism)
❖ สตรีนิยมแนวสุดขั้ว (Radical feminism)

21
❖สตรีนิยมแนวเสรีนิยม (Liberal feminism)
สตรี นิ ย มแนวเสรี นิ ย มนี้ เน้ น เรี ย กร้อ งสิ ท ธิ ทุ ก อย่า งให้
เท่ า เที ย มกับ ผู ้ช าย (ทั้ง เรื่ อ งการเมื อ ง การศึ ก ษา การ
ทางาน) เช่น.. เป็ นผูว้ ่าราชการจังหวัด เป็ นนายพล เป็ น
นักบิน การขอใช้นามสกุลเดิมหลังแต่งงาน เป็ นต้น

22
❖สตรีนิยมแนวมาร์กซิสต์ (Marxist feminism)
สตรี นิ ย มแนวมาร์ก ซิ ส ต์นี้ จะรวมปั ญ หาเรื่ อ งการกดขี่ ท างชนชั้น
เข้า กับ ปั ญ หาเรื่ อ งการกดขี่ ท างเพศ โดยเชื่ อ ว่ า ทางออกคื อ การ
โค่ น ล้ม ระบบทุ น นิ ย ม เพราะเป็ นระบบซึ่ ง มี ก ารแบ่ ง งานกัน ท าที่
ไม่เป็ นธรรมระหว่างหญิงชาย
เช่น ...ผูห้ ญิงต้องทางานบ้านและเลี้ ยงลูก แต่ไม่มีผลตอบแทน หรือ
ถูกนับว่าไร้ค่าเมื่อเทียบกับผูช้ ายที่ทางานนอกบ้าน

23
❖สตรีนิยมแนวสุดขั้ว (Radical feminism)

สตรี นิ ย มแนวสุ ด ขั้ว นี้ จะเน้ น การวิ พ ากษ์ ร ะบบความเชื่ อ แบบ


“ปิ ตาธิปไตย” อย่างถอนรากถอนโคน มองว่าผูช้ ายทุกคนคือศัตรู
ส่วนผูห้ ญิงคือพี่น้องกัน แนวคิดสตรีนิยมกลุ่มนี้ จะส่งเสริม เพศวิถี
แบบหญิงรักหญิง (lesbian) ...เพราะเธอเหล่านั้ นไม่ตอ้ งการการ
พึ่งพาผูช้ าย เช่น กลุ่มอัญจารี

24
 สังคมไทยกับ ‘เพศวิถี’ ที่เปลี่ยนไป...
หากย้อนยุคกลับไปเพียงไม่กี่ปี ฉากชายจูบชายคงหาได้ยากเต็มทีสาหรับ
ภาพยนตร์หรือละครโทรทัศน์ในประเทศไทย...

และหากย้อนกลับไปไม่กี่สิบปี การที่ชายหญิงอยูด่ ว้ ยกันก่อนแต่งงาน คง


เป็ นเรื่อง “ผิดปกติ” หรือ "ผิดผี" อย่างร้ายแรง...
25
แต่ในยุคปั จจุบนั ...ฉากชายจูบชายแม้ไม่ได้มีกลาดเกลื่อนในโทรทัศน์ แต่ก็ยงั พอมี
เห็นเป็ นครั้งคราว แม้จะทาให้บางคนตะขิดตะขวงใจ แต่ สังคมไทยก็ยอมรับได้ใน
ระดับหนึ่ ง
...เช่นเดียวกับการอยู่ก่อนแต่ง ก็สามารถพบเห็นได้มากขึ้ นในกลุ่มคนรุ่น
ใหม่ ไม่ได้สร้างความแปลกใจกับสังคมอีกต่อไป พ่อแม่ผูป้ กครองบางส่วนสามารถ
ทาใจยอมรับพฤติกรรมเช่นนี้ ได้ในระดับหนึ่ ง
...แม้แต่การแสดงออกทางเพศ หากบอกว่ายุคนี้ เป็ นยุคเบ่งบานแห่งเพศที่
สาม ก็คงไม่ผิดจากความเป็ นจริงเท่าใดนั ก จากที่เคยมีแต่กะเทย เกย์ ทอม ดี้ แต่
ตอนนี้ มีท้งั เกย์คิง เกย์ควีน กะเทยแท้ ทอมเกย์ ไบเซ็กช่วล ฯลฯ

สิ่งเหล่านี้สะท้อนให้เห็ นว่า...เพศวิถี หรือวิธีปฏิบตั เิ กี่ยวกับ


ความปรารถนาทางเพศเป็ นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
ทัง้ ในแง่ตวั บุคคลและระบบสังคม 26
ตัวอย่างการศึกษาสังคมไทย
กับ ‘เพศวิถี’ ที่เปลี่ยนไป

รศ.ดร.กฤตยา อาชวนิจกุล (สถาบันวิจยั ประชากรและสังคม


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล ) ตั้ ง ข้ อ สั ง เกตว่ า ...เมื่ อ เรื่ อ งเพศ
เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา แล้วในระยะเวลา 50 ปี ที่ผ่านมาเรื่อง
เพศในสังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรบ้าง....?
จากค าถามนี้ ... เธอวิ เ คราะห์จ ากงานวิ จัย ต่ า งๆ และ
สรุปว่ามีเรื่องเพศ 4 เรื่อง ที่เปลี่ยนแปรไปตามยุคสมัย ดังนี้ ...

27
(1) เพศสัมพันธ์ที่เปลี่ยนไป

ในชายที่อายุมากกว่า 60 ปี ขึ้ นไปมีเซ็กส์ครั้งแรกกับคู่รกั


หรือภรรยามากที่สุด แต่สาหรับคนรุ่นถัดมาที่อยู่ ในวัยประมาณ
40 ปี ในปั จจุบนั สัดส่วนการมีเซ็กส์ครั้งแรกกับภรรยาลดลง แต่มี
เพศสัมพันธ์ครั้งแรกกับหญิงบริการมากที่สุด

ขณะที่ ค นอายุ ป ระมาณ 30 ปี ลงมาจนถึ ง วัย รุ่ น ใน


ปั จจุบนั กลับมีเซ็กส์ครั้งแรกกับเพื่อนและกิ๊กมากที่สุด รวมทั้งมี
เซ็กส์ครั้งแรกกับกลุ่มอื่นๆ นอกเหนื อจากภรรยา หญิงค้าบริการ
และเพื่อนเพิ่มสูงมากขึ้ นด้วย 28
(2) ความหลากหลายทางเพศ
เดิมมีแต่ ...ชาย หญิ ง และกะเทย แต่ ปัจ จุบันมีรูปแบบใหม่ๆ เกิ ดขึ้ น
เช่น...มีท้ังชายและเสือใบ กะเทย มีท้ังเกย์คิง เกย์ควีน กะเทยสาว กะเทยชาย
ผูห้ ญิงมีท้งั ทอม ดี้ เกิดเครือข่ายคนรักเพศเดียวกันและมีกิจกรรมสื่อสารกับสังคม
อย่างต่อเนื่ อง
ขณะเดียวกัน สังคมยอมรับเพศทางเลือกมากขึ้ น ตัวอย่างเช่น ปี 2545
กระทรวงสาธารณสุขออกหนั งสือรับรองว่าการมีรสนิ ยมรักเพศเดียวไม่ใช่ โรคจิต
หรือกองทัพไทยก็ยอมรับแล้วว่า จะไม่ใส่คาว่า เป็ นโรคจิตวิปริตถาวร ในใบ
สด.43 สาหรับ ผูเ้ ข้าคัดเลื อกทหารเกณฑ์รายใหม่ รวมทั้ง แนะน าให้ฟ้ องศาล
ปกครอง เพื่อขออานาจศาลแก้ไขคาว่าโรคจิตวิปริตถาวรใน สด.43 สาหรับผูท้ ี่
ผ่านการตรวจเลือกไปแล้ว

29
การเกิดขึ้นของ “เพศที่สาม” หรือ คนรักเพศเดียวกัน

เพศที่ ส าม หมายถึ ง บุ ค คลที่ มี ค วามต้อ งการทางเพศกับ บุ ค คลที่ มี เ พศ


เดียวกัน เกิดได้กบั ทั้งผูห้ ญิงและผูช้ าย เช่น ...เกย์ (ชายรักชาย) และเลสเบี้ ยน (หญิง
รักหญิง) **แต่สาหรับพวกที่มีกิจกรรมทางเพศกับเพศเดียวกันแบบชัว่ คราว ไม่จดั ว่า
เป็ นกลุ่มเพศที่สาม**

ในอดีต...สมาคมจิตแพทย์อเมริกาถือว่าคนรักเพศเดียวกัน เป็ นความผิดปกติ


ทางด้านจิตใจ (mental disorder) แต่ได้มีการประกาศยกเลิกในปี ค.ศ.1973 และ
ปรับเปลี่ยนมาเป็ นการยอมรับว่าการเป็ นเพศที่สามคือเรื่องของทางเลือก หรือรสนิ ยม
มากกว่า และควรที่จะทาความเข้าใจ มากกว่าการประณามหรือดูถูกเหยียดหยาม

ปั จจุบันในหลายๆ สังคม มีการยอมรับการจดทะเบียนสมรสสาหรับบุค คล


รักเพศเดียวกันอย่างถูกต้องตามกฎหมายแล้ว 30
ทอมเกย์ คือ ทอมที่คบได้ท้งั ผูห้ ญิง ดี้ และทอมด้วยกัน
ทอมเกย์คิง คือ ทอมที่ชอบทอมและเป็ นฝ่ ายรุก
ทอมเกย์ควีน คือ ทอมที่ชอบทอมและเป็ นฝ่ ายรับ
ทอมเกย์ทูเวย์ คือ ทอมที่ชอบทอม และเป็ นได้ท้งั ฝ่ ายรุกและฝ่ ายรับ
โบ๊ท คือ เกย์ที่เป็ นได้ท้งั ฝ่ ายรุกและรับ โดยดูจากสถานการณ์
ไบท์ คือ เกย์ที่มีเมียและลูก แต่ยงั มาแอบมีอะไรกับเกย์ดว้ ยกัน
อดัม คือ ผูช้ ายที่ชอบทอม
แองจี้ คือ กะเทยที่ชอบทอม
เชอร์รี่ คือ ผูห้ ญิงที่ชอบเกย์และกะเทย
สามย่ า น คื อ ผู ห้ ญิ ง ที่ เ ป็ นทั้ง เลสเบี้ ยน ทอม เป็ นผู ้ห ญิ ง คบได้
ทุกเพศ พร้อมแปลงกายได้ทุกเมื่อ
31
ข้อมูลจาก http://news.boxza.com/view/38648
(3) การค้าบริการทางเพศที่เปลี่ยนไป

เมื่อก่อน...จะค้าบริการในซ่องกันตรงๆ แต่ทุกวันนี้ การค้าบริการ


มีลกั ษณะแอบแฝงอยู่กบั บริการอื่นๆ มากขึ้ น ทั้งในผับ บาร์ คาราโอเกะ
อาบอบนวด ร้านตัดผม รวมทั้งมีจานวนชายที่มาค้าบริการทางเพศเพิ่ม
มากขึ้ น รวมถึงคนที่มีช่วงอายุต่างๆ ด้วย
ขณะเดียวกันกระบวนการจัดหาหญิงค้าบริการก็เปลี่ยนไป จาก
ยุ ค ต้น ๆ ที่ ห ญิ ง สาวเข้า เมื อ งมาท างานแล้ว ถู ก หลอกมาค้า ประเว ณี
กลายเป็ นการตกเขี ย ว นายหน้ า รุ ก เข้า ไปในชนบทหลอกเด็ ก มาขาย
บริการหรือพ่อแม่เป็ นคนขายลูกเสียเอง หลังจากนั้ นเข้าสู่ยุ คการจัดหา
หญิงชาติพนั ธุก์ ลุ่มต่างๆ รวมทั้งจากประเทศเพื่อนบ้านมาขายบริการด้วย
32
การค้าบริการทางเพศที่เปลี่ยนไป (ต่อ)
ที่เป็ นจุดเปลี่ยนมากที่สุดคือ ในช่วง 10 ปี ที่ผ่านมาเกิดพื้ นที่สังคมออนไลน์
กลายเป็ นช่องทางให้หญิงสาวเป็ นผูเ้ สนอขายบริการเสียเอง ผ่านห้องแชต เว็บแคม และ
โซเชียลมีเดียต่างๆ ผูข้ ายบริการไม่ตอ้ งสังกัดซ่อง หรือสถานบริการอีกต่อไป
แต่กระนั้ น ทัศนคติของสังคมไทยที่มองผูห้ ญิ งกลุ่มนี้ ก็
ยัง เหมื อ นเดิ ม ไม่ เ ปลี่ ย นแปลง นั ่น คื อ ยัง มองว่ า เป็ น
หญิงคนชั ่ว อยูด่ ี และแม้หลังยุคโรคเอดส์ระบาดแต่
ธุรกิจเซ็กส์กลับขยายเป็ นอุตสาหกรรมใหญ่โต

33
(4) การให้ความรูเ้ รื่องเพศศึกษาเปลี่ยนไป
ประเทศไทยมีการสอนเรื่องเพศศึ กษามานานกว่า 70 ปี แล้ว ในช่วงแรก
เน้นสอนเรื่องการ "คุมกาหนั ด+คุมกาเนิ ด” ไม่ได้เขียนเป็ นวิชาโดยตรงแต่แทรกเข้า
ไปในวิชาต่างๆ ทั้งสังคมศึกษา ลูกเสือ เนตรนารี วิทยาศาสตร์ และกิจกรรมแนะแนว
แต่เมื่อโรคเอดส์ระบาดขึ้ น การสอนเพศศึ กษาเน้นไปที่ การมีเซ็กส์อย่างปลอดภัย
(Save Sex) มีการป้ องกัน ใส่ถุงยางอนามัย

นอกจากนี้ กระบวนการคิดก็เปลี่ยนไป โดยมีรูปแบบการสอนอย่างรอบด้าน


เน้นแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ไม่ตดั สินพฤติกรรม ไม่ตีตราเพศส่วนน้อย

34
7.5 การเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ของครอบครัว
สมัยใหม่

35
‘ ครอบครัว ครอบครัว (Family)
’ หน่วยหนึ่งของสังคม ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกตั้งแต่ 2 คน ขึ้ นไป

36
-- อยูร่ ว่ มบ้านเดียวกัน ให้การศึกษา อบรมเลี้ยงดู --
ความสาคัญของครอบครัว...

ครอบครัวเป็ นหน่ วยหนึ่ งของสังคม ประกอบด้วยสมาชิกตั้งแต่ 2


คนขึ้ นไปอยู่ร่วมกัน และยังเป็ นรากฐานหรือสถาบันที่ สาคัญของ
สัง คม เช่ น การให้ก ารศึ ก ษา อบรมเลี้ ยงดู และสร้า งเสริ ม
ประสบการณ์ดา้ นต่างๆ แก่สมาชิกที่อาศัยอยูร่ ่วมกัน

37
37
ความสาคัญของครอบครัว...

หน้าที่ ของครอบครัวคือ ให้การศึ กษา อบรมเลี้ ยงดู ถ่ ายทอด


ประสบการณ์ต่างๆ และสร้างเสริมประสบการณ์ให้กบั สมาชิ กที่
อาศัยอยูร่ ่วมกัน ตั้งแต่เกิดจนเจริญเติบโตเป็ นผูใ้ หญ่ ให้ความรัก
ความเมตตา การเอาใจใส่ ห่ ว งใย อาทร สร้า งความเข้า ใจ
พยายามเข้าใจ และสร้างสมาชิกในครอบครัวให้มีคุณลักษณะอัน
พึงประสงค์ที่สงั คมต้องการ

38
38
คาจากัดความ:
“ครอบครัว”

ครอบครัว ถือว่าเป็ นกลุ่มทางสังคมหนึ่ง


แต่เป็ นกลุ่มทางสังคมที่แตกต่างจากกลุ่มสังคมอื่นๆ 39
เหตุผลที่ครอบครัว..
เป็ นกลุม่ ทางสังคมที่แตกต่างจากกลุม่ สังคมอื่น


ครอบครัวเป็ นกลุ่มที่มีช่ วงเวลาการด ารงอยู่ยาวนานกว่ ากลุ่ มสังคม
อื่นๆ เช่น พ่อ แม่ ลูก จะมีความสัมพันธ์ยาวนานจนชัว่ ชีวิตของคนหนึ่ ง
หรืออาจกล่าวได้ว่า มีความเป็ นสมาชิกของกลุ่มชัว่ ชีวิต เราเป็ นลูกของใคร
ก็ เ ป็ นของคนนั้ น ไปตลอดชี วิ ต และไม่ มี โ อกาสเลื อ กในการเป็ นสมาชิ ก
เพราะเป็ นมาตั้งแต่เกิด ส่วนกลุ่มสังคมอื่นๆ เช่นกลุ่มเพื่อ น เราเลือกที่จะ
เป็ นสมาชิกหรือไม่เป็ นตั้งแต่เริ่มแรกได้
40
เหตุผลที่ครอบครัว..
เป็ นกลุม่ ทางสังคมที่แตกต่างจากกลุม่ สังคมอื่น


ครอบครัวมีสมาชิกหลายวัยด้วยกัน

ตั้งแต่เด็กเล็กจนถึงคนชรา และการมีสมาชิกที่มีความสัมพันธ์ของคนหลาย
วัยเป็ นสิ่งที่จาเป็ นต่อการอยูร่ อดของมนุ ษย์ เพราะมนุ ษย์เป็ นสิ่งมีชีวิตที่ช่วย
ตัวเองได้ชา้ มากเมื่อเทียบกับสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ดังนั้น การที่เด็กอ่อนจะเติบโต
จนสามารถช่ ว ยตัว เองให้มี ชี วิ ต รอดต้อ งใช้เ วลาหลายปี ในช่ ว งเวลานั้ น
จาเป็ นต้องมีผูท้ ี่ช่วยดูแลอยู่
41
เหตุผลที่ครอบครัว..
เป็ นกลุม่ ทางสังคมที่แตกต่างจากกลุม่ สังคมอื่น

‘ครอบครัว’ ประกอบด้วยสมาชิกที่มีความสัมพันธ์ทางชีวะและ
เกี่ยวดองกันทางกฎหมายหรือจารีตประเพณี
และนาไปสู่การเชื่อมโยงความสัมพันธ์เป็ นกลุ่มเครือญาติที่ใหญ่ขึ้น
ผ่านทางสายโลหิต ทางการแต่งงาน และการรับเป็ นบุตรบุญธรรม
42
เหตุผลที่ครอบครัว..
เป็ นกลุม่ ทางสังคมที่แตกต่างจากกลุม่ สังคมอื่น

ดังนั้น ครอบครัวจึงไม่เพียงแต่เป็ นกลุ่มทางสังคมเท่านั้น แต่ครอบครัว


ถือว่าเป็ นสถาบันทางสังคมหนึ่ งด้วย เพราะครอบครัวเป็ นที่ รวมของ
ความเชื่อและแนวทางการปฏิบตั ิในส่วนที่เกี่ยวกับครอบครั วที่สมาชิก
ส่วนใหญ่ในสังคมหนึ่ งๆ ยึดถือ ไม่วา่ จะเป็ นรูปแบบในการเกี้ ยวพาราสี
การแต่งงาน การเลี้ ยงดูและอบรมสัง่ สอนสมาชิกในครอบครัว ความ
เชื่อในเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างสามี ภรรยา ความสัมพันธ์ ระหว่าง
บิดามารดากับบุตร เป็ นต้น
43
โครงสร้างของครอบครัว.. แบ่งออกเป็ น 2 รูปแบบคือ

1.ครอบครัวเดี่ยว (Nuclear Family) 2.ครอบครัวขยาย (Extended Family)


เป็ นรู ป แบบที่ ถื อ ว่ า ความสั ม พั น ธ์ เป็ นรูปแบบที่ให้ความสาคัญกับเครือ
ของ พ่อ-แม่-ลูก เป็ นความสัมพันธ์ที่ ญาติเป็ นแกนความสัมพันธ์หลัก และ
เป็ นแกนหลักของครอบครัว** ส่วน สมาชิ ก ประกอบด้ว ยคนหลายรุ่ น
ความสัมพันธ์ของเครือญาติเป็ นเรื่อง แ ล ะ สั ง ค ม ต่ า ง ๆ ใ น โ ล ก นี้ จ ะ มี
รองลงมาและมั ก จะมี ส มาชิ ก ใน รูปแบบครอบครัวขยายเป็ นส่วนใหญ่
ครอบครัวเพียงคนสองรุ่น คือ รุ่ นพ่อ
แม่ และลูก

44
โครงสร้างของครอบครัวในสังคมไทย

สังคมไทย...
แต่เดิมเป็ น ครอบครัวขยาย คือการ
ขยายออกไป เช่น จากพ่อแม่ มีลูก -
หลาน - เหลน ก็ จ ะมี ปู่ ย่า ตายาย มี
ทวดอยู่ร่ว มกัน เป็ นครอบครัว เดี ย วที่
ขยายออกโดยการต่อเติมบ้านหลังเดิม
ออกเป็ นระเบียงบ้าง สร้างแยกออกไป
แต่อยูใ่ นเขตรั้วบ้านเดียวกันบ้าง

45
โครงสร้างของครอบครัวแบบตะวันตก

สังคมตะวันตก...
คือการอยูอ่ ย่าง ครอบครัวเดี่ยว เพราะ
ชาวตะวั น ตกรั ก ในความอิ ส ระ และ
เสรี ภ าพของตนเองมาก จึ ง ไม่ ช อบอยู่
ภายใต้ก รอบจารี ต ที่ บั ง คั บ ตนในการ
ดาเนิ นชีวิต เมื่ อไม่มีกรอบจารีต แล้วคน
ตะวั น ตกมั ก จะท าอะไรตามใจตนเอง
เสมอ โดยไม่คิดถึงคนในครอบครัว และ
สภา พค วา มเป็ น สถา บั น คร อบ ครั ว
แต่อย่างใด

46
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของครอบครัว

ในช่วงที่สงั คมเปลี่ยนจาก ‘สังคมเกษตรกรรม’


เป็ น ‘สังคมอุตสาหกรรม’ มีการกล่าวกันว่า
ครอบครัวขยายจะเปลี่ยนเป็ นสภาพครอบครัว
เดี่ยวมากขึ้น เพราะการพัฒนาอุตสาหกรรมทา
ให้ค นต้อ งออกไปหางานท าในที่ ที่ ไ กลจาก
ครอบครัว ซึ่ ง มี ผ ลท าให้ค วามผู ก พัน ระหว่ า ง
เครื อ ญาติที่ จ าเป็ นต้อ งไปมาหาสู่ กัน มี น ้อ ยลง
ทาให้สภาพครอบครัวขยายดารงอยูไ่ ม่ได้
47
ภายหลังการแต่งงานคู่แต่งงานใหม่จะมีลกั ษณะการอยู่อาศัย
หลักๆ 3 ลักษณะ คือ
1. อยูก่ บั ครอบครัวของฝ่ ายสามี 2. อยูก่ บั ครอบครัวฝ่ ายภรรยา
(Patrilocal) หลังการแต่งงาน ภรรยา (Matrilocal) หลังการแต่งงาน สามี
ต้องย้ายเข้าไปอยูร่ ่วมกับครอบครัว ย้ายเข้าไปอยูใ่ นครอบครัวภรรยา
ของฝ่ ายสามี
3. แยกครอบครัวไปอยูเ่ อง (Neolocal) คือไม่อยูก่ บั ทั้งครอบครัวฝ่ ายชายและฝ่ าย
หญิง การแยกไปอยู่เองของคู่แต่งงานใหม่ มีแนวโน้มมากขึ้ นในกลุ่มชนชั้นกลางที่
อาศัยอยูใ่ นเมืองใหญ่
**ในสังคมไทยจะมี ธรรมเนี ยมปฏิ บัติให้ผูท้ ี่เป็ นลูกเขยต้อ งเข้ามาอยู่ในบ้านฝ่ ายภรรยา
อย่างน้อยก็ซักระยะหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งสาหรับในครอบครัวเกษตรกรรม ลูกเขยต้อง
เข้ามาอาศัยอยู่และช่ ว ยครอบครัว ฝ่ ายหญิงทาการเกษตรโดยได้ห รือ ไม่ ได้ค่ าตอบแทน
ขึ้นอยูก่ บั ครอบครัวฝ่ ายหญิงเป็ นผูก้ าหนด 48
ลักษณะการสืบสายโลหิตและสืบทอดมรดก
1. สืบทอดผ่านสายบิดา (Patrilineal) 2. สืบทอดผ่านสายมารดา (Matrilineal)
คื อ การสื บ สายตระกู ล และมรดกทาง คื อ การสื บ สายตระกู ล และมรดกจาก
สายบิ ดา (พ่อ ) และให้ความสาคัญกั บ สายมารดา(แม่) และให้ความสาคัญกับ
ญาติทางฝ่ ายบิดาเป็ นหลัก ญาติทางฝ่ ายมารดาเป็ นหลัก

3. การให้ความสาคัญทั้งญาติฝ่ายบิดาและฝ่ ายมารดาเท่า ๆ กัน (Bilateral) และ


สืบสายตระกูลจากสายใดก็ได้ กรณีสงั คมไทย แม้วา่ หลังการแต่งงาน ผูช้ ายจะต้อง
ย้ายเข้ามาอยู่ในบ้านของผูห้ ญิง แต่อานาจหน้าที่ ในฐานะหัวหน้าครอบครัวจะถูก
ส่งผ่านจากพ่อตาสู่ลูกเขย ทาให้ไม่สามารถบอกได้วา่ สังคมไทยเป็ น Matrilineal ใน
ขณะเดี ยวกันก็ไม่สามารถบอกได้ว่าเป็ นแบบ Patrilineal ซึ่งที่ดินและการเป็ น
หัวหน้าครัวเรือนถูกส่งผ่านจากพ่อสู่ลูกชายคนโต เพราะในสังคมไทยผูห้ ญิงเป็ นฝ่ าย
ได้รบั การสืบทอดที่ดิน ดังนั้ น สังคมไทยจึงถูกมองว่าเป็ นแบบ Bilateral มากกว่า
เป็ นแบบ Matrilineal หรือ Patrilineal 49
อานาจในครอบครัว
1. สามีหรือผูช้ ายที่เป็ นผูอ้ าวุโส 2. อานาจอยู่ที่ฝ่ายภรรยา
ในครอบครัวเป็ นผูม้ ีอานาจสูงสุด (Matriarchy) ในสังคมต่างๆ การ
ในครอบครัว (Patriarchy) สังคม จัดสรรอานาจลักษณะนี้ คือการ
ในโลกนี้ ส่ ว นใหญ่ มี ก ารจัด สรร ให้ผูห้ ญิงเป็ นผูม้ ีอานาจสูงสุดนั้น
อานาจลักษณะนี้ พบเห็นได้นอ้ ยมาก

50
ประเภทของการแต่งงาน
การแต่งงานในสังคมต่างๆ มีหลายแบบ ที่พบเห็นโดยทัว่ ไปมีดงั นี้
1. ผัวเดียวเมียเดียว (Monogamy) 2. ผัวเดียวหลายเมีย (Polygamy)
การแต่ ง งานที่ ย อมรั บ ให้มี ถื อ ว่ า เป็ นการแต่ ง งานที่ พ บ
สามีหรือภรรยาเพียงคนเดียว ซึ่ง จาก ม า ก ที่ สุ ด ใ น สั ง ค ม ต่ า ง ๆ จ า ก
การศึ ก ษาของ จอร์จ เมอร์ด๊อ ก ใน การศึ ก ษาของจอร์จ พบว่ า ประมาณ
862 สังคมพบว่าจานวนน้อยกว่าร้อย ร้อยละ 80 ของสังคมมีลกั ษณะการ
ละ 20 มีการแต่งงานในลักษณะนี้ แต่ ง งานที่ ย อมรับ ให้ผู ้ช ายมี เ มี ย ได้
หลายคน งงานที่เกิดขึ้ นน้อยมากในสังคม
3. เมียเดียวหลายผัว (Polyandry) เป็ นลักษณะการแต่
ต่างๆ และพบว่าการแต่งงานแบบนี้ ไม่ได้เกิดเนื่ องจากผูห้ ญิงหรือผูท้ ี่เป็ นภรรยาเลือกที่จะมี
สามีหลายคน ดังเช่นที่เกิดในกรณี ผัวเดียวหลายเมีย เพราะสามีหลายคนของผู ้ หญิงนั้ น
มักเป็ นพี่น้องกัน หรือกล่าวอีกอย่างหนึ่ ง เป็ นสิทธิของน้องชายที่จะมีความสัมพันธ์ทางเพศ
กับภรรยาของพี่ชาย การแต่งงานเช่นนี้ จะเกิดในสังคมที่ มีที่ดินทากินจากัด ครอบครัว
ไม่สามารถหาภรรยาให้กบั ลูกชายทุกคนได้ครบ 51
การแต่งงานที่กล่าวมาข้างต้น ...

ทั้งหมดเป็ นการแต่ งงานระหว่าง คนต่างเพศ แต่ ได้มีการพบว่า บาง


สังคมในทวีปอาฟริกาหรือในกลุ่มชาวอินเดียนแดงบางเผ่ายอมรับในการ
แต่งงานของคนเพศเดียวกันด้วย

นอกจากนี้ ในช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ได้มีการเรียกร้องมากขึ้ นจากกลุ่ม


รักเพศเดียวกันในหลายสังคมให้มีการยอมรับทางกฎหมายและสังคมใน
การแต่งงานของคนเพศเดียวกัน ซึ่งประสบผลในหลายพื้ นที่
52
ประเทศที่อนุญาตให้คนเพศเดียวกันแต่งงานกันได้อย่าง
ถูกต้องตามกฎหมาย
Argentina -อาร์เจนตินา New Zealand - นิวซีแลนด์
Belgium - เบลเยียม Norway - นอร์เวย์
Brazil - บราซิล South Africa - แอฟริกาใต้
Canada - แคนนาดา
Denmark - เดนมาร์ก Portugal - โปรตุเกส
England - อังกฤษ Spain - สเปน
France - ฝรั ่งเศส Sweden - สวีเดน
Iceland - ไอซ์แลนด์ United State – สหรัฐอเมริกา
Mexico - แมกซิโก Uruguay - อุรุกวัย
Netherlands -เนเธอร์แลนด์ Wales - เวลส์
53
Source: http://en.wikipedia.org/wiki/LGBT_rights_by_country_or_territory
แนวคิดที่อธิบายเรื่องครอบครัว 

54
แนวคิดที่อธิบายเรื่องครอบครัว
1. แนวคิดในเชิงการหน้าที่ มองว่าครอบครัวเป็ นความจาเป็ น
ของสังคมมนุษย์เพราะมีหน้าที่ทาให้สงั คมดารงอยูไ่ ด้ และหน้าที่
ที่สาคัญของครอบครัวคือ การสืบเผ่าพันธุ ์ การอบรมสั ่งสอนและ
ถ่ายทอดวัฒนธรรมเพื่อให้สมาชิกใหม่เป็ นที่ยอมรับของสังคม มี
หน้าที่ในการปกป้ องคุม้ ครองเด็กและให้การโอบอุม้ ทางจิตใจและ
อารมณ์ ครอบครัวจะเป็ นตัวกาหนดสถานภาพโดยกาเนิดแก่ เด็ก
ซึ่งจะสามารถทาให้เด็กสัมพันธ์กบั บุคคลอื่นๆ ได้อย่ างเหมาะสม
นอกจากนี้ ครอบครัวยังมีหน้าที่ในการควบคุมพฤติกรรมทางเพศ
ของสมาชิกในครอบครัวด้วย
55
แนวคิดที่อธิบายเรื่องครอบครัว
แ น ว คิ ด ใ น เ ชิ ง ก า ร ห น้ า ที่ ถู ก วิ จ า ร ณ์ จ า ก นั ก ส ต รี นิ ย ม
บางสายว่า แนวคิดนี้มองครอบครัวแบบประเพณีนิยม เพราะยัง
มองครอบครัวว่ าต้องเป็ นการอยู่ร่วมกันของเพศหญิงและเพศ
ชายเท่านั้น การอยู่ร่วมกันของคนเพศเดียวกัน หรืออยูร่ ่วมกัน
ของคนในลักษณะอื่นๆ ไม่ ถูกมองว่าเป็ นครอบครัว นอกจากนี้
หน้าที่ส่วนใหญ่ของครอบครัวที่แนวคิดนี้เสนอ เมื่อพิจารณาแล้ว
พบว่ า เป็ นหน้า ที่ ที่ ค รอบครัว อาจจะไม่ จ าเป็ นต้อ งท า หรื อ ไม่
สามารถทาได้ดว้ ยครอบครัวเพียงอย่างเดียวอีกต่อไปในสังคม
ปั จจุ บั น เพราะสัง คมไม่ ใ ช่ ห น่ ว ยสัง คมอิ ส ระแต่ สัม พัน ธ์กั บ
เงื่อนไขทางสังคมอื่นๆ ดังที่กล่าวมาแล้ว
56
แนวคิดที่อธิบายเรื่องครอบครัว
2. แนวคิดการขัดแย้ง มองว่าครอบครัวไม่ใช่สิ่งที่เกิ ดขึ้นตาม
ธรรมชาติ แต่เ ป็ นการจัด การทางสัง คมที่ท าให้คนกลุ่ มหนึ่ ง
ได้รับประโยชน์มากกว่ าคนอีกกลุ่มหนึ่ ง เฟรดริกส์ เองเกิ ลส์
(Friedrich Engels) เสนอในบทความ The Origin of the Family,
Private Property, and the State ว่า ครอบครัวเปรียบเสมือน
สัง คมชนชั้น โดยสามี ถื อว่ าเป็ นชนชั้นที่ก ดขี่ และภรรยาเป็ น
ชนชั้นที่ถูกกดขี่ สามีเปรียบเสมือนชนชั้นกระฎุมพี และภรรยา
คือชนชั้นกรรมาชีพ สามีคือผูท้ ี่มีอานาจ เป็ นผูก้ าหนดสิ่งต่างๆ
ภายในครอบครัว ในขณะที่ ภ รรยาคื อ ผู ร้ ับ ใช้แ ละรับ ค าสั ่ง
เพราะฉะนั้น ผูท้ ี่ได้ประโยชน์ในความสัมพันธ์น้ ี คือสามี ส่วน
ภรรยาคือผูเ้ สียประโยชน์ 57
แนวคิดที่อธิบายเรื่องครอบครัว
นักคิดในกลุ่มแนวคิดนี้ยังเสนอว่า ผูห้ ญิงในสังคมต่างๆ ถูกมอง
ว่าเป็ นสมบัตทิ างเพศ เพราะผูห้ ญิงจะถูกใช้เป็ นเครื่องบรรณาการ
ในสงคราม เป็ นเครื่องต่อรองทางเศรษฐกิจ และเป็ นสมบัติข อง
สามี สามีมีสิทธิ์ที่จะนาภรรยาไปขายได้ ไม่แตกต่างจากการขาย
ที่ ดิ น หรื อ อสัง หาริ ม ทรัพ ย์อื่ น ๆ บางกลุ่ ม ของแนวคิ ด นี้ ยัง ให้
ความส าคัญ กั บ การมองความขั ด แย้ง ภายในครอบครัว การ
แข่งขันกันเองของสมาชิกภายในครอบครัว เพื่อให้ได้มาซึ่งอานาจ
ความเป็ นตัวตนของแต่ละคน แต่ในขณะเดียวกันก็ตอ้ งให้ค วาม
ร่วมมือกันเพื่อความอยูร่ อดของครอบครัว เพราะฉะนั้นสมาชิกใน
ครอบครัวจะมีการต่อรองผลประโยชน์ แก้ปัญหาและจัดการใน
เรือ่ งความขัดแย้งอยูต่ ลอดเวลา
58
แนวคิดที่อธิบายเรื่องครอบครัว
3. แนวคิ ด สตรี นิ ย ม อธิ บ ายว่ า การที่ สัง คมมี ก ฎเกณฑ์ก าร
แบ่ ง แยกหน้า ที่ ข องผู ห้ ญิ ง และผู ช้ าย สามี แ ละภรรยาอย่ า ง
ชัดเจน กล่าวคือสามีมีหน้าที่หาเลี้ยงครอบครัว ภรรยามีหน้าที่
ดู แ ลบ้า นและลู ก ท าให้ภ รรยาอยู่ ใ นฐานะที่ เ ป็ นรองใน
ครอบครัว เพราะผู ้ห ญิ ง ต้อ งพึ่ ง พิ ง ผู ช้ ายทางเศรษฐกิ จ ใน
ขณะเดียวกัน งานบ้านและงานดูแลลูกถูกมองว่าไม่เป็ น “งาน”
เพราะไม่ได้ก่อให้เกิดรายได้ทางเศรษฐกิจแก่ครอบครัว ดังนั้น
นักสตรีนิยมจึงมองว่าสถาบันครอบครัวเป็ นพื้นที่ทคี่ วามไม่เท่า
เทียมกันระหว่างเพศเห็นได้ชดั เจนที่สุด
59
แนวคิดที่อธิบายเรื่องครอบครัว
จากความเชื่อที่ว่าหน้าที่และบทบาทของผูห้ ญิงคือการเลี้ยงดูลูก
ท างานบ้า น ดู แ ลครอบครัว และมองว่ า บทบาทเหล่ า นี้ เป็ น
บทบาท ทางธรรมชาติ นาไปสู่ความชอบธรรม (หรือเหตุผล)
ในการกี ดกันผูห้ ญิงในสิทธิทางการเมื อง กี ดกันผูห้ ญิ งจากงาน
อาชีพหลายงาน กล่าวอีกนัยหนึ่ งคือกี ดกันผูห้ ญิงออกจากพื้นที่
สาธารณะ ทาให้ผหู ้ ญิงต้องอยูใ่ นสภาพเป็ นผูพ้ ึ่งพิงทางเศรษฐกิจ
และมีฐานะที่เป็ นรองผูช้ ายในครอบครัว ซึ่งทาให้ง่ายต่อการที่
ผูห้ ญิงจะถูกทาร้ายในหลายรูปแบบ ทั้งทางกาย ทางจิตใจและ
ทางเพศ
60
แนวคิดที่อธิบายเรื่องครอบครัว
นักสตรีนิยมจึงเสนอว่า ต้องมี การเปลี่ยนแปลงในเรื่องการแบ่ง
งานกันทาในครอบครัว ผูห้ ญิงควรทางานนอกบ้านหรือสามารถ
พึ่งตนเองได้ทางเศรษฐกิจ และผูช้ ายควรเข้าไปมีบทบาทในการ
ดูแลลูกมากขึ้น ในขณะเดียวกันต้องมีการนิยามความหมายใหม่
ให้กบั “ครอบครัว” คือ สมาชิกในครอบครัวต้องมีความเท่า เทียม
กัน และครอบครัวต้องไม่มีความหมายเฉพาะการประกอบด้วยพ่อ
แม่ลูก แต่ตอ้ งรวมถึงการแต่งงานของคนเพศเดียวกัน และการมี
คนเพศเดียวกันทาหน้าที่ในการดูแลลูก (Okin 1997)

61
สรุป...แนวคิดที่อธิบายเรื่องครอบครัว
1. แนวคิดเชิงการหน้าที่... ครอบครัวเป็ นความจาเป็ นของสังคมมนุ ษย์และ
หน้า ที่ ที่ ส าคัญ ของครอบครัว คื อ การสื บ เผ่ า พัน ธุ ์ อบรมสั ง่ สอนและ
ถ่ายทอดวัฒนธรรมเพื่อให้สมาชิกใหม่เป็ นที่ยอมรับของสังคม

2. แนวคิดการขัดแย้ง... ครอบครัวไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ แต่เป็ น


การจัดการทางสังคมที่ทาให้คนกลุ่มหนึ่งได้รบั ประโยชน์มากกว่าคนอีก
กลุ่มหนึ่ง และเสนอว่าผูห้ ญิงมักถูกมองว่าเป็ นสมบัตทิ างเพศ

3. แนวคิดสตรีนิยม... อธิบายว่าการที่สงั คมมีกฎเกณฑ์การแบ่งแยกหน้าที่


ของผูห้ ญิ งและผูช้ ายมองว่ าสถาบันครอบครัวเป็ นพื้ นที่ ที่ค วามไม่ เท่า
เทียมกันระหว่างเพศเห็นได้ชดั เจนที่สุด
62
62
การเปลี่ยนแปลงที่สมั พันธ์กบั ครอบครัว

“ภาพอุดมคติของครอบครัว ” ที่ถูกกล่าวถึงหรือถูกเสนอผ่านทางสื่ อต่างๆ


มักเป็ นภาพของพ่อ แม่ ลูก ในบ้านที่อบอุ่น พ่อออกไปทางานหาเลี้ ยงครอบครัว แม่
จะอยู่ที่บา้ น ทากับข้าว คอยต้อนรับสามีและลูกที่ กลับจากที่ ทางานและกลับจาก
โรงเรียน ภาพเหล่านี้ เป็ นเพียงอุดมคติ เพราะเมื่อมองสภาพสังคมที่เป็ นจริงที่ปรากฏ
อยู่ ครอบครัวที่พบเห็นมิได้มีสภาพเช่นนั้น... 63
การเปลี่ยนแปลงที่สมั พันธ์กบั ครอบครัว
ในช่วง 50 ปี หลังของศตวรรษที่ 20 ได้มีการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
หลายประการ ไม่ ว่ า จะเป็ นการเปลี่ ย นการผลิ ต จากเกษตรกรรมเป็ น
อุ ต สาหกรรม การที่ ผู ้ ห ญิ ง บางส่ ว นมี โ อกาสทางการศึ ก ษามากขึ้ น
ผูห้ ญิงจาเป็ นต้องทางานนอกบ้านเพื่อหารายได้ช่วยค่าใช้จ่ ายที่เพิ่มขึ้ นของ
ครอบครัว ผู ้ห ญิ ง สามารถท างานและพึ่ ง ตนเองทางการเงิ น ได้ อิ ท ธิ พ ล
ความคิ ด เรื่ อ งปั จเจกนิ ยม การเปลี่ ย นแปลงต่ า งๆ เหล่ า นี้ น าไปสู่
ปรากฏการณ์ทางสังคมที่สมั พันธ์กบั ความเป็ นครอบครัว ซึ่งพบเห็นมากขึ้ น
ในสั ง คมตะวัน ตกและก าลั ง เกิ ด ขึ้ นอย่ า งรวดเร็ ว ในสั ง คมตะวัน ออก
ปรากฏการณ์เหล่านี้ ได้แก่...
64
การเปลี่ยนแปลงที่สมั พันธ์กบั ครอบครัว

1. สภาพความเป็ นโสด
สังคมในปั จจุบนั พบว่า มีสดั ส่วนของคนที่ไม่แต่งงานเพิ่ มมากขึ้ น
และสั ง คมยอมรั บ ชี วิ ต แบบคนโสดมากขึ้ นด้ว ย ในสัง คมไทย จาก
การศึกษาของเกื้ อ บุญวงศ์สิน (2539) พบว่าตั้งแต่ปี พ.ศ. 2503-
2533 สัดส่วนการเป็ นโสดของประชากรไทยมีแนวโน้มสูงขึ้ น โดยเฉพาะ
ในกลุ่มประชากรหญิงมีแนวโน้มที่เห็นชัดเจนกว่าประชากรชาย

65
การเปลี่ยนแปลงที่สมั พันธ์กบั ครอบครัว

2. การมีพ่อหรือแม่เพียงคนเดียวในครอบครัว

ครอบครัวในปั จจุบนั จานวนไม่น้อยไม่ได้มีท้งั


พ่อแม่อยู่ด ว้ ยกัน ซึ่ งเป็ นผลส่วนหนึ่ ง จากการที่ มี
จ านวนการหย่า ร้า งเพิ่ ม สู ง ขึ้ นในสัง คมต่ า งๆ ใน
สังคมไทย จากผลการศึกษาพบว่าประมาณร้อยละ
29.1-35.9 เป็ นครอบครัวที่พ่อแม่ไม่ได้อยู่ดว้ ยกัน
ปรากฏการณ์ นี้ เราเรี ย กว่ า เป็ นครอบครั ว แบบ
“พ่อเลี้ยงเดี่ยว” หรือ “แม่เลี้ยงเดี่ยว”
66
การเปลี่ยนแปลงที่สมั พันธ์กบั ครอบครัว

3. การอยูด่ ว้ ยกันโดยไม่แต่งงาน

การที่คนสองคนมาอยู่ร่วมกันโดยไม่ได้ผู กพันว่า
เป็ นสามี ภรรยา โดยไม่ ผ่ า นพิ ธี ก ารแต่ ง งานตาม
ประเพณี แ ละไม่ ไ ด้จ ดทะเบี ย นสมรส บางคู่ เ มื่ อ อยู่
ด้วยกันซักระยะแล้วอาจจะแต่งงานกัน แต่บางคู่ ก็เลิกรา
กันไป การเลือกที่จะอยูด่ ว้ ยกันโดยไม่แต่งงาน ส่วนหนึ่ ง
เป็ นผลจากการที่ ได้มีจานวนการหย่าร้างเพิ่ม มากขึ้ น
ทาให้คนไม่มีความมัน่ ใจต่อการแต่งงานเพิ่มขึ้ นไปด้วย
67
การเปลี่ยนแปลงที่สมั พันธ์กบั ครอบครัว

4. คู่รกั เพศเดียวกัน

การที่ หญิ งกับหญิงหรื อชายกับชายใช้ชีวิตร่วมกัน ปรากฏการณ์นี้มีให้


เห็นมากขึ้ นในสังคม แม้ในสังคมไทยซึ่งโดยทัว่ ไปยังไม่ได้รั บการยอมรับ
อย่างเป็ นทางการ แต่ก็มีปรากฏเป็ นข่าว มีการจัดให้มีการแต่ งงานตาม
ประเพณีของคนเพศเดียวกันให้เห็นอยูเ่ ป็ นระยะๆ

68

You might also like