You are on page 1of 106

1

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔


2

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

การศึกษาอารยธรรม วิธกี ารสอนและการเรียน

a. ศึกษาความหมาย องค์ประกอบที่มาและพัฒนาการ
สังคมอารยะของมนุ ษย์
b. ศึกษาความคิดและวิธกี ารของมนุ ษย์ในการสร้างสรรค์
อารยธรรม
c. ศึกษาคุณค่าของอารยธรรมที่สง่ ผลต่อสังคมปัจจุบนั
3

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

ขอบเขตและความหมายของอารยธรรม

การศึกษาเกี่ยวกับเรื่องใดก็ตาม สิง่ แรกที่


ต้องทำความเข้าใจ คือ
“ความหมายและขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษา”
ในเรื่องของอารยธรรมโลก อาจตัง้ คำถามนำ
ว่า
4

• อารยธรรม คืออะไร ที่มาของความหมายมาจากไหน


สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

• ขอบเขตที่จะศึกษาเป็ นเรื่องเกี่ยวกับอะไร
• อะไรบ้างที่ตอ้ งพิจารณาในการศึกษาอารยธรรม
• มีศพั ท์ใดบ้างที่ใกล้เคียงกับอารยธรรมและอาจทำให้
แปลความหมายคลาดเคลื่อน เช่น วัฒนธรรม
• ตัวบ่งชี้อะไรที่บ่งบอกความเป็ นอารยธรรม
• อารยธรรมเกิดได้อย่างไร
• อารยธรรมให้คณ ุ ค่าอะไร
5

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

อารยธรรม-วัฒนธรรม
• อารยธรรมในภาษาไทย เป็ นคำภาษาสันสกฤต มาจากคำว่า
• อารย กับ ธรรม อารยะ ซึ่งเรามักใช้ในความหมายว่า เจริญ ซึ่งมี
ความหมายคล้ายกับ วัฒน ซึ่งมีความหมายว่าเจริญเหมือนกัน
• ส่วนธรรมหมายถึงคำสอนของศาสดา สิง่ ถูกต้องดีงาม เกิดขึ้นเอง
• เมื่อพิจารณาคำว่า อารยธรรมกับวัฒนธรรม แล้ว โดยความหมาย
ตามนิ รุกติไม่มีความแตกต่างกัน แต่โดยแท้ท่จี ริงแล้ว ความ
หมายของทัง้ สองคำนี้ ไม่เหมือนกัน เราจึงต้องศึกษาความแตกต่าง
ของคำทัง้ สองนี้
6

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

อารยธรรม คืออะไร
อารยธรรม คืออะไร วัฒนธรรม คืออะไร
อารยะ = เจริญ วัฒน = เจริญ
ธรรม = สิง่ ทรงไว้ ธรรม = สิง่ ทรงไว้
อารยธรรม = สิง่ ที่เจริญ วัฒนธรรม=สิง่ ที่เจริญ
7

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

วัฒนธรรม คืออะไร
culture วัฒนธรรม
13th century. Via French from ค. ๑๓ คำฝรัง่ เศสจากภาษาละติน
Latin cultura “tillage,” from cultura “tillage = การเพาะปลูก ไถ
cult , the past participle ”
stem of colere “to inhabit,
จาก cult ซึ่งเป็ นรากของ colere “to
cultivate, worship.”
Originally in English “piece inhabit = อาศัย, cultivate = เพาะ
of tilled land ปลูก พัฒนา, คำภาษาอังกฤษ
Microsoft? Encarta? Reference Library “piece of tilled land = ที่ดินที่ไถ
2003. ? 1993-2002
เพือ่ การเพาะปลูก
8

วัฒนธรรม Culture สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

วัฒนธรรม ในทางมานุ ษยวิทยา หมายถึง รูปแบบของ


พฤติกรรมและการคิดซึ่งคนที่อาศัยอยู่ในกลุม่ สังคมได้เรียนรู ้
สร้างสรรค์ และแบ่งบันร่วมกัน วัฒนธรรมแยกความเด่นชัด
มนุ ษย์กลุม่ หนึ่ งออกจากกลุม่ อืน่ และยังแยกความแตกต่าง
มนุ ษย์ออกจากสัตว์ วัฒนธรรมมนุ ษย์รวมถึง ความเชื่อ กฎ
พฤติกรรม ภาษา พิธกี รรม ศิลปะ และเทคโนโลยี สไตล์การ
แต่งกาย วิถกี ารผลิตและปรุงอาหาร ศาสนา และระบบ
การเมืองและเศรษฐกิจ
•Microsoft® Encarta® Reference Library 2003. © 1993-2002 Microsoft Corporation.
9

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔


สิง่ แวดล้อม

ความคิด ความเชื่อ อุดมคติ เจตคติ ค่านิ ยม

สร้างสรรค์

รูปธรรม นามธรรม

ปฏิบตั ิ

วัฒนธรรม เลือกสรร

ปฏิบตั ิ

ถ่ายทอด
อ่านประกอบ 10

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

อารยธรรม civ·i·li·za·tion [sìvv’li záysh’n] นาม


1. สังคมที่ได้พฒั นาแล้วระดับสูงสังคมที่มีวฒั นธรรมและการจัดระเบียบสังคมระดับสูง
(highly developed society: a society that has a high level of culture
and social organization)
2. พัฒนาการที่กา้ วหน้าของสังคม ระดับพัฒนาการที่กา้ วหน้าของสังคมซึ่งสังเกตได้จากความ
ซับซ้อนในการจัดระเบียบทางสังคมและการเมือง และก้าวหน้าในทางวัตถุธรรม
วิทยาศาสตร์ และศิลปะ (advanced development of society: an advanced
level of development in society that is marked by complex social and
political organization, and material, scientific, and artistic progress)
อ่านประกอบ 11

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

อารยธรรม civ·i·li·za·tion [sìvv’li záysh’n] นาม


3. สังคมที่กา้ วหน้าทัว่ ๆ ไป ทุกสังคมซึ่งระดับความก้าวหน้าของพัฒนาการ
ได้พจิ ารณาว่ารวมกันเป็ นหนึ่ งเดียว (advanced society in
general: all the societies at an advanced level of
development considered collectively)
4. กระบวนสร้างความศิวไิ ลย์ กระบวนการสร้างสรรค์วฒั นธรรมระดับสูงใน
สังคมหรือภูมิภาคใด ๆ โดยเฉพาะ (civilizing process: the
process of creating a high level of culture in a particular
society or region)
Microsoft? Encarta\ Reference Library 2003. 1993-2002 Microsoft
Corporation.
อ่านประกอบ 12

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

Civilization
• ศัพท์ civilization หรือ
civilisation - มาจากคำลาติน
civis หมายถึง 'city'/'state'
เมือง/นครรัฐ ศัพท์น้ ี ใช้ในหลายทางในกาละที่ต่างกัน
เช่น
อ่านประกอบ 13

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

ขัน้ ตอนพัฒนาการทางเทคนิ ควิธแี ละการเมือง


ตัวอย่างอารยธรรมสมัยเริ่มแรก เช่น China, ancient Egypt,
Indus Valley Civilisation และ Sumer. อาจแสดงลักษณะความเด่นชัด
ในการตัง้ ถิ่นฐานในรุน่ แรก ๆ ของกลุม่ เหล่านี้ เช่น neolithic Jericho และ
Catalhuyuk:
▫ การตัง้ ถิ่นฐานเป็ นชุมชนเมือง ซึ่งตามด้วยอาชีพชำนาญเฉพาะด้าน
▫ บางแบบหรือการจัดองค์กรของบริเวณที่กว้างใหญ่กว่าการตัง้ ถิ่นฐานโดดเดี่ยว
▫ ขยายแวดวงทางการค้า
▫ ใช้การเขียน พัฒนาขึ้นมาเพือ่ เก็บรักษาหลักฐานทัง้ หมด
อ่านประกอบ 14

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

มาตรฐานพฤติกรรม
• ความคิดรวบยอดทีค่ รอบคลุมไปถึง เช่น อัศวิน (chivalry ) อนารยชน (
barbarian) ความคิดรวบยอดของอารยธรรมใช้เวลาก่อตัวส่วน
ต่าง ๆ จากเหตุผลซึ่งบางกลุม่ ใช้อำนาจในการปกครองเหนื อผูอ้ น่ื เช่น
ช่วงอาณานิคมของยุโรปในทวีปอเมริกา หรือ อินเดียสมัยอังกฤษปกครอง ดัง
นัน้ การตอบสนองทีม่ ชี ่อื เสียงของมหาตมะ คานธี (
Mahatm a G andhi)
• “อะไรทีท่ ่านคิดถึงอารยธรรมตะวันตก” "What do you think of Western
civilisation?"

• คานธีตอบว่า “ข้าพเจ้าคิดว่ามันควรเป็ นความคิดทีด่ ”ี "I think it would be a good


idea."
อ่านประกอบ 15

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

ปรากฏการณ์ทางวัฒนธรรม
• สำนักความคิดหนึ่ งกล่าวว่า อารยธรรมเป็ นเอกลักษณ์
ทางวัฒนธรรมซึ่งได้แสดงให้เห็นในระดับกว้างที่สดุ ในสิง่
ที่บคุ คลมุ่งในการแสดงลักษณะที่กว้างกว่าครอบครัว
มาตุภมู ิ ชาติ และภูมิภาค
• อารยธรรมยังมักผูกพันกับศาสนา หรือระบบความเชื่ออืน่

อ่านประกอบ 16

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

ปรากฏการณ์ทางวัฒนธรรม
• ความคิดรวบยอดของอารยธรรมเป็ นศูนย์ทฤษฎีประวัตศิ าสตร์ของอาร์โน
ลด์ ทอยนบี (Arnold J. Toynbee) ผูบ้ อกลักษณะ
ประวัตศิ าสตร์ว่าเป็ นกระบวนการของความรุง่ เรืองและเสือ่ มของ
อารยธรรมของสิง่ ที่จะต้องการรูค้ วามจริง ทัง้ ยังเป็ นศูนย์ความเชื่อทางการ
เมืองของแซมมวล พี ฮันติงตัน (
Samuel P. Huntington) ผูอ้ า้ งว่า การกำหนดขอบเขต
ลักษณะของศตวรรษที่ ๒๑จะเป็ นปฏิสมั พันธ์และความขัดแย้งระหว่าง
อารยธรรม
อ่านประกอบ 17

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

ปรากฏการณ์ทางวัฒนธรรม
• ความคิดรวบยอดของจักรวรรดิ empire คาบเกี่ยวกับสิง่ ที่เป็ น
อารยธรรม "civilisation“ ดังนั้น การพรรณนาเชิง
ผัสสะของจักรวรรดิตะวันตกอายุ ๕๐๐ ปี “the 500-year
old Western em pire” โดย
Noam Chomsky และการวิเคราะห์เชิงทฤษฎีมากขึ้นโดย
Negri และ Hardt สร้างการวิเคราะห์รว่ มสมัยอืน่ เกี่ยวกับ
อารยธรรม
อ่านประกอบ 18

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

เครื่องมือแห่งการกดขี่
• นักหลังสมัยใหม่นิยมบางคนปฏิเสธศัพท์อนั ไม่เป็ นพึง
ปรารถนา:
• จากทัศนะ European Christian
ethnocentric ประวัตมิ นุ ษย์คอื ประวัติ “ความก้าวหน้า”
(progress) นำไปสูก่ ารพัฒนาความสำเร็จของอารยธรรม
แสดงให้เห็นโดยวัฒนธรรมคริสเตียนยุโรป
อ่านประกอบ 19

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

เครื่องมือแห่งการกดขี่
• เจตคติน้ ี เกี่ยวข้องกับอาณานิ คมยุโรป และ ความสัมพันธ์ของ
ยุโรปและอเมริกากับชนพื้นเมือง ซึ่งมีความคิดที่ยดึ ถือว่า มี
อารยธรรมที่กา้ วหน้ามาแล้วในประวัตมิ นุ ษย์ และไม่มี
วัฒนธรรมใดที่เหนื อกว่าฝังติดอยู่
อ่านประกอบ
25 major civilizations in Human 20
History สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔
Civilization Main Empire

Sumerian Sumerian Empire

Egyptian Middle Empire

Indian -

Minoan Minoan Empire

Hittite Hittite Empire

Chinese Qin Empire

Austronesian -

Babylonian Babylonian Empire

Inuit -

Greek and Roman Roman Empire

Central American Maya civilization

Syrian -

Spartan Spartan Empire

Mongol Mongol Empire

Khmer -

Islam Arabian Empire

Japanese Tokugawa Shogunate

Western British Empire, French Empire and Spanish Empire

Orthodox Christian Byzantine Empire

Hindu Mugal Raj

Russian Russian Empire

Zimbabwe Trading Entrepot

Ottoman Ottoman Empire

Andean Inca Empire

Communist Soviet Union


21

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

อารยธรรม
อารย ที่มาของคำนี้ มาจากภาษา อินโด-ยูโรเปี ยน
ว่า อรก (arg) มีความหมายว่า ขาว กระจ่าง ใส
สว่าง คำนี้ ใช้ทง้ั ในภาษาสันสกฤต และ ในภาษา
ของชาวตะวันตก เช่น
22

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

•ชาวอารยัน คือ คนที่มีผิวขาว คำที่เกี่ยวเนื่ องกัน


เช่น อารกะ อารยัน อริย อริยกะ อิหร่าน เป็ นต้น
•อารยธรรม ตามตัวอักษร คือ สิง่ ที่เป็ นของคนผิว
ขาว
•argentum คือ ธาตุท่มี ีสขี าว ธาตุเงิน เหล่านี้
เป็ นต้น
•Argument คือ การทำให้กระจ่าง
23

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

•ปัจจุบนั เรามาใช้ในความหมาย
ของความเจริญ ทัง้ นี้ เนื่ องจาก
ความเจริญทัง้ หลาย คนผิวขาว
คือ อารยัน ซึ่งอยู่ทางตอนเหนื อ
ของอินเดียโบราณเป็ นผูค้ ดิ และ
เป็ นผูนำ
้ มาใช้ และเราจึงนำคำ
นี้ มาใช้ในความหมายของความ
เจริญโดยทัว่ ไป
24

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

Ruth Whitehouse & John Ilkins กล่าว


ว่า ทางหนึ่ งในการสอบสวนความคิดรวบยอดเกี่ยว
กับหัวข้อใด ๆ ก็ตาม คือ การมองไปยังเบื้องหลังค
วามหมายในการใช้คำนั้น
25

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

คำ “civilization” มีความหมายที่เกี่ยวข้อง
กับคำ ‘civil’ และ ‘civilized’ ซึ่งมาจากภาษา
ละตินว่า civis หมายถึงพลเมือง (citizen) เมื่อ
เราแยกคำว่า civil หมายถึง เมือง และ -ization
ซึ่งมีความหมายโดยนัยบอกว่าเป็ น กระบวนการ
ทำให้เป็ น ดังนั้น civilization จึงมีความหมายว่า
กระบวนการทำให้เป็ นเมือง
26

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

ศัพท์จากคำอารยธรรม “CIVIO”
CIT, CIV = citizen
• Civis = citizen • City (civitas)
• Civio • Citified
• To civilize • Citizen
• Civilization • Civility
• Uncivilized • Civic
person • Civics
• Civil • Citizenship
(civis)
• Incivility
27

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

คำอืน่ เกี่ยวกับเมืองที่เราใช้ การเชื่อมโยงแบบ


เดียวกันมี ‘urbs’ เป็ นภาษาละติน หมายถึง เมือง
(city) ศัพท์ ‘urban’ ‘urbane’ และ ‘urbanization’
เป็ นคำที่มีความหมายเกี่ยวกับเมือง ทัง้ สิ้น
ในคำกรีก polis ซึ่งมีความหมายว่า เมือง ได้
ประยุกต์มาใช้ในปัจจุบนั เช่น ‘politic’ ‘political’
‘policy’ ‘police’
28

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

ในทางประวัตศิ าสตร์คำ อารยธรรม มองแก่น


สาระที่เป็ น "ชีวติ ชาวเมือง" หรือ การพัฒนาชีวติ ขึ้น
มา เป็ นชาวเมือง ข้อสังเกตคือ ที่ใดมีอารยธรรมที่น้ัน
มักจะมีเมืองอยู่ดว้ ย อารยธรรมกับเมืองจึงแยกกันไม่
ออก แต่เรายังต้องนิ ยามให้เห็นความเด่นชัดบาง
ประการที่นอกเหนื อไปจากแก่นสาระ ดังกล่าว
29

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

นิ ยามจากมุมมองของนักโบราณคดีและนักมานุ ษยวิทยา
ให้อสิ ระในการตัดสินคุณค่าสิง่ ที่มีในสังคมอารยะเปรียบ
เทียบกับสังคมอนารยะ เมื่อนำสิง่ เหล่านี้ มาใส่ลงใน
"ชีวติ ชาวเมือง" คำนิ ยามที่ได้จะเน้น ความมุ่งหมายใน
การจัดระเบียบของสังคม ในมุมกว้างอาจมีวธิ กี ารบ่งชี้ ถงึ
ความเป็ นอารยธรรมได้ ๓ วิธี คือ
30

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

วิธแี รก นำมาใช้โดยนักปราชญ์ เช่น เอ แอล โครเบอร์


(A.L.Kroeber) และ โคลิน เรนฟริว (Colin
Renfrew) เน้นในความซับซ้อนของการจัดระเบียบ การ
ตีความเช่นนี้ มองอารยธรรมแตกต่างไปจากรูปแบบอืน่ ของ
สังคมมนุ ษย์ ไม่ใช่เป็ นการแบ่งประเภท แต่เป็ นเพียงระดับ
ความซับซ้อน คำนิ ยามนี้ สามารถวิพากษ์ความล้มเหลว ไป
จนถึงจุดเด่นในการพิจารณาพัฒนาการใด ๆ ซึ่งอาจแยก
อารยธรรมให้เห็นเด่นชัดออกมาจากรูปแบบของสังคมแบบง่าย
31

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

A.L.Kroeber Lewis H. Morgan


32

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

วิธที ่สี อง ยังคงเกี่ยวข้องกับการจัดระเบียบองค์การอยู่ แต่


เน้นประเภทของการจัดองค์การภายในทางสังคม การวิเคราะห์
แนวนี้ อยู่บนพื้นฐานงานของนักมานุ ษยวิทยาพัฒนาการ ศตวรรษ
ที่ ๑๙ ปราชญ์ชาวอเมริกนั บิดาแห่งวิชามานุ ษยวิทยา คือ เลวิส
มอร์แกน ซึ่งจำแนกวิวฒั นาการของสังคมออกเป็ น ๓ ส่วน คือ
ป่ าเถือน หรือสังคมไม่มีศาสนา (savagery หรือ ban society)
อนารยธรรม หรือสังคมเผ่า (barbarism หรือ tribal society)
อารยธรรม หรือสังคมรัฐ (civilization หรือ state society)
33

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

สิง่ ที่สำคัญและมีอทิ ธิพลที่สดุ ได้แก่ความคิดรวบยอด


เกี่ยวกับสังคมรัฐ สังคมรัฐเป็ นประเภทที่แสดงให้เห็น
โครงสร้าง การแบ่งชนชัน้ ระดับสูง การปกครองรวม
ศูนย์อย่างมัน่ คง และชนชัน้ ปกครองมืออาชีพ ระเบียบและ
การควบคุมให้ธำรงอยู่จากระบบกฎหมายและระบบของรัฐใน
การบังคับควบคุม หลักการการจัดระเบียบองค์กรที่ครอบคลุม
กว้างขวาง ไม่ได้เป็ นระบบเครือญาติอกี ต่อไป
แตกต่างจากสังคมแบบง่ายๆ หลักการอืน่ ที่ปฏิบตั ิ เช่น
ชนชัน้ ทางสังคม ความเชี่ยวชาญในอาชีพ และความแตกต่าง
ในที่อยู่อาศัย
34

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

วิธที ่สี าม เป็ นการแสวงหาตัวบอกลักษณะความสัมพันธ์


ภายในสังคมมากชึ้น สูตรง่ายที่สดุ ที่นกั มานุ ษยวิทยาชาวอเมริกนั
นาม ไคลด์ คลักฮอห์น (Clyde Kluckhohn) กำหนดไว้ ว่า สังคม
อารยะควรมี ๒ ใน ๓ ของลักษณะต่อไปนี้ คือ
๑. มีเมืองที่มีประชากรมากกว่า ๕,๐๐๐ คน
๒. มีการเขียน
๓.มีศูนย์กลางอนุ สรณ์สถานเกี่ยวกับการทำพิธกี รรมที่ถาวร
การกำหนดเช่นนี้ ใช้ได้ดีในฐานะเป็ นเครื่องวัด แต่ยงั ไม่ได้รวม
ถึงลักษณะที่สำคัญอีกหลายประการ คือ
35

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

ปฐมภูมิ ทุตยิ ภูมิ


๑.การตัง้ ถิ่นฐานในเมือง ๖.งานก่อสร้างสาธารณะถาวร
๒.แรงงานผูชำ ้ นาญทำงานเต็ม เป็ นอนุ สรณ์สถานได้
เวลา ๗.การค้าทางไกล
๓.เน้นความสำคัญในการผลิตเกิน ๘.งานศิลปะอนุ สรณ์สถานที่ได้
ความต้องการ มาตรฐาน
๔.โครงสร้างชนชัน้ ๙.การเขียน
๕.การจัดระเบียบเป็ นรัฐ ๑๐.คณิ ตศาสตร์ เรขาคณิ ต และ
ดาราศาสตร์
36

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

• ลักษณะขัน้ ปฐมภูมิคอื ความมุ่งหมายของการจัดระเบียบ


• ขัน้ ทุตยิ ภูมิคอื ลักษณะของวัฒนธรรมวัตถุ ซึ่งศึกษาได้จาก
โบราณวัตถุ และยังมีการคงอยู่ของลักษณะขัน้ ปฐมภูมิบาง
ประการหรือทัง้ หมดอยู่
• สำหรับอาคารสาธารณะที่เป็ นอนุ สรณ์สถานได้ มักบ่งชี้ถงึ
การปกครองโดยอำนาจส่วนกลาง และยังเป็ นหลักฐาน
ประจักษ์สว่ นหนึ่ งของสังคมรัฐ
37

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

วิธกี ารสุดท้ายนี้ เป็ นการประนี ประนอมระหว่างคำ


นิ ยามที่กว้างของโครเบอร์ (Kroeber) กับ เรนฟริว
(Renfrew) และ คลัคฮอห์น (Kluckhohn) ซึ่ง
เป็ นตัวชี้วดั พื้นฐานที่งา่ ยและสะดวก ในขณะเดียวกัน
นิ ยามสุดท้ายนี้ ยงั เป็ นการให้นิยามที่กว้างและต่อเนื่ อง
เป็ นโครงสร้างมากกว่าวิธที ่สี องซึ่งอยู่บนพื้นฐานเกณฑ์
ของการจัดระเบียบทางสังคม เพียงด้านเดียว
38

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

มนุ ษย์สร้างสิง่ แวดล้อม


ข้อคิดคือ จะเป็ นวิธกี ารใดก็ตาม การพิจารณาต้องไม่
ยึดมัน่ อารยธรรมเป็ นการประดิษฐ์สร้างสรรค์ของมนุ ษย์
เป็ นเครื่องมือขัน้ สูงสุดของมนุ ษย์ สิง่ แวดล้อมที่เกิดจากการ
ประดิษฐ์ สร้างสรรค์ เช่น เรือน ที่พกั อาศัย ภาษา ซึ่ง
มนุ ษย์สร้างขึ้นมาเพือ่ ประโยชน์ของตนเอง อาจมองได้ว่า
อารยธรรมเป็ นการเชื่อมโยงระหว่างมนุ ษย์กบั โลกทาง
กายภาพ
39

อารยธรรมโลก = สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

ความเจริญอันเกิดจากความสัมพันธ์ ของสิ่งแวดล้ อม เวลา


ภูมปิ ั ญญา เมือง
อารยธรรม สิง่ แวดล้อม เวลา ภูมิปัญญา เมือง
มนุ ษย์ ประเทศไทย โลกตะวันออก โลกตะวันตก
ภูมิศาสตร์ Eco Soc Relg Pol Tech Lang Arts
ความคิด Eco Soc Relg Pol Tech Lang Arts
สร้างสรรค์ Eco Soc Relg Pol Tech Lang Arts
พัฒนา Eco Soc Relg Pol Tech Lang Arts
40

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

อารยธรรม สิ่งแวดล้ อม เวลา ภูมปิ ั ญญา เมือง


มิตทิ ศั น์ อารยธรรม การเปลี่ยนแปลง
• สิง่ แวดล้อม สิง่ ที่อยู่รอบตัวมนุ ษย์และมีอทิ ธิพลต่อมนุ ษย์
• เศรษฐกิจ การผลิต การกระจาย และการบริโภคทรัพยากร
• สังคม รูปแบบความสัมพันธ์ (ปฏิสมั พันธ์) ของมนุ ษย์
• ศาสนา ความเชื่อและศรัทธา
• การเมือง ความสัมพันธ์ของอำนาจในการควบคุมรัฐ
• เทคโนโลยี ความชำนาญและการประดิษฐ์
• ภาษา สัญลักษณ์เพือ่ การสือ่ สาร
• ศิลปะ การแสดงออกทางสุนทรียะ
41

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

กระบวนการศึกษาอารยธรรมต้องใช้เหตุผลและหลักฐานประจักษ์
• เหตุ (Cause) คือภาวะเงือ่ นไขจำเป็ น ทำให้เกิดสิง่ หนึ่ งขึ้น
• ผล คือ สิง่ ที่เกิดตามภาวะเงือ่ นไขของเหตุ
• เหตุ-ผล ต้องมีความต่อเนื่ องไม่ขาดตอน คือเงือ่ นไขเวลา
▫ เหตุในฐานะเป็ นตัวการ
▫ เหตุในฐานะเป็ นความต่อเนื่ อง
▫ เหตุในฐานะเป็ นพัฒนาการ
42

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

มนุ ษย์สร้างสิง่ แวดล้อม


อารยธรรมยังเป็ นสิง่ แวดล้อมซึ่งได้สร้างขึ้นในช่วงเวลาที่สน้ั
มาก ๕,๐๐๐ ปี นับแต่การปรากฏของเมืองครัง้ แรก มีช่วงความยาว
ของระยะเวลาน้อยมาก ทัง้ ในสัดส่วนในพัฒนาการวิวฒั นของมนุ ษย์
เอง (อาจอยู่ในช่วงประมาณ ๕ ล้านปี ) หรือมีความสัมพันธ์กบั ยุค
ทางธรณี วิทยาของโลก (ประมาณ ๔,๕๐๐ ปี มาแล้ว)
ประการสุดท้าย อารยธรรมเป็ นสิง่ แวดล้อมที่เปราะบาง เรา
ได้แต่สงสัยโลกที่มนุ ษย์ต่อสูแ้ ละสร้างอย่างไร ซึ่งต้องพิสูจน์ต่อไป
43

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

ลักษณะของสังคมอารยะ
คาร์ลตัน เจ เอช ฮาเยส (Carlton J.H.
Hayes) ได้กล่าวถึงลักษณะสังคมอารยะไว้บางประการ คือ
เมืองที่มีระบบการเมือง สังคม เศรษฐกิจรวมอยู่ในนั้นทัง้ หมด คำ
ว่าอารยธรรม ในภาษาอังกฤษ คือ คำว่า civilization
มาจากคำภาษาละตินว่า civis หมายถึงพลเมืองของ
civita (city) คือ เมืองนัน่ เอง
44

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

ลักษณะของสังคมอารยะ
ฮาเยสพิจารณาลักษณะองค์ประกอบของสังคมอารยะไว้ดงั นี้
การเกษตรกรรม การเกษตรกรรมเป็ นสถาบันหลักของทุก
อารยธรรมในสมัยโบราณ เกษตรกรรมมีมาตัง้ แต่ สมัยบรรพกาลด้วย
แต่เกษตรกรรมที่มีอยู่ในสังคมอารยะ ที่ดินไร่นาขึ้นอยู่กบั เมือง
ประชาชนอยู่ในที่ดินการเกษตร สะท้อนวัฒนธรรมของ เมืองในระดับ
หนึ่ งไม่มากก็นอ้ ย ทัง้ นี้ ข้ ึนอยู่กบั ความมัง่ คัง่ และการติดต่อสือ่ สาร ที่มีอยู่
ระหว่าง บริเวณการเกษตรกับเมือง
45

ลักษณะของสังคมอารยะ สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

ประชากร ในสังคมอารยะมีประชากรจำนวนมาก สังคมบรรพ


กาลอาจมีขนาดใหญ่หรือเล็ก ตัวอย่าง อาณาจักรอียปิ ต์ ประชากร
เริ่มมาจาก ๑ ถึงหลายล้านคน แทนที่จะเป็ นจำนวน ๒-๓ พันคน
ที่อยู่ในอาณาเขตเดียวกันดังเช่นสมัยเริ่มแรก อาณาเขตสังคม
อารยะจะครอบครองอาณาเขตกว้างขวาง ขนาดของพรมแดนจะ
ขยายมากขึ้นหรือแคบลงจะเป็ นไปตามการขึ้นหรือลงของประวัติ
อารยธรรม แต่ตลอดเวลา สังคมอารยะจะรวมเอาพื้นที่จำนวน
มากกว่าสังคมบรรพกาลเอาไว้
46

ลักษณะของสังคมอารยะ สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

ตัวอย่าง
อียปิ ต์กอ่ นจะรวมตัวกันเป็ นหนึ่ ง ก็จะมีเผ่าขนาดเล็ก
จำนวนมากครอบครองดินแดนอยู่ ต่อมามีการรวมตัวเป็ นก
ลุม่ เดียว คือ อียปิ ต์ ได้ครอบครองลุม่ น้ำไนล์ สามเหลี่ยม
แม่น้ำไนล์ และดินแดนที่อยู่ลกึ เข้าไป
47

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

สถาบัน สังคมอารยะได้มีการพัฒนาสถาบัน สถาบันที่


เกิดขึ้นนี้ สามารถแยกศึกษาได้เป็ นเรื่อง ๆ เช่น เราสามารถ
ศึกษาการ ปกครอง เศรษฐกิจ ศิลปะ วิทยาศาสตร์อจี ปิ ต์
และอืน่ ๆ ในสังคมบรรพกาล สถาบันเหล่านี้ เป็ นการผสม
รวม ๆ กันไป ซึ่งเราไม่สามารถแยกออกมาให้เห็นเป็ นส่วน
ๆ ได้
48

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

การเขียนตัวอักษร สังคมอารยะมีระบบการเขียนเพือ่
เก็บบันทึกและส่งทอดวรรณกรรม ประวัตศิ าสตร์
วิทยาศาสตร์ และสิง่ อืน่ ๆ ทุกสิง่ ที่ได้คงอยู่ในการดำเนิ น
ชีวติ ของตน
49

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

การใช้โลหะ สังคมอารยะเข้าใจการใช้โลหะ และสามารถ


แยกโลหะออกมาจากสายแร่ธรรมชาติได้ กลุม่ สังคมบรรพกาล ใช้
โลหะ เช่น ทองคำซึ่งพบในลักษณะที่เป็ นธรรมชาติและอาจนำมา
ทำเป็ นรูปร่างได้อย่างง่าย ๆ แต่โดย ทัว่ ไป คนในสังคมบรรพ
กาล จะขึ้นอยู่กบั เครื่องมือและอาวุธหรือหินซึ่งสามารถทำมา
ตกแต่งได้โดยตรง จากธรรมชาติ ส่วนในสังคมอารยะจะมี
กระบวนการ ขัน้ ตอนซับซ้อนและละเอียด
• Ruth Whitehouse&John ilkins, THE MAKING OF CIVILIZATION:History
1

Discovered Through Archaeology, ZNew York: Alfred A.Knoff, 1988), pp.9-10.


•  2Carlton J.K. Hayes, ANCIENT CIVILIZATION: Prehistory to the Fall of Rome, (New York: MacMillan Publishing CO.,INC.
1983), pp.54-55
50

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔


ตัวชี้วดั ความเป็ นอารยธรรมแบบอืน่ เช่น
ลักษณะพื้นฐาน ๘ ประการของอารยธรรม
(๑) ระบบการเขียนอักษร (๒) โครงสร้างพื้นฐาน งานสาธารณะ

(๓) รัฐบาล/กฎหมาย
51

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

(๔) ศิลปะ/สถาปัตยกรรม
(๕) ชนชัน้ ทางสังคม
52

(๖) ศาสนาจัดตัง้ สมประสงค์ น่วมบุญลือ

(๗) ความชำนาญพิเศษในงานเฉพาะด้าน
๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

(๘) พัฒนาการของเมือง
53

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔


54

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔


55

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

บทที่ ๒
กำเนิ ดของอารยธรรม
• ต้นกำเนิ ดหรือที่มาของอารยธรรม นักโบราณคดีและนัก
มานุ ษยวิทยาได้ศึกษาการปรากฏของอารยธรรม ตัง้ แต่ปลาย
ศตวรรษที่ ๑๙ และได้เสนอทฤษฎีต่าง ๆ มากมาย เพือ่ รวบรวม
การเปลี่ยนแปลงรูปแบบในสังคมมนุ ษย์ เราจะมองใน ลักษณะ
ทฤษฎีท่มี ีอทิ ธิพล มากที่สดุ โดยสรุป ก่อนจะตรวจสอบ
กระบวนการในรายละเอียด ที่กว้างขวางกว่า เราสามารถแบ่ง
ทฤษฎีออกได้เป็ น ๕ กลุม่ หลัก แต่ละกลุม่ มุ่งในด้านปัจจัยสำคัญ
ในการเปลี่ยนแปลงที่แตกต่างกัน
56

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

ทฤษฎีการต่อสูเ้ พือ่ ยังชีพ


การปฏิบตั ทิ างเศรษฐกิจ โดยเฉพาะเศรษฐกิจเพือ่ ยังชีพ ซึ่ง
มักกำหนดเป็ นปัจจัยขัน้ ปฐมภูมิโดยเฉพาะ เน้นจุดความสนใจที่
บทบาทของการควบคุมน้ำ มีขอ้ เท็จจริงสนับสนุ นว่า อารยธรรม
สมัยเริ่มแรกมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับการเกษตรกรรมที่ใช้ระบบ
การควบคุมน้ำขนาดใหญ่ รูปแบบที่ได้รบั การพัฒนามากที่สดุ
เสนอโดยนักวิชาการชาวอเมริกนั ชื่อ คาร์ล วิททโฟเกล (Karl
Wittfogel) ทฤษฎีน้ ี รูจ้ กั กันว่า “สมมุตฐิ านน้ำ” (hydraulic hy
pothesis)
57

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

ทฤษฎีการต่อสูเ้ พือ่ ยังชีพ


ในทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะเศรษฐกิจเพือ่ ยังชีพ มักกำหนดปัจจัยขัน้ ปฐมภูมิ
ที่บทบาทของการควบคุมน้ำ ข้อเท็จจริงสนับสนุ นว่า อารยธรรมเริ่มแรกมี
ความสัมพันธ์กบั การเกษตรที่ใช้ระบบการควบคุมน้ำขนาดใหญ่ รูปแบบที่นกั
วิชาการชาวอเมริกนั ชื่อ คาร์ล วิททโฟเกล (Karl Wittfogel) นำเสนอเป็ น
ทฤษฎี คือ “สมมุตฐิ านน้ำ” (hydraulic hypothesis) พื้นฐานความคิด คือ
ในสภาพแวดล้อมซึ่งหลายอารยธรรมปรากฏขึ้นนั้น มีความแห้งแล้ง เป็ นไป
ไม่ได้ท่กี ารเกษตรจะขึ้นอยู่กบั ฝนตามธรรมชาติแต่เพียงประการเดียว การ
เพาะปลูกเกษตรกรได้นำน้ำเข้ามายังไร่นา
58

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

ทฤษฎีการต่อสูเ้ พือ่ ยังชีพ


การเพาะปลูกเกษตรกรได้นำน้ำเข้ามายังไร่นา การควบคุมน้ำในระดับกว้างต้อง
เกี่ยวข้องกับการวางแผน ในการขุดคลอง สร้างเขื่อน ควบคุมน้ำ และบำรุง
รักษา(การขุดลอกคลอง การอุดซ่อมรอยรัว่ ของเขื่อน) ป้ องกันการโจมตีจาก
ภายนอก การจัดระเบียบกิจกรรมเหล่านี้ ทำให้เกิดความจำเป็ นต้องมีอำนาจ
ศูนย์กลางบางอย่าง ซึ่งควบคุมการจัดส่งน้ำ ให้มีอยู่อย่างสม่ำเสมอ ซึ่งเป็ นบุคคล
ที่มีอำนาจมหาศาล อำนาจนี้ เป็ นการเตรียมพื้นฐานของการ ปรากฏอารยธรรม
ในรูปแบบหนึ่ งโดยเฉพาะ เรียกว่า Oriental Despotism สร้างลักษณะอำนาจ
เดี่ยวเป็ นอำนาจสูงสุดอยู่ท่ศี ูนย์กลาง เช่น วิหารในซูเมอร์ หรือ วังในอียปิ ต์
59

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

วิทโฟเกลในเรื่องอารยธรรมน้ำ Wittfogel On The Hydraulic


Civilization

• ทฤษฎีของวิทโฟเกลได้มีการปรับต้นแบบจากปราชญ์ท่ชี ้ ี ต่อการปรากฏของ
อารยธรรมเมืองในบางบริเวณโดยปราศจากการนำเสนองานควบคุมน้ำขนาด
ใหญ่ ในทัศนะของปราชญ์เหล่านี้ หลายปัจจัย รวมทัง้ ลักษณะทางภูมิประเทศ
การกระจายของทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิอากาศ ชนิ ดของพืชและสัตว์ท่เี กิดขึ้ น
และความสัมพันธ์กบั ชนที่อยู่ใกล้ชิดติดกันได้นำมาสูก่ ารตอบสนองต่อสิง่
แวดล้อม ปราชญ์เหล่านี้ อาจกล่าวถึงการประยุกต์วธิ ีการใช้ “ระบบ” เพือ่ การ
ตีความของกำเนิ ดของสังคมที่ได้จดั องค์การขึ้น
จับสาระจาก
http://www.riseofthewest.net/thinkers/wittfogel05.htm
Retrieved 28 May 2011
60

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

กอร์ดอน ไคลด์ (Gordon Clyde) นักปราชญ์สมัยก่อน


ประวัตศิ าสตร์กค็ ดิ ว่า การควบคุมน้ำ เป็ นสิง่ สำคัญ อย่างไรก็ตาม
เขาไม่เพียงแต่เน้นการจัดองค์กรรวมเข้าสูศ่ ูนย์กลางที่ตอ้ งการ
ดำเนิ นการควบคุมน้ำ ความอุดมสมบูรณ์ของไร่นาที่น้ำจึงเป็ นสิง่ ซึ่ง
จะผลิตสิง่ ที่เกินความต้องการออกมา และใช้ในการสนับสนุ นแรงงาน
ช่าง ได้เต็มเวลาในงานโลหะ ช่างปัน้ ดินเผา และช่างแกะสลักหิน ผู ้
ผลิตอาหารเฉพาะ และผูบ้ ริหารมักพิจารณาว่า เป็ นความเชี่ยวชาญ
ทางเศรษฐกิจเป็ นลักษณะสำคัญที่สดุ
61

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

วิทโฟเกลในเรื่องอารยธรรมน้ำ Wittfogel On The Hydraulic


Civilization

•อ่านประกอบ
•อารยธรรมของผูทำ ้ การเกษตรกรรมที่ข้ ึนอยู่กบั เครือข่ายน้ำขนาดใหญ่
เพือ่ การชลประทานและการควบคุมน้ำหลากเรียกว่า “อุทกอารยธรรม”
(hydraulic civilizations) โดยนักประวัตศ ิ าสตร์ชาวเยอรมัน-
อเมริกนั นาม คาร์ล วิทโฟเกล (Karl A. Wittfogel) ในหนังสือ
Oriental Despotism (1957) ของเขา
62

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

วิทโฟเกลในเรื่องอารยธรรมน้ำ Wittfogel On The Hydraulic


Civilization

• วิทโฟเกล เชื่อว่า “อุทกอารยธรรม” นั้นแม้ว่า ไม่ทง้ั หมดในตะวันออกหรือ


ลักษณะสังคมตะวันออกทัง้ หมด จะแตกต่างกันมากทีเดียวกับสังคมตะวันตก เขา
เชื่อว่าที่ใดก็ตามที่การชลประทานต้องการเป็ นแก่นและกระบวนการควบคุมมาจาก
ศูนย์กลาง รัฐบาลเป็ นตัวแทนผูกขาดอำนาจการเมือง และคุมด้านเศรษฐกิจ ผลที่
ได้ในในรัฐที่มีการจัดการสมบูรณ์แบบ อีกนัยหนึ่ ง ลักษณะใกล้ชิดของเจ้าหน้าที่
เหล่านี้ ด้วยศาสนาที่ครอบงำและสกัดกัน้ อำนาจศูนย์กลางอืน่ ๆ การเกณฑ์
แรงงานเพือ่ โครงการชลประทานถูกสร้างเครือข่ายจากขุนนาง ในบรรดาอุทก
อารยธรรมเหล่านี้ วิทโฟเกลได้เรียงอียปิ ต์โบราณ เมโสโปเตเมีย อินเดีย จีน และ
เม็กซิโกและเปรูกอ่ นสมัยโคลัมบัส
63

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

วิทโฟเกลในเรื่องอารยธรรมน้ำ Wittfogel On The Hydraulic


Civilization

• ความสำคัญสูงสุดของบทบาทชลประทานในการพัฒนาสังคม ได้ถกเถียงกันในหมู่นกั
เขียนอืน่ ๆ ถึงลักษณะที่วทิ โฟเกลได้เชื่อมโยงว่าเป็ นสิง่ จำเป็ นต้องมีรว่ มกันว่าไม่จำเป็ น
และยังอาจปรากฏได้โดยปราศจาการชลประทานขนาดใหญ่ ลักษณะต้นแบบของวิทโฟ
เกลยังได้รบั วิจารณ์ นักมานุ ษยวิทยาชาวอเมริกนั นาม โรเบอร์ต แมคคอมิกส์ อดัม
(Robert McCormick Adams) แนะนำว่า หลักฐานทางโบราณคดีลม้ เหลว
ในการสนับสนุ นข้อยืนยันของวิทโฟเกลที่ว่าการชลประทานเป็ นปฐมเหตุของการต่อรูปของ
สถานบันที่ใช้อำนาจบีบบังคับทางการเมือง แต่ความคิดรวบยอดที่ว่า เป็ นส่วนของระบบที่
ใหญ่กว่าของเทคนิ คในการยังชีพ โครงสร้างการเมืองและความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ อาจ
ช่วยในการสร้างความเป็ นปึ กแผ่นการควบคุมทางการเมือง
64

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

วิทโฟเกลในเรื่องอารยธรรมน้ำ Wittfogel On The Hydraulic


Civilization

• การประกอบเป็ นองค์การของโลกโบราณ
• ทฤษฎีท่เี ป็ นลักษณะทัว่ ไปประการแรกที่กา้ วหน้าไปสูก่ ารอธิบายพัฒนาการของอารยธรรม
โบราณซึ่งประกอบองค์การอย่างเป็ นระบบในขอบเขตที่กว้าง การปรากฏชนชัน้ ทางสังคม ความ
ชำนาญเฉพาะด้านได้รบั การการต่อเติมให้ละเอียดจากนักประวัตศิ าสตร์และการเมือง คาลร์ล วิ
ทโฟเกล ในหนังสือสัมมนา Oriental Despotism (1957). วิทโฟเกล
เชื่อว่า พัฒนาการของงานชลประทาน (การควบคุมน้ำ)ในบริเวณเช่นเมโสโปเตเมียและ
อียปิ ต์นำไปสูก่ ารใช้แรงงานมวลชน จัดลำดับชัน้ ความต่อเนื่ ององค์การเพือ่ คึวามร่วมมือและ
ชี้นำกิจกรรม และควบคุมดูแลเพือ่ ประกันการกระจายน้ำให้เหมาะสม แม้ในสังคมเผ่าก็มีรูป
แบบการควบคุมดูแล นี่ คอื ลักษณะเฉพาะทัว่ ไปในธรรมชาติ ที่ดำเนิ นการโดยผูอ้ าวุโสเหนื อ
กลุม่ เผ่าพันธุท์ ่สี มั พันธ์กนั โดยเครือญาติในระดับต่าง ๆ กัน ครัง้ แรก ผูค้ วบคุมดูแลที่ไม่เป็ น
ส่วนบุคคลได้สถาปนาขึ้นในฐานะสถาบันที่เด่นชัดและถาวร
65

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

วิทโฟเกลในเรื่องอารยธรรมน้ำ Wittfogel On The Hydraulic


Civilization

• การชลประทานเพิม่ การสำรองอาหาร ยอมให้ประชาชนจำนวนมากรวมตัวกัน


ไปสูเ่ มืองและนคร เนื่ องจากกสิกรอ่อนแอต่อการรุกราน กองทัพจึงมีความ
จำเป็ นซึ่งหมายถึงการใช้ชนชัน้ ราชการ กระบวนการสร้างแรงงานเฉพาะด้าน
ของเมืองนำไปสูก่ ารเกิดช่างปัน้ หม้อ ช่างทอผ้า ช่างโลหะ อาลักษณ์ นัก
กฎหมาย และแพทย์ ในขณะที่ผลผลิตเกินความต้องการยังได้สร้างสรรค์พ้ืน
ฐานพาณิ ชยกรรมด้วย เศรษฐกิจที่ซบั ซ้อนมากขึ้นต้องการการบันทึก ดังนั้น
การเขียนได้เกิดขึ้น สิง่ ที่เป็ นตัวอย่าง คือ การบันทึกและการเก็บเป็ นหนังสือ
ในหอสมุดในเมโสโปเตเมีย
66

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

ทฤษฎีแรงกดดันด้านประชากร
ทฤษฎีท่มี ีความสำคัญกลุม่ ที่ ๒ มองว่า แรงกดดันด้าน
ประชากรเป็ นตัวเคลื่อนไหวสูงสุดในการพัฒนาอารยธรรม
ทฤษฎีน้ ี เป็ นการมองทางกว้าบนพื้นฐานหลักที่ว่า การขยายตัว
ของประชากรเป็ นลักษณะคงที่ของวิวฒั นาการมนุ ษย์และรับ
ผิดชอบในการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญเกือบทัง้ หมด ทัศนะนี้ มีขอ้
เสนอว่า แนวโน้มตามธรรมชาติของประชากรจะเพิม่ ขยายตัว
เรื่อยไป
67

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

ทฤษฎีและหลักการ

วิวฒั นาการร่วมภายใต้แรงกดดันด้านประชากร : จากการนำ


สัตว์มาเลี้ยง (domestication) ไปจนถึงเกษตรกรรม
การสำรวจกำเนิ ดทฤษฎีการเกษตรกรรมมักเป็ นที่รูจ้ กั แพร่
หลาย แต่ไม่มีการยืนยัน ๔ สมมุตฐิ าน (hypotheses)
และทฤษฎี (theories) ของนักมานุ ษยวิทยาและปราชญ์
ท่านอืน่ ทางตะวันตก อาจสรุปได้ ดังนี้
68

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

ทฤษฎีและหลักการ
• กำเนิ ดเกษตรกรรมเป็ นประเภทการประดิษฐ์ ; ต.ย. บุคคลหรือวัฒนธรรม
ถูกสร้างขึ้นมาและเผยแพร่ออกไป
• การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในยุคน้ำแข็งตอนปลายก่อให้เกิดการประดิษฐ์
• จำนวนประชากรที่เพิม่ ขึ้นกระตุน้ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากการล่าสัตว์ไปสู่
การเกษตรกรรม
• การอำนวยประโยชน์จากวิวฒั นาการร่วมกันของการนำสัตว์มาเลี้ยง พฤติกรรม
มนุ ษย์ และโครงสร้างสังคม
69

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

ทฤษฎีแรงกดดันด้านประชากร
ประชากรจะเพิม่ ขยายจากปัจจัยที่นกั เศรษฐศาสตร์
นามโธมัส มัลธัส (Thomas Malthus) ได้ช้ ีประเด็นใน
ตอนต้นศตวรรษที่ ๑๙ ว่า อาหารสำรองมีจำกัด โรคและ
ตัวทำลายเป็ นไปตามธรรมชาติ ในสภาพแวดล้อมที่ราบลุม่
แม่น้ำ (ด้วยดินอุดมและศักยภาพ สำหรับการเกษตรกรรม
ที่มีการผลิตสูง) ยอมให้มีการขยายตัวของประชากรได้หนา
แน่ น และรวดเร็ว
70

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

ทฤษฎีแรงกดดันด้านประชากร
บางท่านเชื่อว่าประการนี้ เองนำไปสูท่ างพัฒนาใหม่ ๆ ในการจัด
ระเบียบทางเศรษฐกิจและสังคม เมื่อครอบครัวอยู่บนพื้นฐานของการ
ปฏิบตั เิ พือ่ ยังชีพและการจัดระเบียบองค์กรพื้นฐานสำคัญซึ่งสร้างสังคม
ขนาดเล็กก็ไม่สามารถสนับสนุ นชุมชนใหญ่ได้
นักปราชญ์ท่านอืน่ มองว่าการเติบโตของจำนวนประชากรในตัว
ของมันยังไม่เพียงพอที่จะเป็ นกลไกการปรากฏของอารยธรรม แต่ยงั มี
องค์ประกอบอืน่ เพิม่ อีก คือ ความขัดแย้ง
71

ทฤษฎี
ทฤษฎี ความขั
ดแย้ดงแย้ง
ความขั สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

นักปราชญ์ชาวอเมริกนั นามโรเบอร์ต คาร์เมโร (Robert


Carmeiro) ผูเ้ สนอมุมมองหนึ่ งที่เป็ นหลัก อ้างว่าในบริเวณที่มี
การกำหนดเขต เมื่อมีการขยายเขตเข้าไปสูบ่ ริเวณใกล้เคียง (จาก
เหตุปจั จัยสิง่ แวดล้อม เช่น ภูเขา ทะเลทราย ทะเล หรือเป็ นเพราะ
ว่าบริเวณเหล่านี้ ฝ่ ายอืน่ ไม่พร้อมที่จะเข้าไปครอบครอง) เป็ นไป
ไม่ได้ว่า การเพิม่ จำนวนประชากรจะก่อให้เกิดการขัดแย้งระหว่าง
กลุม่ ที่แข่งขันเพือ่ ให้ได้ดินแดนและแหล่งทรัพยากรอืน่
72

ทฤษฎี
ทฤษฎี ความขั
ดแย้ดงแย้ง
ความขั สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

แนวโน้มที่จะมีชมุ ชนใหม่เกิดขึ้นและป้ องกันตนเองไม่ให้


ถูกโจมตีจากภายนอก มีการเลือกผูนำ ้ ขึ้นมาเพือ่ จัดการด้าน
สงคราม และถ้าสำเร็จอาจมีอำนาจทัว่ ไปมากขึ้น มีความถาวร
มากขึ้นในชุมชน แล้วก็กลายมาเป็ นการจัดตัง้ ชนชัน้ ปกครอง
ประชากรของชุมชนที่พา่ ยแพ้อาจถูกดูดกลืนจากผูช้ นะเป็ น
ชนชัน้ ต่ำ และนัน่ คือรูปแบบและการสถาปนาสังคมรัฐ
73

ทฤษฎี
ทฤษฎี ความขั
ดแย้ดงแย้ง
ความขั สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

การตีความต้นกำเนิ ดอารยธรรมของกลุม่ มาร์กซิ


สต์(Marxists)กำหนดการเน้นในปัจจัยทางเศรษฐกิจ รวม
ถึง กระบวนการที่เน้นการเกษตร ความชำนาญทางช่าง
ฝี มือ มาร์กซิสต์เน้นความขัดแย้งมากเกินไป ประการนี้
ไม่ใช่ความขัดแย้ง ระหว่างชุมชน แต่ค่อนข้างเป็ นความขัด
แย้งระหว่างชนชัน้ ”มี” กับ ”ไม่มี” ในสังคมที่มีการแตกต่าง
กันอย่างรวดเร็วของอารยธรรมที่กำหนดขึ้น
74

ทฤษฎี
ทฤษฎี ความขั
ดแย้ดงแย้ง
ความขั สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

ตามทัศนะนี้ ข้อเสนอเป็ นการเน้นตัวอย่าง โดยนัก


ปราชญ์ชาวรัสเซียชื่อ อิกอร์ ไดอาโคนอฟ (Igor
M.Diakonoff) รัฐเกิดขึ้นเป็ นผลของการขัดแย้ง ทาง
ชนชัน้ และหน้าที่ของมัน คือ การรักษาอำนาจให้เหนื อกว่า
ผูอ้ น่ื ของชนชัน้ ปกครอง
75

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

ปัจจัยที่มนุ ษย์ตอ้ งแก้ไขความขัดแย้งในกระบวนการสร้าง


อารยธรรม:
- ความปลอดภัยจากภัยมนุ ษย์และธรรมชาติภมู ิอากาศของบริเวณ
นั้น ต.ย. ความชุกของฝน แห้งแล้ง แดดจัด
- แหล่งอาหารและน้ำ ต.ย. แม่น้ำ
- ลักษณะที่เอื้อต่อการปลูกพืชและสร้างเรือนที่อาศัย
- มีดินแดนเพียงพอที่จะสร้างอารยธรรม
- มีดินแดนเพียงพอที่จะปลูกพืชได้
- มีนวัตกรรมในการเขียน
76

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

ทฤษฎีการแลกเปลี่ยน
ปัจจัยอืน่ ที่อภิปรายถึงวิธกี ารที่อารยธรรมพัฒนาขึ้นมา
บางครัง้ พิจารณาว่าความสำคัญเบื้องแรก คือ การแลก
เปลี่ยน ทัง้ การแลกเปลี่ยนระยะทางไกลหรือภายในบริเวณ
ที่อารยธรรมเกิดขึ้น ผูส้ นับสนุ นทัศนะนี้ มองว่า พัฒนาการ
ของการค้าในวงกว้างเป็ นสิง่ จำเป็ น โดยเฉพาะในเมโสโป
เตเมีย
77

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

ทฤษฎีการแลกเปลี่ยน
เมโสโปเตเมีย ขาดวัสดุท่ีจำเป็ นมากมายในการดำเนิ น
ชีวติ อารยะ ซึ่งได้แก่โลหะ หิน และไม้สกั สำหรับการ
ก่อสร้าง ได้นำไปสูพ่ ฒั นาการจัดระเบียบยึดศูนย์กลางเพือ่
ควบคุมจัดหาการขนส่ง การกระจายวัตถุดิบและสินค้าอืน่
การจัดระเบียบเช่นนี้ เป็ นการจัดเตรียมพื้นฐานสำหรับ
อำนาจชอบธรรมซึ่งสามารถขยายไปควบคุมความประสงค์
อืน่ ๆ ของสังคม รวมถึงกิจกรรมเพือ่ การยังชีพ และงาน
ช่างฝี มือหัตถกรรม
78

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

ทฤษฎีการแลกเปลี่ยน
การแลกเปลี่ยนยังรวมไปถึงสินค้า เริ่มจากเป็ นตลาดซึ่ง
ตำแหน่ งที่มีการแลกเปลี่ยนสินค้า มักเป็ นตำแหน่ งที่ขยายตัว
ขึ้นมาเป็ นเมือง นอกจากการแลกเปลี่ยนสินค้าแล้วแหล่งชุมนุ ม
เหล่านี้ ยงั แลกเปลี่ยนความคิด รูปแบบในการดำเนิ นชีวติ
ความรูแ้ ละเทคโนโลยี
79

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

ทฤษฎีการจัดระเบียบทางสังคม
กลุม่ ทฤษฎีสดุ ท้ายมองปัจจัยทางสังคมเป็ นเบื้อง
แรกและพิจารณาว่า
การเปลี่ยนแปลงในเทคโนโลยี การปฏิบตั ิ เพือ่
ดำรงชีพ การค้าและอืน่ ๆ เป็ นสิง่ ที่ตามมามากกว่า
เป็ นการนำด้านการเปลี่ยนแปลงในสถาบันสังคม
80

ทฤษฎีการจัดระเบียบทางสังคม สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

นักมานุ ษยวิทยาชาวอเมริกนั ชื่อเอลแมน เซอรวิซ


(Elman Service) อ้างว่ากระบวนการสำคัญตรงนี้ คือ
การสร้างสถาบันของผูนำ ้ ศูนย์กลาง เขาเชื่อว่า
ในสิง่ แวดล้อมที่แน่ นอน (ภาวะเงือ่ นไขสิง่ แวดล้อม
ของที่ราบลุม่ แม่น้ำใหญ่โดยเฉพาะ) อำนาจชอบธรรมของ
หัวหน้าเผ่าที่สบื ทอดมาได้เป็ นการการสร้างสถาบันเพิม่ เข้า
มา ทัง้ จำนวนประชากรและพื้นที่เพิม่ ขึ้น
81

ทฤษฎีการจัดระเบียบทางสังคม สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

ผลลัพภ์ท่ไี ด้ คือ การปรากฏสิง่ ที่เราเรียกว่า การ


ปกครองอย่างแท้จริงและอารยธรรม นักโบราณคดีชาว
อเมริกนั ชื่อ โรเบอร์ต เอ็ม อาดัม (Robert M. Adams) ได้อา้ งว่า
ในกรณี เมโสโปเตเมีย ความชำนาญในทางเศรษฐกิจ ความ
แตกต่างในทางสังคม และอำนาจรวมศูนย์กลางได้เกี่ยวข้อง
ร่วมกัน แต่ละด้านกระจายไปสูก่ ารพัฒนาของด้านอืน่
อ้างจาก Ruth Whitehouse&John Wilkins,”The Origins of Civilization”, The
Making of Civilization:History discovered through archaeology, (New
York: Alfred A.Knopf, 1988), pp.37-38.
82

ยุคหิน (ก่อนอารยธรรม) สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

เป็ นช่วงเริ่มแรกของพัฒนาการมนุ ษย์กอ่ นการ


ใช้โลหะ เครื่องมือและอาวุธทำมาจากหิน การกำหนดเวลาของ
ยุคหินแตกต่างกันไปในส่วนต่าง ๆ ของโลก ส่วนก้าวหน้ามาก
ที่สดุ คือ ตะวันออกกลางและเอเซียตะวันออกเฉี ยงใต้ สิ้นสุด
ลงเมื่อ ๖๐๐๐ ปี ก่อนคริสตกาล ในยุโรป เอเชีย และแอฟริกา
เริ่มต้นเมื่อ ๖๐๐๐ ปี ก่อนคริสตกาล
83

ยุคหิน (ก่อนอารยธรรม) สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

ในยุโรปได้เชื่อมโยงต่อมาจนกระทัง่ ๔๐๐๐ ก่อน


คริสตกาล หรือหลังจากนั้น ยุคหินในอเมริกาเริ่มต้น เมื่อ
มนุ ษย์ได้ไปถึงโลกใหม่ครัง้ แรกบางทีอาจเมื่อ ๗๐,๐๐๐ ปี มา
แล้ว แต่ยคุ หินเริ่มแรกเมื่อประมาณ ๒๕๐๐ ก่อนคริสตกาล
84

ยุคหิน (ก่อนอารยธรรม) สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

ตลอดช่วงเวลาอันยาวนานของยุคหิน ได้มีการ
เปลี่ยนแปลงอย่างมากในด้านภูมิอากาศและเงือ่ นไขอืน่ ๆ ที่มี
ผลกระทบต่อวัฒนธรรมของมนุ ษย์ มนุ ษย์เองได้เกี่ยวข้องกับ
รูปแบบของตน ในช่วงหลังจากนี้ ยุคหินได้แบ่งออกเป็ น ๓
ช่วง คือ ยุคหินเก่า ยุคหินกลาง และยุคหินใหม่
85

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔


86

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

• G.A. Maclean/Oxford Scientific Films

• เครื่องมือหินกะเทาะ มนุ ษย์ได้มีเครื่องใช้มาแล้วอย่างน้อย ๒.๕


ล้านปี เทคโนโลยีเริ่มแรกสุดเป็ นการใช้เครื่องมือสับ ตัด ทุบ รูป
ร่างตามก้อนกรวด จากยุคหินสมัยต่อมา นักโบราณคดีได้แยก
ลักษณะออกมาถึง ๖๐ ถึง ๗๐ แบบมาตรฐานซึ่งเป็ นเครื่องมือใน
ใช้งานตามวัตถุประสงค์เฉพาะ บางชิ้ นใช้สำหรับพิธีกรรม ในภาพ
นี้ คือหัวขวาน หัวธนู หินทุบ สว่าน และหินขูด ทำด้วยหิน วัสดุ
เช่น กระดูกและงาช้างก็มีการนำมาใช้เป็ นเครื่องมือ เครื่องมือ
คล้ายกันนี้ สามารถทำจากการกะเทาะโดยตรงจากวัตถุดิบ หรือทาง
อ้อมจากการใช้หนิ ทุบ

• Microsoft ® Encarta ® Reference Library 2003. © 1993-2002


87

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔


88

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔


89

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔


90

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔


91

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔


92

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔


93

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔


94

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔


95

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔


96

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔


97

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔


98

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔


99

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔


100

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔


101

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔


102

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

• 8000 BC - 6000 BC
• เริ่มต้นการเกษตรกรรม
• การเปลี่ยนจากการล่าสัตว์และการเก็บของป่ ามาขึ้นอยู่กบั การผลิตอาหาร
เปลี่ยนแปลงไปอย่างสม่ำเสมอ เริ้มต้นเมื่ออย่างน้อย ๑๐,๐๐๐ ปี ท่แี ล้ว
เกษตรกรรุน่ แรกเรียนรูใ้ นการเก็บรักษาเมล็ดพืชที่ม่ใี ช้ประโยชน์ได้และนำ
มาปลูกใหม่ และรูจ้ กั การจับสัตว์มาเลี้ยงเป็ นเลี้ยงสัตว์ ศูนย์กลางของ
การเกษตรกรรมปรากฏขึ้นในหลายส่วนของทวีปเอเชีย แอฟริกา ยุโรป
และอเมริกา ในแต่ละแหล่งมีช่วงเวลาแตกต่างกัน แต่เกือบทัง้ หมดมีอายุ
ก่อน ๖,๐๐๐ ปี กอ่ นคริสตกาล

(Microsoft® Encarta® Reference Library 2003. © 1993-2002 Microsoft


Corporation.)
103

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

ยุคหินเก่า (Paleo = old + lithic = stone) เป็ นยุค


ที่มีช่วงเวลายาวนานที่สดุ เริ่มต้นเมื่อประมาณ ๒ ล้านปี มา
แล้ว เครื่องมือหินนำมาใช้ครัง้ แรกเมื่อประมาณ ๑๓,๐๐๐
ปี กอ่ นคริสตกาล บรรทัดฐานการดำรงชีวติ คือการล่าสัตว์
และการเก็บอาหาร เริ่มแรกใช้เครื่องมือหินโดด ๆ เช่น
กรวดหรือเครื่องมือหินกะเทาะที่ใช้ในสนองความประสงค์
ทุกอย่าง เมื่อเวลาผ่านไป เครื่องมือชิ้นเดียวที่ใช้งาน
อเนกประสงค์ได้จำกัดวงเป็ นตามวัตถุประสงค์เฉพาะ
104

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

ในตอนปลายยุคหินเก่า มนุ ษย์สมัยใหม่


(Modern human) คือ Homo sapiens sapiens
ได้ทำเครื่องมือเฉพาะขึ้นมาเป็ นเข็มหรือเบ็ด ในถ้ำของ
ยุโรป เช่น ถ้ำโครมันยองในประเทศฝรัง่ เศส จิตรกรรม
ฝาผนังและแสดงหลักฐานประจักษ์ให้เห็นพิธกี รรม
ความเชื่อและการแบ่งชัน้ ทางสังคม ที่มีความเป็ นไปได้
ในการนำไปสูว่ ฒั นธรรมที่ซบั ซ้อน
105

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

หลังจาก ๑๓,๐๐๐ ปี กอ่นคริสตกาล องค์ประกอบ


ทางอากาศ มีผลต่อสิง่ แวดล้อมและความสามารถในการ
แสวงหาอาหารของมนุ ษย์มากขึ้น ในภูมิภาคป่ าเขตร้อน
และเขตอบอุน่ เครื่องมือต่าง ๆ ในยุคหินเก่า หินกระ
เทาะยังคงปรับมาใช้ในในเงือ่ นไขใหม่ ช่วงนี้ เป็ นช่วงที่
เรียกว่ายุคหินกลาง (Mesolithic : meso =
between +lithic = stone)
106

สมประสงค์ น่วมบุญลือ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

ในตะวันออกกลางและอเมริกากลาง หมู่บา้ น
เกษตรกรได้เริ่มพัฒนาขึ้นมาเมื่อ ๘,๐๐๐ ปี กอ่ น
คริสตกาล เป็ นช่วงที่เรียกว่า ยุคหินใหม่ (Neolithic:
Neo = New + lithic = stone) เครื่องมือหินมีความ
หลายหลากและขัดเรียบ จาก ๖,๐๐๐ ปี กอ่ นคริสตกาล
เครื่องปัน้ ดินเผาปรากฏขึ้นในตะวันออกกลางโบราณและ
มีการนำทองแดงมาใช้เป็ นครัง้ แรก ในบางภูมิภาค ยุคหิน
ใหม่เกิดขึ้นในช่วงเวลาหลังจากนั้น

You might also like