You are on page 1of 189

ฟิ กฮฺอย่างง่ าย

เขียนโดย

ดร.ศอลิหฺ บิน ฆอนิ ม อัส-สัดลาน

อาจารย ์สาขาวิชาฟิ กฮฺ(นิ ตศ


ิ าสตร ์อิสลาม)คณะกฎหมายอิสลาม
กรุงริยาด มหาวิทยาลัยอิหม่ามมูหมั หมัด บิน สุอูด อัล-อิสลามียะห ์
บทนา
สถานะของมรดกทางวิชาการฟิ กฮฺ
และปลุกจิตสานึ กการให ้เกียรติมน
ั ในหัวใจของชาวมุสลิม

ความสาคัญของมรดกทางวิชาการฟิ กฮฺ (นิ ตศ


ิ าสตร ์อิสลาม)

มวลการสรรเสริญเป็ นสิทธิของอั ์ ลลอฮฺเพียงพระองค ์เดียว


ขอพรอันประเสริฐและความศานติจงมีแด่มุหม ั มัด
ผูซ ึ่ มศ
้ งไม่ ี าสนทูตใดหลังจากท่าน เป็ นทีทราบกั ่ นดีว่า

ความรู ้เกียวกั บบทบัญญัตอ ิ ส ิ ลามหรือฟิ กฮฺ
่ ส่วนสาคัญทีสุ
เป็ นความรู ้ทีมี ่ ด
เพราะมันคือหลักทีมุ ่ สลิมสามารถนามาใช ้ตรวจสอบการงานของเข
่ มต
าว่า เป็ นทีอนุ ั ห
ิ รือต ้องห ้าม? ถูกต้องหรือเป็ นโมฆะ?

มุสลิมในทุกยุคทุกสมัยต่างอยากจะรู ้ว่าการงานทีเขาได ่ ้ปฏิบต


ั เิ ป็
่ มต
นทีอนุ ั ห
ิ รือต ้องห ้าม ถูกต ้องหรือเป็ นโมฆะ
ไม่ว่าจะเป็ นการงานทีเกี ่ ยวข
่ ้องระหว่างเขากับอัลลอฮฺหรือระหว่างม
นุ ษย ์ด้วยกัน คนใกล ้ชิดหรือห่างไกล ศัตรูหรือมิตร
ผูพ้ พิ ากษาหรือผูต้ ้องหา มุสลิมหรือต่างศาสนิ ก
เราไม่อาจรู ้คาตอบของประเด็นเหล่านี ้
นอกจากต้องผ่านวิชาฟิ กฮฺหรือนิ ตศ ิ าสตร ์อิสลาม
่ นศาสตร ์ทีว่่ าด ้วยบทบัญญัตข
ซึงเป็ ิ องอัลลอฮฺทเกีี่ ยวข
่ ้องกับการกร
ะทาของบ่าว ไม่ว่าจะเป็ นบทบัญญัตใิ นเชิงการสังใช ่ ้ เลือกให ้ปฏิบต
ั ิ
หรือเป็ นข ้อกฎหมายทีได ่ ้บัญญัตข ึ้
ิ นมา

3
นิ ตศ ิ าสตร ์อิสลามหรือฟิ กฮฺก็เหมือนกับศาสตร ์อืน ่ ๆ
่ การเติบโตหากมีการนาไปใช ้ และจะถดถอยเมือถู
ทีมี ่ กละเลย
นิ ตศ ิ าสตร ์อิสลามได ้ผ่านช่วงสมัยทีเจริ ่ ญรุง่ เรือง
มีการนาไปใช ้ในทุก ๆ วิถข ี องการดาเนิ นชีวต ิ
และได ้ผ่านช่วงถดถอย ไม่มค ี วามรุง่ เรืองหรือแทบจะไม่มี

เพราะถูกสละทิงไม่นามาใช ้
ไม่ว่าจะด ้วยเพราะความตังใจหรื้ อละเลย
เนื่ องจากประเทศมุสลิมหลาย ๆ
ประเทศได ้เปลียนข ่ ้อกฎหมายเป็ นกฎหมายอืนที ่ ไม่
่ ใช่กฎหมายอิส
ลามซึงไม่ ่ มรี ากฐานมาจากหลักความเชือ่ จารีตประเพณี
และสังคมของพวกเขาเลย
พวกเขารู ้สึกพอใจกับความศิวไิ ลซ ์ของกฎหมายใหม่
แต่มน ั ได ้บ่อนทาลายชีวต ิ ของพวกเขาและทิงปั ้ ญหาไว ้มากมาย

ถึงแม้ว่า ศาสตร ์นี ได้ ้เผชิญกับนานาวิกฤติ



แต่ก็ยงั คงสามารถตังตระหง่ านสูงเด่นได ้เนื่ องจากมีรากฐานทีแข็
่ งแ

กร่งและโครงสร ้างทีประณี ต
และอัลลอฮฺได ้อนุ มต ้ บมาเฟื่ องฟูอก
ั ใิ ห ้ประชาชาตินีกลั ้ั งจาก
ี ครงหลั
่ ้หลับใหลและกลับมาเรียกร ้องให ้ใช ้กฎหมายอิสลามทังในด
ทีได ้ ้าน
การบัญญัตแิ ละนามาใช ้

เราได ้เห็นประชาชาติอสิ ลามอันมากมายได ้เรียกร ้องให ้ใช ้กฎหม


ายของอัลลอฮฺ ไม่ตด ิ พันกับกฎหมายอืน ่
เราพบว่าชีวต ิ ของพวกเขาผูกพันอยู่กบั กฎหมายของพระองค ์

มีปัจจัยยังชีพทีมากมาย

4

และอัลลอฮฺจะทรงให ้ศาสนาของพระองค ์เป็ นทีประจั
กษ ์ถึงแม้ว่าพว

กตังภาคี
จะไม่ชอบก็ตาม

แต่ฟิกฮฺ (นิ ตศิ าสตร ์อิสลาม) นั้นเริมขึ


่ นเมื
้ อไร?

อะไรคือสาเหตุของการกาเนิ ด? นิ ตศ ิ าสตร ์อิสลามมีข ้อเด่นอะไร?
และอะไรคือสิงจ่ าเป็ นของมุสลิมต่อศาสตร ์นี ?้

เราขอกล่าวรายละเอียดดังต่อไปนี ้

นิ ตศ ิ าสตร ์อิสลามได ้ถือกาเนิ ดอย่างค่อยเป็ นค่อยไปในสมัยของท่


านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม และสมัยของเศาะหาบะฮฺ
สาเหตุทท ี่ าให ้ศาสตร ์นี ถื
้ อกาเนิ ดตังแต่
้ แรก ๆ
เนื่ องจากผูค้ นมีความจาเป็ นทีจะต ่ ้องรู ้บทบัญญัตติ ่าง ๆ
ในชีวต ิ ประจาวัน ความจาเป็ นนี ยั ้ งคงมีอยู่ในทุกยุคทุกสมัย ทังนี
้ ้
่ นการจัดระบบการดาเนิ นชีวต
เพือเป็ ิ ของมนุ ษย ์ในสังคม
่ ่
เพือได ้รู ้สิทธิของแต่ละคน เพือธารงผลประโยชน์
และขจัดสิงที ่ เป็
่ นอันตรายและไม่ดต ี ่าง ๆ
้ มี
ทังที ่ อยู่แล ้วและเกิดขึนใหม่

สถานะและข ้อพิเศษของมรดกนิ ตศ
ิ าสตร ์อิสลาม
นิ ตศิ าสตร ์อิสลามมีข ้อพิเศษมากมาย ทีส ่ าคัญคือ
มีรากฐานมาจากวะห ์ยู (วิวรณ์) ของอัลลอฮฺ:
นิ ตศ ิ าสตร ์อิสลามมีข ้อพิเศษคือ
มีแหล่งอ ้างอิงมาจากวะห ์ยูของอัลลอฮฺ
่ กถ่ายทอดลงมาในนามอัลกุรอานและสุนนะฮฺของท่านนบี
ซึงถู
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ผูท้ ท ี่ าการวินิจฉัยปัญหาศาสนา
5
จาเป็ นต ้องวิเคราะห ์จากแหล่งอ ้างอิงทังสองนี้ ้
และจากข ้อปลีกย่อยที่

มาจากแหล่งอ ้างอิงทังสองโดยตรง
จากเจตนารมณ์ของนิ ตศ ิ าสตร ์อิสลาม จากกฎต่าง ๆ
ทางนิ ตศ ิ าสตร ์ เนื่ องด ้วย

สิงเหล่ ้ าให ้การถือกาเนิ ดของนิ ตศ
านี ท ิ าสตร ์อิสลามเป็ นไปอย่างสม

บูรณ์ มีรากฐานทีหนักแน่ น โครงสร ้างทีแข็ ่ งแกร่ง

โดยทีรากฐานของมั นได ้ถูกวางไว ้ในสมัยของท่านนบี
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม อัลลอฮฺได้ตรัสไว ้ว่า
ۡ ََ َۡ َ َ ۡ ۡ َ َ ۡ
ِ ‫ۚ ٱل َي ۡوم أك َملت لك ۡم دِينك ۡم َوأت َم ۡمت عل ۡيك ۡم ن ِع َمتِي َو َر‬...﴿
‫ضيت‬
ٗ َ ۡ ۡ َ
]3 :‫﴾ [المائدة‬... ‫إسل َٰ َم دِينا‬ ِ ‫ٱل‬ ‫م‬‫ك‬ ‫ل‬

้ ้าได ้ให ้สมบูรณ์แก่พวกเจ ้าแล ้ว


{ วันนี ข

ซึงศาสนาของพวกเจ ้าและข ้าได ้ให ้ครบถ ้วนแก่พวกเจ ้าแล ้ว

ซึงความกรุ ณาเมตตาของข ้า
และข ้าได้เลือกอิสลามให ้เป็ นศาสนาแก่พวกเจ ้าแล ้ว} (สูเราะฮฺ อัล-
มาอิดะฮฺ 3)

ดังนั้น หลังจากนี ้ จึงไม่มข ้ั


ี นตอนอะไรอีก
นอกจากการปฏิบต ั ใิ ห ้เป็ นรูปธรรม
ตามผลประโยชน์ของมนุ ษย ์ทีสอดคล ่ ้องกับเจตนารมณ์ของบทบัญ
ญัตอ
ิ ส
ิ ลาม

มีความครอบคลุมในทุกแง่มุมของการดาเนิ นชีวต

6
นิ ตศ
ิ าสตร ์อิสลามมีข ้อพิเศษอีกคือ มีความสัมพันธ ์สามด้าน
ความสัมพันธ ์กับพระผูอ้ ภิบาล ความสัมพันธ ์กับตัวมนุ ษย ์เอง
และความสัมพันธ ์กับสังคม
เพราะนิ ตศ ่
ิ าสตร ์อิสลามมีเกียวข ้ บโลกนี และโลกหน้
้องทังกั ้ า
คือศาสนาและประเทศชาติ ครอบคลุมมนุ ษย ์ทุกคน
และนิ ร ันดรตราบจนวันกิยามะฮฺ บทบัญญัตต ิ ่าง ๆ

มีความเกียวพั นกับหลักความเชือ่ อิบาดะฮฺ มารยาท
และการปฏิสม ้ ้ เพือเป็
ั พันธ ์ต่าง ๆ ทังนี ่ นการปลุกจิตสานึ ก
ความรู ้สึกรับผิดชอบ
ตระหนักอยู่เสมอว่าอัลลอฮฺทรงมองดูทงในที ้ั ่ บและทีแจ
ลั ่ ้ง
ให ้เกียรติต่อสิทธิของบุคคลอืน ่ จุดประสงค ์คือความพึงพอใจ
ความผาสุก การศรัทธา ความสงบสุข จัดระเบียบของชีวต ิ
และมอบความสุขให ้กับโลกนี ้

เนื่ องด ้วยจุดประสงค ์ดังกล่าวนี ้


บทบัญญัตข ิ องนิ ตศ ่ ยวข
ิ าสตร ์อิสลามซึงเกี ่ ้องกับคาพูด การกระทา
สัญญาธุระกรรม และการกระทาต่าง ๆ
ครอบคลุมประเด็นสองประการ
่ ่ ง บทบัญญัตวิ ่าด ้วยอิบาดะฮฺ เช่น
ประการทีหนึ
การทาความสะอาด การละหมาด การถือศีลอด การทาหัจญ ์
การจ่ายซะกาต การบนบาน หรืออืน ่ ๆ
่ จด
ทีมี ่ ดระเบียบระหว่างมนุ ษย ์กับพระผูอ้ ภิบาลของเข
ุ ประสงค ์เพือจั

า ประการทีสอง บทบัญญัตวิ ่าด ้วยการปฏิสม ั พันธ ์ เช่น
สัญญาธุรกรรมต่าง ๆ การลงโทษ การปราบอาชญากรรม

7
การประกัน และอืน ่ ๆ
่ จด
ทีมี ุ ประสงค ์เพือจั ่ ดระเบียบความสัมพันธ ์ระหว่างมนุ ษย ์ด้วยกัน
ไม่ว่าจะเป็ นปัจเจกบุคคลหรือสังคม บทบัญญัตเิ หล่านี แบ่ ้ งออกเป็ น
บทบัญญัตวิ ่าด้วยนิ ตบ ิ ุคคล คือ กฎหมายครอบครัว
่ มตั
ทีเริ ่ งแต่
้ การก่อร่างสร ้างครอบคร ัวจนถึงประเด็นสุดท ้าย เช่น
การแต่งงาน การหย่าร ้าง การสืบเชือสาย ้ ้
การจ่ายค่าเลียงดู
การแบ่งมรดก เป้ าหมายของบทบัญญัตน ้ อ
ิ ี คื
การจัดระบบความสัมพันธ ์ระหว่างคู่สามีภรรยาและระหว่างเครือญา
ติ บทบัญญัตวิ ่าด้วยการทาธุรกรรมต่างๆ
คือการงานทีเกี ่ ยวข ่ ้องกับธุระกรรมของปัจเจกบุคคล
การแลกเปลียน ่ เช่น การซือขาย ้ การเช่า การจานาหรือจานอง
การร่วมหุ ้น การให ้ยืม และการทาตามสัญญา
จุดประสงค ์ของบทบัญญัตน ้ อ
ิ ี คื
่ ดระเบียบความสัมพันธ ์ของปัจเจกบุคคลในด ้านทร ัพย ์สินและ
เพือจั
การคุ ้มครองสิทธิต่าง ๆ บทบัญญัตวิ ่าด้วยอาชญากรรม
คือบทบัญญัตท ิ เกี ี่ ยวข
่ ้องกับการกระทาต่อมนุ ษย ์ทีเป็ ่ นการก่ออาช
ญากรรมและบทลงโทษต่าง ๆ บทบัญญัตน ิ ี้
มีจด ่
ุ ประสงค ์เพือปกป้ องชีวต ิ ทรัพย ์สิน เกียรติ สิทธิต่าง ๆ
และรักษาความสงบสุขของสังคม บทบัญญัตวิ ่าด้วยการฟ้ องร ้อง
การดาเนิ นการ ในด้านการปกครองและอาชญากรรม
คือบทบัญญัตท ี่ ยวกั
ิ เกี ่ บการพิพากษา การฟ้ องร ้อง วิธก
ี ารให ้การ
การเป็ นพยาน การสาบาน หลักฐาน และอืน ่ ๆ บทบัญญัตน ิ ี้
มีจด ่ ดระเบียบการดาเนิ นการเพือธ
ุ ประสงค ์เพือจั ่ ารงความยุตธิ รรมร
ะหว่างมนุ ษย ์ บทบัญญัตวิ ่าด้วยการปกครอง
คือบทบัญญัตวิ ่าด้วยระบอบการปกครองและหลักการปกครอง
8
จุดประสงค ์ของบทบัญญัตน ้ อ
ิ ี คื
่ าหนดความสัมพันธ ์ระหว่างผูป้ กครองกับประชาชน
เพือก
และสิทธิของปัจเจกบุคคลและสังคม และข ้อบังคับสาหรับพวกเขา
บัญญัตห ิ รือกฎหมายระหว่างประเทศ
คือข ้อกฎหมายหรือบทบัญญัตท ี่ ยวข
ิ เกี ่ ้องกับการจัดระเบียบความ
สัมพันธ ์ระหว่างประเทศมุสลิมกับประเทศอืน ่

ไม่ว่าในช่วงทีสงบศึ กหรือช่วงมีสงคราม
ความสัมพันธ ์กับประชาชนทีไม่ ่ ใช่มุสลิมทีอาศั่ ยอยู่ในประเทศมุสลิ

ม ซึงครอบคลุมถึงการญิฮาดและพันธะสัญญาต่าง ๆ
จุดประสงค ์ของบทบัญญัตน ้ อ เพือจั
ิ ี คื ่ ดระเบียบความสัมพันธ ์
ความร่วมมือช่วยเหลือ การให ้เกียรติระหว่างประเทศ
บทบัญญัตวิ ่าด้วยเศรษฐกิจและการคลัง
คือบทบัญญัตท ิ เกีี่ ยวข
่ ้องกับสิทธิปัจเจกบุคคลในด ้านทร ัพย ์สินและ
ข ้อปฏิบต ่
ั ใิ นเรืองระบบการเงิ น

สิทธิและหน้าทีของประเทศในเรื ่
องการคลั ง
จัดระเบียบรายได้และรายจ่ายของกองคลัง
จุดประสงค ์ของบัญญัตน ้ อ
ิ ี คื
่ ดระเบียบความสัมพันธ ์ของการเงินระหว่างคนรวยกับคนจน
เพือจั
และระหว่างพลเรือนกับประเทศ

ซึงครอบคลุ มถึงทร ัพย ์สินส่วนรวมและทร ัพย ์สินเฉพาะ เช่น
่ ดค ้นพบใต ้ดิน แร่ธาตุ
ทร ัพย ์เชลย ภาษี ทร ัพย ์สินจากสมบัตเิ ก่าทีขุ

ก๊าซธรรมชาติ ทร ัพย ์สินเกียวกั บสังคมเช่น ซะกาต การบริจาค

การบนบาน การให ้ยืม ทร ัพย ์สินเกียวกั บครอบคร ัว เช่น
ค่าอุปการะ มรดก การสังเสี ่ ย ทร ัพย ์สินส่วนบุคคล เช่น

9
กาไรจากการค้าขาย การจ ้าง หุ ้นส่วน การลงทุน การผลิต
และบทลงโทษทางทรัพย ์สิน เช่น การจ่ายกัฟฟาเราะฮฺ ดิยะฮฺ
และฟิ ดยะฮฺ

จริยธรรมและศีลธรรม
คือบทบัญญัตทิ ว่ี่ าด ้วยคุณธรรมของมนุ ษย ์

เพือกระจายบรรยากาศของความดี งาม
ความช่วยเหลือและมีเมตตาต่อกัน

สาเหตุทที่ าให ้นิ ตศ ่ าง ๆ


ิ าสตร ์อิสลามครอบคลุมในเรืองต่
มากมายคือ เพราะมีตวั บทหลักฐานต่าง ๆ
มากมายในสุนนะฮฺของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม

ในทุกประเด็นเกียวกั ่ งกล่าว
บเรืองดั

หนึ่ งในจุดเด่นของนิ ตศ ้
ิ าสตร ์อิสลามคือมีความเป็ นศาสนาทังในด ้
านการอนุ มต ั แิ ละข ้อห ้าม

ส่วนหนึ่ งจากข ้อแตกต่างของกฎหมายอิสลามกับกฎหมายทั่วไป


คือ ทุก ๆ
การกระทาของประชาชนในด้านธุรกรรมอยู่ในข่ายของกฎ
่ หะล
“สิงที ่ ่ หะรอม”
้าลและสิงที ่ ่
ซึงบทบั
ญญัตด
ิ งั กล่าวมีสองลักษณะ

ลักษณะแรก หุกม ่ ทางโลก ตามผิวเผินของการกระทา


และไม่มค ่
ี วามเกียวข ้องใด ๆ กับความตังใจที ้ ่ อนเร ้น
ซ่
เพราะผูพ้ พิ ากษาจะตัดสินตามทีเขามี ่ ความสามารถจะเข ้าถึงข ้อมูล
และหุกม
่ ของมันก็คอ ่ ไม่
ื ไม่ทาให ้สิงที ่ ถูกต ้องเป็ นสิงที
่ ถู่ ก
่ ถู
ไม่ทาให ้สิงที ่ กเป็ นสิงที
่ ไม่
่ ถูกต ้อง

10
ไม่เป็ นการอนุ มต ั ส ิ่ หะรอมและไม่
ิ งที ่ ่ อนุ
เป็ นการห ้ามสิงที ่ มตั ิ
ส่วนคาตัดสินของผูพ ้ พ ิ ากษานั้นจาเป็ นต ้องปฏิบตั ต ่ างกับฟั
ิ ามซึงต่
ตวา ลักษณะทีสอง ่ หุกม ้ ่บนหลักข ้อเท็จจริง
่ ทางโลกหน้า ตังอยู
ถึงแม้ว่าอาจหลายๆ คนอาจไม่รู ้
เป็ นการปฏิบตั ริ ะหว่างเขากับอัลลอฮฺ หรือทีเรี ่ ยกว่า
หุกม ่ ทางศาสนา และนี่ คือเรืองที ่ มุ่ ฟตียด ึ หลักในการให ้คาวินิจฉัย

อีกส่วนหนึ่ งจากจุดเด่นของนิ ตศ
ิ าสตร ์อิสลามคือ
มีความสัมพันธ ์กับคุณธรรม

นิ ตศ ่ นข ้อแตกต่างกั
ิ าสตร ์อิสลามมีการซึมซับหลักคุณธรรมซึงเป็
บกฎหมายทั่วไปทีมี ่ เป้ าหมายสูงสุดเพียงผลประโยชน์น่ ันคือการร ัก
ษาระเบียบและความสงบของสังคมโดยไม่ได ้ใส่ใจต่อหลักศาสนาแ
ละคุณธรรม

ส่วนนิ ตศ ่ งา
ิ าสตร ์อิสลามให ้ความสาคัญกับการร ักษามารยาททีดี

การบัญญัตอ ิ บ ่
ิ าดะฮฺต่างๆก็เพือชะล ์
้างหัวใจให ้สะอาดบริสุทธิและห่ า
งไกลจากความชัวร ้ายต่างๆ่
การห ้ามดอกเบียก็ ้ เพือปลู
่ กฝังการช่วยเหลือและเห็นใจซึงกั ่ นและกั
นและปกป้ องผูท้ ขั ี่ ดสนจากความหิวโหยของคนรวย
ห ้ามการคดโกงในการทาสัญญาธุรกรรมต่างๆ
บริโภคทรัพย ์สินอย่างมิชอบทาลายสัญญาธุรกรรมเนื่ องจากการไ
้ ก็
ม่รู ้ในสินค ้าหรือมีข ้อบกพร่องทังนี ้ เพือให
่ ้เกิดความร ักมีความไว ้เ
้ ่
นื อเชือใจกันป้ องกันการทะเลาะเบาะแว ้ง
่ ตถุและให ้เกียรติต่อสิทธิของบุคคลอืน
มองข ้ามเรืองวั ่

11
่ ศาสนาและคุณธรรมพร ้อมกับการปฏิสมั พันธ ์ทีดี
เมือมี ่
ปัจเจกบุคคลและสังคมก็จะดีและมีความสุข
และเป็ นการตระเตรียมเพือชี ่ วติ อันนิ ร ันดร ์ในสวนสวรรค ์
ดังกล่าวนี คื้ อ เป้ าหมายของนิ ตศ ิ าสตร ์อิสลาม นั่นคือ

เพือสร ่ เลิศทังในปั
้างให ้เป็ นมนุ ษย ์ทีดี ้ จจุบน ้
ั ในโลกนี และอนาคตในโ
ลกหน้า และสร ้างควรามสุขในโลกนีและโลกหน้ ้ า

ด ้วยเหตุนี้
นิ ตศ
ิ าสตร ์อิสลามจึงมีความเหมาะสมในการนาไปใช ้โดยปริยาย
นิ ตศิ าสตร ์อิสลามเชิงหลักการพืนฐานนั ้ ้นไม่มก ่
ี ารเปลียนแปลง
เช่น ความยินยอมในการทาสัญญาธุรกรรม
รับผิดชอบในความเสียหาย กาจัดอาชญากรรม รักษาสิทธิ

หน้าทีของพลเรื อน ส่วนนิ ตศ ิ าสตร ์ทีตั่ งอยู
้ ่บนหลักการอนุ มาน
(กิยาส) รักษาผลประโยชน์ และจารีตนั้น
อาจมีการเปลียนแปลงและพั ่ ฒนาตามความต ้องการของกาลสมัยแ
ละสังคมทีมี ่ ความแตกต่างกันในช่วงสมัยและสถานที่
ตราบใดทีบทบั ่ ญญัตยิ งั อยู่ในกรอบของเจตนารมณ์อส ิ ลามและหลั
กการทีถู ่ กต ้อง
่ งกล่าวนั้นเฉพาะในประเด็นของการทาธุรกรรมหรือมุอามะลา
เรืองดั
ต ไม่ใช่ประเด็นของหลักความเชือและอิ ่ บาดะฮฺ
และนี่ คือข ้อเท็จจริงหรือจุดประสงค ์ของกฎทีว่่ า

“ข ้อชีขาดนั ้นเปลียนแปลงได
่ ่
้ตามปัจจัยการเปลียนแปลงของยุ คสมั

ย” ดังนัน การนานิ ตศ ิ าสตร ์อิสลามมาใช ้ถือเป็ นสิงจาเป็ น ่
เพราะผูว้ น ิ ิ จฉัยจาเป็ นต ้องปฏิบต ั ต ่
ิ ามทีเขาได ้วินิจฉัย
สาหรับผูว้ น ิ ิ จยั แล ้วเขาเสมือนบทบัญญัตข ิ องอัลลอฮฺ

12
ี่ มเี งือนไขที
สาหร ับผูท้ ไม่ ่ ่
สามารถท าการวินิจฉัย
เขาจาเป็ นต้องปฏิบต ั ต
ิ ามคาวินิจฉัยของผูว้ น
ิ ิจฉัย
เพราะเขาไม่มท ่ ่
ี างเลือกอืนใดเพือให ้ได ้คาตอบทางศาสนานอกจาก
ต้องถาม อัลลอฮฺตรัสว่า
َ ََۡ َ ۡ ۡ ََۡ ٓ َ ۡ َ
]7 :‫﴾ [األنبياء‬٧‫ فسـلوا أهل ٱلذِك ِر إِن كنتم لا تعلمون‬....﴿

“ดังนั้น พวกเจ ้าจงถามผูร้ ู ้ หากพวกเจ ้าไม่รู ้” (อัล-อันบิยาอ ์ 7)

ส่วนการปฏิเสธบทบัญญัตอ ิ ส ่
ิ ลามทีมาจากหลั ่ ดเจน
กฐานทีชั
หรืออ ้างว่าบทบัญญัตอ ิ ส
ิ ลามมีความป่ าเถือน เช่น

บทบัญญัตเิ กียวกั บทาโทษ เป็ นต ้น หรือกล่าวอ ้างว่า
บทบัญญัตอ ิ ส ่ ามาใช ้
ิ ลามไม่เหมาะทีจะน
ถือว่าบุคลลนั้นเป็ นผูปฏิ
้ เสธและหลุดพ้นออกจากอิสลาม

ส่วนการปฏิเสธบทบัญญัตท ี่
ิ มาจากการวิ นิจฉัยถือเป็ นความผิดแ
ละอธรรม
เพราะผูว้ น
ิ ิ จฉัยได ้ใช ้ความพยายามอย่างทีสุ ่ ดเพือจะได
่ ่ งที
้มาซึงสิ ่ ถู


กต ้องและชีแจงบทบั ญญัตข ิ องอัลลอฮฺ ห่างไกลจากอารมณ์ใฝ่ ต่า
ผลประโยชน์ และชือเสี ่ ยง ทว่า
เขาได้ใช ้แหล่งอ ้างอิงของเขามาจากหลักฐานของอิสลาม

เป้ าหมายเพือความถู กต ้อง โดยมีสญ
ั ลักษณ์คอ ่ ตย ์
ื ความซือสั

สัจจริง และบริสุทธิใจ

ผูเ้ ขียน

ดร.ศอลิหฺ บิน ฆอนิ ม อัส-สัดลาน

13
หมวดที่ 1
หมวดที่ 1 อิบาดะฮฺ ซึงมี
่ ดงั ต่อไปนี ้ ความสะอาด การละหมาด
การจ่ายซากาต การถือศีลอด การทาฮัจย ์
การกรุบานและอะกีเกาะฮฺ ญิฮาด

อิบาดะฮฺ


สิงแรกที
ส ่ าคญในอิสลามคือการรักษาความสะอาด
ความหมายเชิงภาษาและเชิงวิชาการ

ตามหลักภาษา คือ ความสะอาดและบริสุทธิ ์

ตามหลักวิชาการ คือ
่ กษณะอันเป็ นอุปสรรคต่อการละหมาดและอืน
การทีลั ่ ๆ
ในทานองเดียวกันได ้หายไปจากร่างกาย

น้า

ประเภทของน้า

น้ามี 3 ประเภท
่ ่ ง: เฏาะฮูร
ประเภททีหนึ
(น้าสะอาดและสามารถนาไปใช ้ทาความสะอาดได ้) คือ
น้าทียั
่ งคงสภาพเดิม ซึงใช่ ้ในการชาระร่างกายให ้สะอาดจากหะดัษ

และชาระสิงโสโครกปฏิ กูลได ้

14
พระองค ์อัลลอฮฺได ้ตรัสไว้ว่า
َ ٓ َ ٓ َ َّ َۡ َ َ َ
]11 :‫﴾ [األنفال‬.... ‫ وين ِزل عليكم م َِن ٱلسما ِء ما ٗء ل ِيط ِه َركم بِهِۦ‬....﴿

่ ้าสะอาดจากฟากฟ้ าแก่พวกเจ ้า
“และพระองค ์ทรงหลังน

เพือทรงชาระพวกเจ ้าให ้สะอาดด ้วยน้านั้น” (อัล-อันฟาล 11)

ประเภททีสอง: ฏอฮิร
(น้าสะอาดแต่ไม่สามารถนาไปใช ้ทาความสะอาดได ้)
คือน้าสะอาดทีได ่ ้เปลียนสภาพของสี
่ ่
รส หรือกลิน
อันเนื่ องจากมีสงอืิ่ นปะปนอยู
่ ่ึ ใช่สงปฏิ
่ซงมิ ิ่ กูล(นะญิส)
น้าประเภทนี สะอาด
้ ้
แต่ไม่สามารถใช ้ในการปลดเปลืองหะดั
ษได ้

เพราะได ้เปลียนจากสภาพเดิม

ประเภททีสาม: นะญิส (น้าสกปรก) คือนาที
้ เปลี
่ ยนสภาพของสี

่ หรือรส อันเนื่ องจากมีสงปฏิ
กลิน ิ่ กูล(นะญิส)ปะปนอยู่
ไม่ว่าน้าจะมีปริมาณน้อยหรือมากก็ตาม

น้าทีสกปรก
่ (นะญิส)

จะเปลียนสภาพเป็ นน้าสะอาดเมือมั
่ นเปลียนสภาพด
่ ้วยตัวเอง
่ ้
หรือมันเหือดแห ้ง หรือโดยการเพิมปริมาณนาสะอาดลงไป
ดังนั้นการเปลียนสภาพของน
่ ้าจะทาให ้หายจากการเป็ นน้าสกปรก

่ ความสงสัยว่าน้านั้นสกปรกหรือสะอาด ให ้ยึดทีมั
เมือมี ่ ่นใจ
นั้นคือมูลฐานเดิมของสิงที
่ สะอาดนั
่ ้นคือมีความสะอาด

15
่ ้าสะอาดผสมกับน้าทีสกปรก
เมือน ่
แล ้วไม่ม่นใจว่
ั าน้าสะอาดหรือไม่
ให ้ทาการตะยัมมุม( คือการทาความสะอาดโดยการใช ้ดินหรือฝุ่ น )
่ อผ้
เมือเสื ้ าทีสะอาดปะปนกั
่ ้ าทีสกปรก
บเสือผ้ ่
้ าทีไม่
หรือปะปนกับเสือผ้ ่ อนุ มต
ั ิ แล ้วเกิดความสงสัย
ให ้ยึดถือความมั่นใจเป็ นหลักแล ้วละหมาดเพียงครงเดี
้ั ยวและไม่ต ้อง
ละหมาดใหม่

ประเภทของการทาความสะอาด
การทาความสะอาดตามบทบัญญัตแิ บ่งออกเป็ นนามธรรมและรูป
ธรรม ส่วนรูปธรรมนั้น คือการทาความสะอาดอวัยวะต่างๆ
และนามธรรม คือการชาระจิตใจให ้สะอาดจากมลทินของบาปต่าง
ๆ และการทาความสะอาดเชิงรูปธรรม

คือการทาความสะอาดภายนอกเพือละหมาด
การทาความสะอาดตามบทบัญญัติ มี 2 ประเภท
การทาความสะอาดจากหะดัษและการทาความสะอาดจากนะญิส

(สิงสกปรก) ส่วนการทาความสะอาดจากหะดัษ มี 3 ประเภท
หะดัษใหญ่ คือการอาบน้า หะดัษเล็ก คือการอาบน้าละหมาด
และการตะยัมมุม(การใช ้ดินหรือฝุ่ น)
ี่ อป
ในกรณี ทมี ุ สรรคในการใช ้น้า
และการทาความสะอาดจากสิงปฏิ่ กูล มี 3 ประเภท คือการล ้าง
การเช็ดถู และการพรมน้า

16
บทว่าด ้วยภาชนะ
ความหมายของภาชนะ
ตามหลักภาษา คือ
่ ้สาหร ับใส่อาหารและเครืองดื
ภาชนะทีใช ่ ม ่ เช่นถุงและเครืองใช
่ ้

ส่วนความหมายตามหลักวิชาการก็มค
ี วามหมายในทานองเดียวกั

ประเภทของภาชนะ
่ จารณาตามลักษณะของวัตถุทผลิ
เมือพิ ี่ ต ภาชนะมีหลายประเภท

ภาชนะทีเป็ ่ นทองคาและเงิน ภาชนะทีประดั


่ บ (หรือชุบ) ด ้วยเงิน
ภาชนะทีชุ ่ บ (หรือเคลือบ) ด ้วยทองและเงิน ภาชนะทีมี
่ ราคาแพง
เนื่ องจากวัตถุดบิ หรือกระบวนการผลิต ภาชนะทีท ่ าจากหนังสัตว ์
ภาชนะทีท ่ าจากกระดูก และอืนๆ่ เช่นทาจากไม้ กระเบือง

ทองเหลือง และภาชนะทัวไป ่


บทบัญญัตเิ กียวกั
บภาชนะ
้ นสิงที
ภาชนะทุกชินเป็ ่ สะอาดและเป็
่ ่ มต
นทีอนุ ั ิ
ราคาแพงหรือถูกก็ตาม ยกเว้นภาชนะทองคาและเงิน
่ อบด ้วยทองหรือเงิน เนื่ องจากมีรายงานจากหุซยั ฟะฮฺ บิน
และทีเคลื
อัล-ยะมาน เล่าว่า ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า
่ ้วยภาชนะทองคาและเงิน
“พวกท่านอย่าได ้ดืมด

17
และอย่าได ้รับประทานด้วยจานทองและเงิน
เพราะแท ้จริงทองและเงินนั้นพวกเขา ( ผูป้ ฏิเสธศร ัทธา)
จะใช ้สอยในโลกนี ้ และพวกเจ ้าจะได ้ใช ้สอยในโลกหน้า”
(บันทึกโดย อัล-บุคอรีย ์ 5110, มุสลิม 2067, อัต-ติรมิซยี ์ 1878,
อัน-นะสาอีย ์ 5310, อบูดาวูด 2723 และท่านอืนๆ ่ )


และสิงใดก็ ตามทีห ่ ้ามใช ้สอย
ก็ห ้ามครอบครองเป็ นเจ ้าของในลักษณะของการใช ้สอยเช่นกัน

เช่น เครืองดนตรี (ตีหรือเป่ า)

การห ้ามเช่นนี ครอบคลุ ้ ช
มทังผู ้ ายและผูหญิ
้ ง
่ ้
เนื องจากหะดีษนี มีความหมายครอบคลุมทังผู ้ ช
้ ายและผูห้ ญิง

และสิงๆหนึ ่ งจะยังไม่ถูกชีขาดว่
้ าสกปรก (เป็ นนะญิส)
เนื่ องจากความสงสัย ตราบใดทียั ่ งไม่รู ้แน่ ชดั ว่าสกปรกหรือไม่
เนื่ องจากมูลฐานเดิมของมันนั้นเป็ นสิงที
่ สะอาด

ภาชนะของต่างศาสนิ ก
ประกอบด้วย ภาชนะของชาวคัมภีร ์ (ชาวยิวและคริสต ์)
ภาชนะของผูป้ ฏิเสธศร ัทธาอืนๆ ่ ตามบทบัญญัตน ิ ้ัน
คืออนุ มต ่ ่นใจว่าสะอาด
ั ใิ ห ้ใช ้สอยได ้ ตราบใดทีมั
เนื่ องจากมูลฐานเดิมนั้นมันเป็ นสิงที
่ สะอาด

้ าของต่างศาสนิ กนั้นสะอาด ตราบใดทียั
เสือผ้ ่ งมันใจว่
่ าไม่สกปรก
่ มต
หนังสัตว ์ทีอนุ ้ งตายโดยไม่
ั ใิ ห ้บริโภคเนื อซึ ่ ถูกเชือดตามบทบัญ
ญัติ (ซาก) จะชาระให ้สะอาดได้โดยการฟอก

18
่ ขาดหรื
สิงที ่ ่ ชวี ต
อหลุดจากสิงมี ิ เป็ นนะญิสเช่นเดียวกับซาก
่ สะอาด
ส่วนขนนกหรือผมเป็ นสิงที ่ ่ กเอามาตอนทีมั
เมือถู ่ นยังมีชวี ต

ควรปิ ดภาชนะและถังน้า เนื่ องจากมีหะดีษจากญาบิร


เราะฎิยลั ลอฮุอน ั ฮุ เล่าว่า ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม
กล่าวว่า “ จงผูกถุงน้าของเจ ้าและจงกล่าวพระนามของอัลลอฮฺ
และจงปิ ดภาชนะและกล่าวพระนามของอัลลอฮฺ
แม้ว่าเจ ้าจะปิ ดทับด้วยไม้ก็ตาม” (บันทึกโดย อัล-บุคอรีย ์ 3106,
มุสลิม 2012, อัต-ติรมิซยี ์ 1812, อบูดาวูด 3731 และท่านอืนๆ ่ )

บทว่าด ้วยมารยาทในการขับถ่ายและการทาความสะอา

อัล-อิสตินญาอ ์ คือ
การทาความสะอาดหรือการชาระสิงที ่ ออกจากทวารหนั
่ กและทวารเ

บาด ้วยนา อัล-อิสติจญ ์มารฺ คือ
่ ออกจากทวารหนั
การชาระสิงที ่ กและทวารเบาด้วยก ้อนหิน ใบไม้

หรืออืนๆ

ขณะเข ้าห ้องส้วมควรเข ้าด้วยเท้าซ ้ายและกล่าวว่า " ،‫ّللا‬


‫بسم ه‬
‫ " أعوذ ه‬ด้วยพระนามของอัลลอฮฺ
‫بالل من الخبث والخبائث‬
ฉันขอความคุ ้มครองต่ออัลลอฮฺให ้พ้นจากความชัวร ่ ้ายของชัยฏอน

มารร ้ายทังหลาย

และเมือออกจากส ้วมควรออกด้วยเท้าขวา และกล่าวว่า " ،‫غفرانك‬
‫" الحمد هلل الذي أذهب عني األذى وعافاني‬. ฉันขออภัยโทษต่อพระองค ์

19

การสรรเสิญเป็ นสิทธิของอัลลอฮฺ
ผูซ ่ึ ดสิงไม่
้ งขจั ่ พงึ ประสงค ์ออกจากตัวฉัน และทรงคุ ้มครองฉัน

ผูต้ ้องการขับถ่ายควรเทน้าหนักไปทีเท ่ ้าซ ้ายและหากขับถ่ายในที่


โล่ง (ไม่ใช่ในอาคาร)

ควรทีจะให ้ห่างจากสายตาผูค้ นและปกปิ ดให ้มิดชิด

และหาสถานทีเหมาะเพื ่ ให ้เปื ้อนปัสสาวะ
อมิ

ไม่ควรนาสิงใดที ่ ถ ้อยคาราลึกถึง (กล่าวถึง )อัลลอฮฺเข ้าส ้วม
มี
นอกจากมีความจาเป็ น และไม่ควรรีบถลกผ้าขึน้ ไม่ควรพูด
ไม่ควรปัสสาวะในรู
และไม่ควรใช ้มือขวาจับและทาความสะอาดทวารเบา

ไม่อนุ ญาตให ้ผินหน้าหรือหลังไปทางกิบละฮฺ


่ งของกะบะฮฺ
(ทิศทีตั ้ ่ ง
) ขณะขับถ่ายในทีโล่
ส่วนในอาคารนั้นเป็ นทีอนุ
่ ญาต แต่ทางทีดี
่ ควรหลีกเลียง

่ นทีพั
ห ้ามขับถ่ายบนทางสัญจร ใต ้ร่มเงาทีเป็ ่ กสารธารณะ
ี่ ผลและสถานทีอื
ใต ้ต ้นไม้ทมี ่ นๆ
่ ในทานองนี ้


การทาความสะอาดนี สามารถเช็ ดด ้วยก ้อนหินสะอาดสามก ้อน
่ และควรเพิมเป็
หากไม่สะอาดก็ให ้เพิม ่ นจานวนคี่ สาม ห ้า หรืออืนๆ

่ ควรให
ห ้ามเช็ดด ้วยกระดูก มูลสัตว ์แห ้ง อาหาร และสิงที ่ ้เกียติ
และอนุ ญาตให ้ทาการชาระล ้างด ้วยน้า กระดาษชาระ และใบไม้
และการเช็ดด้วยก ้อนหินแล ้วล ้างด ้วยน้าย่อมดีกว่าการล ้างด ้วยน้าเ
พียงอย่างเดียว

20

นะญิส (สิงสกปรก) ่ ้อนเสือผ้
ทีเปื ้ านั้นจาเป็ นต ้องล ้างออกด ้วยน้า
หากไม่รู ้ว่าเปื ้อนจุดใด ก็ให ้ล ้างทังชิ
้ น้

้ ายควรนั่งปัสสาวะ และหากมั่นใจว่าไม่เปื ้อน


ผูช
่ นปัสสาวะ
ก็ไม่เป็ นไรทีจะยื

บทว่าด ้วยหลักปฏิบต
ั ท ี่ นธรรมชาติ (ฟิ ฏเราะฮฺ)
ิ เป็
คานิ ยาม ฟิ ฏเราะฮฺคอ
ื หลักปฏิบต ั ท ี่ นธรรมชาติ
ิ เป็

และแบบอย่างทีสวยงาม คือ วิถช
ี วิ ต ่ ษย ์ต ้องปฏิบต
ิ ทีมนุ ั ิ
่ เป็
สิงที ่ นฟิ ฏเราะฮฺ
การแปรงฟัน ส่งเสริมให ้ปฏิบต ั บ
ิ ่อยๆ
เป็ นการทาความสะอาดช่องปาก เป็ นความพอพระทัยของพระเจา้
้ ้ปฏิบต
และเน้นยาให ่
ั เิ มืออาบน้าละหมาด เมือต
่ ้องการละหมาด

อ่านอัลกุรอาน เข ้ามัสญิด เข ้าบ ้าน ขณะตืนนอน

และขณะมีกลินปาก
้ อ
การขจัดขนลับและขนร ักแร ้ ตัดเล็บ และการล ้างข ้อพับของนิ วมื

การขลิบหนวด และการไว ้เครา

การตกแต่งผมโดยทานามั ้ น และหวีผม ไม่ควรโกนบางส่วน


หรือเว้นไว ้บางส่วน (อัลกอซะฮฺ)เพราะทาให ้ดูไม่สุภาพเรียบร ้อย

ย้อมผมด้วยเทียนสี

การใช ้น้าหอม

21
คิตาน นั่นคือการขลิบหนังหุ ้มอวัยวะเพศชาย
่ ให ้เป็ นแหล่งรวมสิงสกปรกและปั
เพือมิ ่ สสาวะ

ส่วนเพศหญิงนั้น คือการขลิบหนังทีอยู ่ ่ด ้านบนสุดของอวัยวะเพศ


บนช่องทีใช่ ้ร่วมเพศ มีลก
ั ษณะคล้ายเมล็ดอินผาลัมหรือหงอนไก่
่ นทีรู่ ้กันของแพทย ์ทีเกี
ซึงเป็ ่ ยวกั
่ ่ ้
บเรืองนี

การคิตานเป็ นการรักษาความสะอาด
้ ้กระทาสาหร ับเพศชาย
และมีประโยชน์หลายประการ เน้นยาให
่ ดี
และเป็ นสิงที ่ สาหร ับเพศหญิง

การอาบน้าละหมาด
ความหมายของการอาบน้าละหมาด
้ ด
คือการทาความสะอาดอวัยวะทังสี ่ ้วยน้า( ใบหน้า

มือทังสองจนถึงข ้อศอก ศรีษะและเท ้า)

ตามรูปแบบทีศาสนาบั ญญัติ

ความประเสริฐของการอาบน้าละหมาด
ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม
ได ้กล่าวถึงความประเสริฐของการอาบน้าละหมาดว่า
“ไม่มค ี นใดจากพวกท่านทีอาบน่ ้าละหมาดอย่างสมบูรณ์
แล ้วกล่าวว่า ฉันปฏิญาณว่าไม่มพ ่ ้จริงนอกจากอัลลอฮฺ
ี ระเจ ้าทีแท
ไม่มภี าคีใดๆแก่พระองค ์ และฉันปฏิญาณว่า
แท ้จริงมุหม
ั มัดเป็ นบ่าวและเป็ นศาสนทูตของพระองค ์

22
นอกจากประตูสวรรค ์ทังแปดจะถู ้ กเปิ ดแก่เขา
เขาจะเข ้าทางประตูใดก็ได ้ตามเขาทีประสงค ่ ์” (บันทึกโดย มุสลิม
234, อัต-ติรมิซยี ์ 55, อัน-นะสาอีย ์ 148, อิบนุ มาญะฮฺ470,
และอะหมัด 4/158) และการอาบน้าทีสมบู ่ รณ์
โดยไม่ฟมเฟื ุ่ อยจะทาให ้อวัยวะต่างๆมีร ัศมีในวันปรโลก

ดังทีท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได ้กล่าวว่า
“แท ้จริงประชาชาติของฉันจะถูกเรียกในวันปรโลกในสภาพทีใบหน้ ่
าและอวัยวะต่างๆมีร ัศมี เนื่ องจากร่องรอยของการอาบน้าละหมาด
ดังนั้นบุคคลใดสามารถทีจะท ่ าให ้ร ัศมีของเขากว ้าง

ก็จงกระทาเถิด” เงือนไขการอาบน ้าละหมาดมี 10 ประการ
เป็ นมุสลิม มีสติสมั ปชัญญะ รู ้เดียงสา เจตนาอาบน้าละหมาด
้ั
และไม่ตงใจเลิ กอาบน้าละหมาดจนกว่าจะเสร็จสมบูรณ์ ยุติ
(หรือแห ้ง)จากหะดัษ ชาระให ้สะอาดจากอุจจาระและปัสสาวะ
ใช ้น้าทีสะอาด
่ น้าทีใช
่ ้เป็ นทีอนุ
่ มตั ิ (ไม่ใช่หะรอม)
่ กั
ขจัดสิงที ่ นมิ
้ ให ้น้าเข ้าถึงผิวหนัง เข ้าเวลาละหมาด
(สาหร ับคนทีมี ่ หะดัษเป็ นประจาต่อเนื่ อง)
่ จ่ าเป็ นต ้องอาบน้าละหมาด สิงที
สิงที ่ จ่ าเป็ นต ้องอาบน้าละหมาด คือ
มีหะดัษ

่ ) ของการอาบน้าละหมาด
องค ์ประกอบหลัก (รุกน
่ ) ของการอาบน้าละหมาดมี 6 ประการ
องค ์ประกอบหลัก (รุกน
่ ่ ง ล ้างใบหน้า ปากและจมูกก็เป็ นส่วนหนึ่ งของใบหน้า
ลาดับทีหนึ

ลาดับทีสอง ้
ล ้างมือทังสองจนถึ งข ้อศอก ลาดับทีสาม เช็ดศีรษะ

23
้ั
หูทงสองก็ เป็ นส่วนหนึ่ งของศีรษะ ลาดับทีสี
่ ่ ล ้างเท ้าทังสอง

พระองค ์อัลลอฮฺได ้ตรัสไว้ว่า
َ َ ۡ َ َ َّ َ ۡ ۡ َ ٓ َ َ َ َّ َ ُّ َ َٰٓ َ
‫ٱلصل َٰوة ِ فٱغسِلوا وجوهك ۡم َوأيۡدِيَك ۡم‬ ‫﴿يأيها ٱلذِين ءامنوا إِذا قمتم إِلى‬
َۡۡ َ ۡ َ ۡ َ ََۡ ۡ ۡ ‫إلَى ٱل ۡ َم َراف ِق َو‬
َ ‫ٱم‬
]6 :‫ ﴾ [المائدة‬.... ‫ن‬
ِ ‫ي‬‫ب‬ ‫ع‬‫ك‬ ‫ٱل‬ ‫ى‬ ‫ل‬ِ ‫إ‬ ‫م‬‫ك‬ ‫ل‬‫ج‬‫ر‬‫أ‬‫و‬ ‫م‬‫ِك‬ ‫س‬ ‫و‬‫ء‬ ‫ر‬ ِ ‫ب‬ ‫وا‬ ‫ح‬ ‫س‬ ِ ِ

“โอ ้ผูศ้ ร ัทธาทังหลาย ่
เมือพวกเจ ้าต ้องการจะละหมาด

ก็จงล ้างหน้าของพวกเจ ้า มือทังสองของพวกเจ ้าจนถึงข ้อสอก
จงเช็ดศรีษะของพวกเจ ้า

และจงล ้างเท ้าทังสองของพวกเจ ้าจนถึงตาตุ่ม” (อัลมาอิดะฮฺ 6)
ลาดับทีห ่ ้า การเรียงตามลาดับ
เนื่ องจากอัลลอฮฺได ้ระบุไว ้อย่างเรียบเรียงและให ้การเช็ดอยู่ระหว่าง
สองอวัยวะทีถู ่ กล ้าง ลาดับทีหก ่ กระทาโดยติดต่อกัน
เพราะท่านเราะสูลปฏิบต ั เิ ช่นนั้น
่ ควรปฏิ
สิงที ่ บตั ใิ นการอาบน้าละหมาด
ส่วนหนึ่ งจากสิงที
่ ควรปฏิ
่ บต
ั ค ิ อ ้
ื แปรงฟัน ล ้างมือทังสองสามครงั้
บ ้วนปาก สูดน้าเข ้าจมูกและสังออกมา
่ ่
สางเคราทีหนา
และสางระหว่างนิ วมื้ อและนิ วเท
้ ้า เริมด ่ ้วยอวัยวะด ้านขวา
ั้
ล ้างสองครงและสามคร งั้ น้าทีเช็
่ ดหูนั้นให ้เอาใหม่
่ อจากการเช็ดศรีษะ)
(ไม่ใช่รอ่ งรอยทีเหลื
อ่านดุอาอ ์หลังอาบน้าละหมาด
ละหมาดสองร็อกอะฮฺหลังอาบน้าละหมาด

24
่ ควรปฏิบต
สิงไม่ ั ิ (มักรูฮฺ) ในการอาบน้าละหมาด
ส่วนหนึ่ งจากสิงที
่ ไม่
่ ควรปฏิบต
ั ิ (มักรูฮฺ) คือ

อาบน้าละหมาดในทีสกปรก
่ ่ นะญิส) เนื่ องจากเกรงว่าจะเปื ้อน
(ทีมี

ล ้างเกินสามครง้ั เนื่ องจากมีรายงานว่าท่านเราะสูลล ้างสามครง้ั



และกล่าวว่า “บุคคลใดเพิมมากกว่ านี ้ เขาย่อมทาสิงไม่
่ ดี
( ไม่ร ักษามารยาทการอาบน้าละหมาด ) และอธรรม (ต่อตัวเอง
โดยบกพร่องในผลบุญ)” (บันทึกโดย อัน-นะสาอีย ์ 140 )

ใช ้น้าอย่างฟุ่ มเฟื อย เนื่ องจาก


ท่านเราะสูลอาบน้าละหมาดด ้วยน้าหนึ่ งลิตร
และการฟุ่ มเฟื อยนั้นเป็ นสิงต ่ ้องห ้าม (หะรอม) ในทุกๆเรือง

ละทิง้ (หรือละเลย) สิงที


่ ควรปฏิ
่ บต ้
ั ใิ นการอาบนาละหมาด

เมือเขาละทิ ง้ เขาย่อมเสียโอกาสในผลบุญ
ดังนั้นจึงไม่ควรทีจะละเลย

่ ท
สิงที ่ าใหเ้ สียน้าละหมาด
่ ท
สิงที ่ าให ้เสียน้าละหมาดมี 7 ประการ

่ ่ ง สิงที
ลาดับทีหนึ ่ ออกมาจากทวารหนั
่ ่
กและทวารเบา ลาดับทีสอง
่ ออกมาจากส่
สิงที ่ ่
วนอืนๆของร่ างกาย ลาดับทีสาม หมดสติ
โดยเป็ นบ ้า เป็ นลม หรือมึนเมา ลาดับทีสี ่ ่ สัมผัสอวัยวะเพศชาย
หรืออวัยวะเพศหญิง โดยไม่มส ิ่
ี งขวางกั ้ ลาดับทีห
น ่ ้า
การสัมผัสกันระหว่างผูช ้ ายและผูห้ ญิงด้วยอารมณ์ทางเพศ

25
ลาดับทีหก่ ร ับประทานเนื ออู
้ ฐ ลาดับทีเจ็
่ ด มีหะดัษใหญ่
่ จ่ าเป็ นต ้องชาระร่างกายโดยการอาบน้า ) เช่น
(สิงที
การเข ้าร ับอิสลาม มีน้าอสุจเิ คลือนออก
่ ่
และอืนๆ
ส่วนคนตายนั้นไม่จาเป็ นต ้องอาบน้าละหมาด
แต่จาเป็ นต ้องอาบน้าชาระร่างกาย (ฆุสลฺ)

การอาบน้าชาระร่างกาย
ความหมายเชิงภาษาและเชิงวิชาการ
หากอ่านว่า อัล-ฆุซลุ คืนน้า หากอ่านว่า อัล-ฆ็อซลุ
คือการชาระล ้าง และหากอ่านว่า อัล-ฆิซลุ
่ ใช
คือสิงที ่ ้ทาความสะอาด

ความหมายเชิงวิชาการ

การรดน้าให ้ทั่วทุกส่วนของร่างกาย ตังแต่


้ ศรี ษะจนจรดเท ้า
ตามรูปแบบทีก ่ าหนด ผูชายและผู
้ ห้ ญิงก็ปฏิบต
ั เิ หมือนกัน
นอกจากการชาระร่างกายจากเลือดประจาเดือนหรือเลือดหลังคลอ
ดบุตร
่ มี
ควรขัดถูด ้วยสิงที ่ กลินหอมให
่ ้สะอาดหมดจดจากร่องรอยของเลือ

่ จ่ าเป็ นต ้องอาบน้ายกหะดัษ
สิงที
่ จ่ าเป็ นต ้องอาบน้ายกหะดัษมี 6 ประการ
สิงที

26
มีน้าอสุจเิ คลือนออกเนื
่ ่ องจากมีอารมณ์ทางเพศ
้ ช
(ทังผู ้ ายและผูห้ ญิง)

การมีเพศสัมพันธ ์

การตาย ยกเว้นการตายชะฮีด (สงครามศาสนา)

ี่
การเข ้าร ับอิสลาม(จากต่างศาสนิ กหรือผูท้ เคยสิ ้
นสภาพจากการเ
ป็ นมุสลิม)

มีเลือดประจาเดือน

มีเลือดหลังคลอดบุตร

การอาบน้าทีส่
่ งเสริมให ้ปฏิบต
ั ิ
การอาบน้าในวันศุกร ์

อาบน้าเพือเข
่ ้าพิธก
ี ารทาหัจญ ์และอุมเราะฮฺ

การอาบน้าของผูที ่
้ อาบน้าศพ

การอาบน้าในวันอีดทังสอง
้ (อีดล
ิ ฟิ ฏรีย ์และอีดล
ิ อัฎฮา)
่ ้นจากการเป็ นลมหรือหายจากการเป็ นบ ้า
เมือฟื

การอาบน้าเมือเข
่ ้าเขตมักกะฮฺ

้ อละหมาดสุ
การอาบนาเพื ่ รยิ คราสหรือจันทรุปราคาหรือละหมาด
ขอฝน

27
การอาบน้าของผูหญิ ่ เลือดเสีย (อิสติหาเฎาะฮฺ)
้ งทีมี
สาหร ับละหมาดทุกครง้ั

ทุกๆการรวมตัวหรือชุมนุ มกัน

เงือนไขของการอาบน้ายกหะดัษ

เงือนไขการอาบน้ามี 7 ประการ

หมดหรือยุตส ิ่ จ่ าเป็ นต ้องอาบน้า (หกประการทีกล่


ิ งที ่ าวมาแล ้ว)


การตังเจตนา

เป็ นมุสลิม

มีสติสม
ั ปชัญญะ

รู ้เดียงสา

ใช ้น้าทีสะอาดและเป็
่ ่ มต
นทีอนุ ั ิ
่ กั
ขจัดสิงที ่ นมิ
้ ให ้น้าเข ้าถึงผิวหนัง

่ ต
สิงที ่ ้องปฏิบต
ั ิ (วาญิบ) ของการอาบน้ายกหะดัษ
่ ต
สิงที ่ ้องปฏิบต ิ องการอาบน้า คือการกล่าวพระนามของอัลลอฮฺ
ั ข
หากลืมก็ไม่เป็ นไร

28
่ ) ของการอาบน้ายกหะดัษ
องค ์ประกอบ (รุกน

คือการตังเจตนาและให ้น้าโดนทุกส่วนของร่างกาย ในช่องปาก
และในจมูก และเพียงพอด ้วยกับการมั่นใจว่าน้าโดนทุกส่วนแล ้ว

ผูใ้ ดตังเจตนาอาบน้าทีจ่ าเป็ น (วาญิบ ) หรือทีส่
่ งเสริมให ้ปฏิบต
ั ิ
(สุนนะฮฺ) ก็สามารถทดแทนกันได ้

และเพียงพอกับการตังเจตนาอาบน้าครงเดี
้ั ยวจากการมีเพศสัมพั
นธ ์และประจาเดือน

ข ้อควรปฏิบต ิ องการอาบน้ายกหะดัษ
ั ข
และข ้อควรปฏิบต ิ องการอาบน้าคือ
ั ข
่ ้วยการกล่าวพระนามของอัลลอฮฺ (บิสมิลลาฮฺ)
เริมด
่ ้วยการขจัดสิงไม่
เริมด ่ พงึ ประสงค ์ออกจากร่างกาย


ล ้างมือทังสองก่ ่ าลงไปในภาชนะทีบรรจุ
อนทีจะน ่ น้า (ถังหรืออ่าง)

อาบน้าละหมาดก่อน
่ ้วยอวัยวะด ้านขวา
เริมด

ปฏิบต ิ ้วยความต่อเนื่ อง
ั ด

ใช ้มือลูบให ้ทั่วร่างกาย
้ั อออกจากที
ล ้างเท ้าอีกครงเมื ่ ่
อาบน้า

29
่ ไม่
สิงที ่ ควรปฏิบต ิ องการอาบน้า (มักรูฮฺ)
ั ข
่ ไม่
สิงที ่ ควรปฏิบต ิ องการอาบน้า
ั ข

ใช ้น้าอย่างฟุ่ มเฟื อย

อาบน้าในสถานทีสกปรก(นะญิ
่ ส)

อาบน้าโดยไม่มส ิ่ ดบัง (เช่นผนังหรือกาแพงหรืออืนๆ)


ี งปิ ่

อาบในแหล่งน้าทีนิ
่ ่ ง (ไม่ไหลถ่ายเท)

ี่ หะดัษใหญ่
ข ้อห ้ามสาหรับผูท้ มี
ี่ หะดัษใหญ่
ห ้ามสาหร ับผูท้ มี

ละหมาด

เฏาะวาฟ(เดินวน)รอบกะอฺบะฮฺ

สัมผัสและถืออัลกุรอานโดยไม่มส ิ่ อหุ ้ม
ี งห่

นั่งในมัสญิด

อ่านอัลกุรอาน


บทบัญญัตเิ กียวกั ่
บนะญิส (สิงปฏิ
กลู )
ความหมายเชิงภาษาและวิชาการ

นะญิสเชิงภาษาคือ สิงสกปรก

30
และนาญิสเชิงวิชาการคือ

สิงสกปรกที ่ นอุปสรรคต่อการละหมาดเป็ นการเฉพาะ เช่น
เป็
ปัสสาวะ เลือด และเหล้า

ชนิ ดของนะญิส
นะญิส มี 2 ชนิ ด
่ ดอยู่กบ
นะญิสทีติ ั ตัว

นะญิสตามบทบัญญัติ
่ ดอยู่กบ
นะญิสทีติ ่ นนะญิส (สิงสกปรก
ั ตัว คือ เรือนร่างทีเป็ ่ )
และไม่สามารถทาให ้สะอาดได ้เลย เช่น สุนัขและสุกร
่ ดขึนกั
นะญิสตามบทบัญญัติ คือ นะญิสทีเกิ ้ บสิงที
่ สะอาด

ประเภทของนะญิส
นะญิสแบ่งออก 3 ประเภท

นะญิสทีบรรดาผู ร้ ู ้มีความเห็นพ้องตรงกัน

นะญิสทีบรรดาผู ร้ ู ้ขัดแย้งกันว่าเป็ นนะญิสหรือไม่
่ ้ร ับการยกเว ้นหรืออนุ โลม
นะญิสทีได

31

นะญิสทีบรรดาผู ร้ ู ้มีความเห็นพ้องตรงกัน
ซากสัตว ์บก (ตายโดยมิได ้เชือดตามบทบัญญัต)ิ
ส่วนซากสัตว ์น้าเป็ นสิงที
่ สะอาด


เลือดสัตว ์บกทีไหลขณะเชื
อด
้ กร
เนื อสุ

ปัสสาวะมนุ ษย ์

อุจจาระมนุ ษย ์

น้ามะซีย ์ (น้าทีออกจากอวั
่ ่ กาหนัด)
ยวะเพศขณะทีมี

น้าวะดีย ์ (น้าใสขุ่นทีออกจากอวั
่ ยวะเพศขณะขับถ่าย)
้ ตว ์ทีห
เนื อสั ่ ้ามบริโภค

้ วนทีได
ชินส่ ่ ้มาจากสัตว ์ทียั
่ งมีชวี ต ่ กตัดขาด
ิ เช่นเท ้าของแพะทีถู
่ วแพะยังมีชวี ต
โดยทีตั ิ อยู่

เลือดประจาเดือน

เลือดนิ ฟาส (เลือดหลังคลอดบุตร)

เลือดอิสติหาเฎาะฮฺ (เลือดเสียของผูห้ ญิง)



นะญิสทีบรรดาผู ร้ ู ้มีความเห็นขัดแย้งกัน
่ ญาตให ้บริโภคเนือ้
ปัสสาวะของสัตว ์ทีอนุ

32
่ ญาตให ้บริโภคเนื อ้
มูลของสัตว ์ทีอนุ

น้าอสุจ ิ

น้าลายสุนัข

อาเจียน
่ มเี ลือด เช่น ผึง้ แมลงสาบ เหา และอืนๆ
ซากของสัตว ์ทีไม่ ่

่ ้รับการยกเว ้นหรืออนุ โลม


นะญิสทีได
ดินตามท ้องถนน

เลือดเพียงเล็กน้อย

น้าเหลือง และน้าหนอง
่ ญาตให ้บริโภคเนื อได
ของมนุ ษย ์หรือของสัตว ์ทีอนุ ้ ้

วิธก
ี ารทาความสะอาดนะญิส
ทาความสะอาดนะญิสด ้วยการล ้าง พรมน้า การถูและการเช็ด

การทาความสะอาดเสือผ้ ้ าทีเปื
่ ้อนนะญิส: หากนะญิสเป็ นก ้อน
ก็ให ้ถูและขูดออก แล ้วก็ล ้างด ้วยน้า และหากนะญิสนั้นเปี ยก
ก็ให ้ล ้างด ้วยน้า

การทาความสะอาดปัสสาวะของเด็กผูช ้ าย
่ งไม่บริโภคสิงใดนอกจากนม
เด็กทียั ่ ้
ก็ให ้พรมนาลงไป

33
นะญิสบนพืนดิ ้ นถ ้าแห ้งเป็ นก ้อนก็ให ้ขูดออก
หากเป็ นของเหลวก็ให ้เทน้าลงไป
่ ้อนนะญิสก็ให ้ถูหรือเดินบนสิงที
รองเท ้าทีเปื ่ สะอาด

่ เป็
และสิงที ่ นเงาลืนเช่
่ นกระจก มีด พืนกระเบื ้ ้
องและอื ่
นๆก็ ให ้เช็ดถู
และภาชนะทีถู ่ กสุนัขเลีย ก็ให ้ล ้างด ้วยน้าเจ็ดครง้ั
โดยใช ้น้าดินหนึ่ งครง้ั

การทาตะยัมมุม
คานิ ยามเชิงภาษาและเชิงวิชาการ

เชิงภาษา คือ การเจตนา การค ้นหา และความตังใจ

เชิงวิชาการ คือ

การใช ้ดินสะอาดเช็ดทีใบหน้ ่ กกาหนด
าและมือตามรูปแบบทีถู
่ นลักษณะเฉพาะทีอั
ซึงเป็ ่ ลลอฮฺให ้แก่ประชาชาตินี้
คือการใช ้ดินทดแทนน้าในการทาความสะอาด

ี่ โลมใหท้ าตะยัมมุมได ้
ผูท้ อนุ
ี ่ มน
ผูท้ ไม่ ี ้า (หาน้าไม่ได ้หรืออยู่ห่างไกลจากแหล่งน้า)

มีบาดแผลหรือเจ็บป่ วยและเกรงว่าจะเกิดอันตรายจากการใช ้น้า


่ าน้าอุ่น
อากาศหนาวจัดและไม่มเี ครืองท

น้ามีปริมาณน้อยไม่พอเพียงต่อการบริโภค

34

เงือนไขที
ต ่ ้องทาตะยัมมุม
บรรลุนิตภ
ิ าวะตามศาสนบัญญัติ

ไม่มอ
ี ป
ุ สรรคในการใช ้ดิน

มีหะดัษเล็กหรือหะดัษใหญ่
ี่ ้องอาบน้าละหมาดหรืออาบน้า)
(คือมีมูลเหตุทต

เงือนไขที
ท ่ าใหก้ ารตะยัมมุมสมบูรณ์
เป็ นมุสลิม

สะอาดจากเลือดประจาเดือนหรือเลือดหลังคลอดบุตร

มีสติสม
ั ปชัญญะ

ใช ้ดินหรือฝุ่ นทีสะอาด
่ ต
สิงที ่ ้องปฏิบต
ั ข
ิ องการทาตะยัมมุม (องค ์ประกอบ)

การตังเจตนา

ดินหรือฝุ่ นทีสะอาด
้ั หนึ
การแตะดินครงที ่ ่ง


ลูบหน้าและมือทังสอง

35
่ ควรปฏิ
สิงที ่ บตั ข
ิ องการตะยัมมุม
กล่าวพระนามของอัลลอฮฺ (บิสมิลลาฮฺ)

ผินหน้าทางกิบละฮฺ
่ ้องการละหมาด
ตะยัมมุมเมือต
้ั สอง
ตบดินครงที ่

เรียบเรียงตามลาดับ

ปฏิบต ิ ้วยความต่อเนื่ อง
ั ด
้ อ
การสอดกันระหว่างนิ วมื
่ ท
สิงที ่ าใหต้ ะยัมมุมเป็ นโมฆะ
มีน้า

มีหะดัษเล็กและหะดัษใหญ่
ี่ ้องอาบน้าละหมาดและอาบน้าดังทีกล่
(มีมูลเหตุทต ่ าวไว ้ข ้างต ้น)
เนื่ องจากการตะยัมมุมนั้นเป็ นการทดแทนการอาบน้าหรืออาบน้าละ
หมาด

วิธก
ี ารตะยัมมุม

ตังเจตนาตะยั ้
มมุม แล ้วกล่าวบิสมิลละฮฺ ใช ้มือทังสองแตะดิ


แล ้วนามาลูบหน้าและมือทังสอง โดยเรียงตามลาดับและติดต่อกัน

36
การตะยัมมุมบนเฝื อกและบาดแผล
่ บาดแผลตามร่างกาย หรือมีรอยฉี กขาด
ผูใ้ ดทีมี
และเกรงว่าจะเกิดอันตรายหากโดนน้า

หรือมีความลาบากทีจะเช็ ดด ้วยน้า ก็ให ้ตะยัมมุมทีบาดแผล


และส่วนอืนๆก็ ใช ้น้าล ้าง

ี ่ มน
ผูท้ ไม่ ี ้าและดิน ก็ให ้ละหมาดตามสภาพนั้น
และไม่ต ้องละหมาดใหม่

การลูบบนรองเท ้าหนังและเฝื อก
อับดุลลอฮุ อิบนุ อลั -มุบาร็อก กล่าวว่า
“การลูบบนรองเท ้าหนังนั้น
อนุ ญาตให ้ทาโดยไม่มค ี วามเห็นคัดค้านหรือขัดแย้งกันระหว่างอุละ
มาอ ์” อิมามอะหฺมด ั กล่าวว่า “ฉันไม่มขี ้อสงสัยใดๆ

ในเรืองการลู บบนรองเท ้าหนัง
่ รายงานถึงสีสิ
ซึงมี ่ บหะดีษจากท่านเราะสูล” และยังกล่าวอีกว่า
“การลูบดีกว่า (ประเสริฐกว่า) การล้าง
อันเนื่ องจากท่านเราะสูลและบรรดาสาวกของท่านแสวงหาสิงที ่ ดี่ กว่
า”

ระยะเวลาของการลูบบนรองเท ้าหนัง
ี่ เดินทาง คือหนึ่ งวันและหนึ่ งคืน
สาหร ับผูท้ ไม่
และสาหร ับผูเ้ ดินทาง คือ 3 วันและ 3 คืน
่ บตังแต่
เริมนั ้ การเสียน้าละหมาดครงแรกหลั ั้ ่
งจากทีสวมใส่

37

เงือนไขของการลู
บบนรองเท ้าหนัง

รองเท ้าหนังทีสวมใส่ น้ันต ้องสะอาด เป็ นทีอนุ
่ มต
ั ิ
ปกปิ ดเท ้าในส่วนทีจ่ าเป็ นต ้องล ้าง
และผูส้ วมใส่ต ้องมีน้าละหมาดอยู่กอ ่ นหน้า

ลักษณะการลูบบนรองเท ้าหนัง
่ น้า แล ้วลูบบนหลังรองเท ้า จากปลายเท ้าจนถึงลาแข ้ง
เอามือจุม
้ั ยว โดยไม่ต ้องลูบด ้านล่างรองเท ้าและตาตุ่ม
เพียงครงเดี
่ ท
สิงที ่ าให ้การลูบบนรองเท ้าหนังเป็ นโมฆะ
่ ท
สิงที ่ าให ้การลูบบนรองเท ้าหนังเป็ นโมฆะมี 4 ประการ

่ การถอดรองเท้า
เมือมี
่ ญุนุบ (มูลเหตุทต
เมือมี ี่ ้องอาบน้ายกหะดัษใหญ่)

เมือรองเท ้าฉี กขาดเป็ นวงกว ้าง

เมือครบกาหนดเวลา

และอนุ ญาตให ้ลูบบนเฝื อกทุกชนิ ด จนกว่าจะเอาออก


แม้ว่าจะเป็ นระยะเวลาหรือจะมีญุนุบก็ตาม

การละหมาดหลักการทีสองในอิ
สลาม

บทบัญญัตเิ กียวข ้องกับการละหมาด

38
การละหมาดญะมาอะฮฺ

การละหมาดย่อ

การละหมาดรวม

การสุญูดสะฮฺวยี ์

การละหมาดตะเฏาวุอฺ ( ภาคสมัครใจ )

การละหมาดวันศุกร ์

การละหมาดอีดทังสอง

การละหมาดขอฝน

ละหมาดสุรยิ ะคราสและจันทรคราส
่ บศพ
ศพและบทบัญญัตเิ กียวกั

การทาละหมาดเป็ นองค ์ประกอบหรือโครงสร ้างหลักข ้อ



ทีสองของอิ
สลาม
ความหมายเชิงภาษาและวิชาการ
การละหมาดเชิงหลักภาษา คือ การขอพร (ดุอาอ ์)

อัลลอฮฺได ้ตรัสไว ้ว่า


ۡ َّ َ َ َ َ َ َ َّ ۡ ۡ َ َ
]103 :‫﴾ [التوبة‬... ‫ل علي ِهم إِن صل َٰوتك سكن لهم‬
َ َ
ِ ‫وص‬...﴿

39
“และเจ ้าจงขอพรให ้แก่พวกเขาเถิด
เพราะแท ้จริงการขอพรของเจ ้านั้น
ทาให ้เกิดความสุขใจแก่พวกเขา” (อัต-เตาบะฮฺ 103)
และความหมายเชิงวิชาการ
คือถ ้อยคาและการปฏิบต ั ท ี่ กกาหนดเฉพาะตามเงือนไขที
ิ ถู ่ ่ กกาห
ถู
่ มด
นด ซึงเริ ่ ้วยคาว่า “อัลลอฮุอก ้ ้วยคาว่า
ั บัร”และเสร็จสินด
“อัสสะลามุอะลัยกุม”

การบัญญัตล
ิ ะหมาด
การละหมาดถูกบัญญัตข ึ้
ิ นในค ่าคืนอิสรออ ์มิอรฺ อจญ ์

(การเดินทางสู่ฟากฟ้ าของท่านเราะสูล)ก่อนทีจะอพยพไปยั งเมืองม
่ นหนึ่ งจากองค ์ประกอบหลักของอิสลาม
ะดีนะฮฺ ซึงเป็

หลังจากคาปฏิญาณตน เพราะอยู่ภายใต ้เนื อหาของค าปฏิญาณ

และเป็ นสิงแรกที
ถู่ กกาหนดหลังจากทีปฏิ่ ญาณตน ท่านนบี
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได ้กล่าวว่า “รากฐานของศาสนา
คือการปฏิญาณตน เสาของมันคือการละหมาด และสัญลักษณ์
(โดมหรือธง) ของมันคือการเสียสละต่อสู ้ (ญิฮาด)
ในหนทางแห่งอัลลอฮฺ”

เหตุผลการบัญญัตล
ิ ะหมาด
การละหมาดเป็ นการขอบคุณในความโปรดปรานต่างๆ
่ ลลอฮฺทรงให ้แก่ปวงบ่าว
ทีอั
และเป็ นการเคารพภักดีทมี ี่ ความหมายอันเด่นชัดทีสุ
่ ด
เนื่ องจากประจักษ ์ถึงการมุ่งหน้าไปยังอัลลอฮฺ

40
นอบน้อมและคารวะต่อพระองค ์
และใกล ้ชิดพระองค ์ด้วยการอ่านบทราลึกและบทขอพร
้ งเป็ นการสือสาร
อีกทังยั ่ ระหว่างบ่าวกับพระผูอภิ ้ บาลของเขา
และเป็ นการก ้าวผ่านจากโลกแห่งวัตถุสู่ความสงบและความบริสท ุ ธิ ์
ของจิตใจ
เพราะทุกครงที้ั บ่
่ าวหมกมุ่นกับความวุ่นวายของชีวต ่ ่วยวนใ
ิ และสิงยั
นโลกนี ้ การละหมาดจะยังเขาไว้ ่
้ ก่อนทีเขาจะจมลงไป
และนาเขากลับสูแ่ ก่นแท ้ของชีวต ่
ิ ทีเขาได เ้ ผลอไป
และขณะเดียวกันก็รู ้ว่า แท ้จริง ณ โลกหน้านั้น มีสงที ิ่ ยิ
่ งใหญ่
่ กว่านี ้
่ ษย ์จะใช ้ชีวต
และแท ้จริงเป็ นไปไม่ได ้ทีมนุ ิ โดยไม่มก ี ารตระเตรียมเส
บียง

บทบัญญัตเิ กียวกั
บการละหมาดและจานวนของมัน
การละหมาดมี 2 ประเภท ภาคบังคับ และภาคสมัครใจ
ภาคบังคับมี 2 ประเภท คือ บังคับรายบุคคล และบังคับโดยรวม
ภาคบังคับรายบุคคล คือ บังคับทุกคนทีเป็่ นมุสลิม

ทังชายและหญิ ่
งทีบรรลุศาสนภาวะ นั่นคือละหมาดห ้าเวลา
อัลลอฮฺได ้ตรัสไว ้ว่า
ٗ ۡ َّ ٗ َ َ ۡ ۡ َ َ ۡ َ َ َ َ َّ َّ
]103 :‫﴾ [النساء‬١٠٣‫ إِن ٱلصل َٰوة كانت على ٱلمؤ ِمن ِين كِتَٰبا موقوتا‬....﴿

“แท ้จริงการละหมาดนั้นเป็ นบัญญัตท ี่ กกาหนดเวลา


ิ ถู
ไว ้แก่ผศ ้
ู ้ ร ัทธาทังหลาย”(อั
นนิ สาอ ์,103)
และพระองค ์อัลลอฮฺได ้ตรัสอีกว่า

41
َ َّ
‫ٱلصل َٰو َة‬
َٓ َ ‫ين لَه ٱلد‬
‫ِين ح َنفا َء َويقِيموا‬ َ َّ ‫﴿ َو َما ٓ أمِر ٓوا إلَّا ل َِي ۡعبدوا‬
َ ‫ٱّلل مخۡل ِص‬
ِ ِ
َ َ َّ
]5 :‫ ﴾ [البينة‬.... ‫ويؤتوا ٱلزك َٰوة‬
ۡ َ


“และพวกเขามิได ้ถูกบัญชาให ้กระทาอืนใดนอกจากเพื ่
อเคารพภั
กดีต่ออัลลอฮฺ

เป็ นผูม้ เี จตนาบริสุทธิในการภั กดีต่อพระองค ์เป็ นผูอ้ ยู่ในแนวทางทีเ่

ทียงตรงและด ารงการละหมาด และจ่ายซะกาต” (อัล-บัยยินะฮฺ,5)
และท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได ้กล่าวว่า
“อิสลามถูกวางอยูบ ่ นโครงสร ้าง 5 ประการ การปฏิญาณตนว่า
ไม่มพ ่
ี ระเจ ้าอืนใดที ่ กเคารพภักดีโดยแท ้จริงนอกจากอัลลอฮฺเท่านั้
ถู
น และมุหม ั มัดเป็ นศาสนทูตของอัลลอฮฺ

การดารงไว ้ซึงการละหมาด การจ่ายซะกาต ... (จนจบหะดีษ)”
(บันทึกโดยอัล-บุคอรีย ์และมุสลิม ) นาฟิ อ ์ บิน อัซร็อก กล่าวแก่
อิบนิ อบ ั บาส ว่า “ละหมาดห้าเวลาถูกระบุไว ้ในอัลกุรอานหรือไม่?
อิบนุ อบ ั บาสกล่าวว่า ใช่ถูกกล่าวไว ้ แล ้วท่านก็อา่ น
َ َّ ‫ َولَه ٱلۡحَ ۡمد فى‬١٧‫ون‬
َ
‫ِين ت ۡصبِح‬
َ ۡ َ َّ َ ‫﴿فَس ۡب‬
ِ َٰ ‫ٱلسم َٰ َو‬
‫ت‬ ِ
َ ‫ون َوح‬ ‫حَٰ َن ٱّللِ حِين تمس‬
َ ۡ َ َ ٗ َ َ َۡ
]18-17 :‫﴾ [الروم‬١٨‫ۡرض وعشِ يا وحِين تظ ِهرون‬ ِ ‫َوٱلأ‬

“ดังนั้น มหาบริสุทธิยิ์ งแด่


่ อลั ลอฮฺ เมือพวกเจ
่ ้าย่างเข ้าสู่ยามเย็น

และเมือพวกเจ ้าย่างเข ้าสู่ยามเช ้า
มวลการสรรเสริญในชันฟ้ ้ าทังหลายและแผ่
้ นดินเป็ นกรรมสิทธิของ ์
พระองค ์ และในยามพลบค่า และเมือพวกเจ ่ ้าย่างเข ้าสู่ยามบ่าย”
(อัร-รูม 17-18) และหะดีษ

42
อาหร ับชนบทคนหนึ่ งซึงมาหาท่
่ านเราะสูล แล ้วกล่าวว่า
ละหมาดใดทีอั่ ลลอฮฺทรงบัญญัตแิ ก่ฉัน ? ท่านเราะสูลตอบว่า
“ละหมาดห ้าเวลา” เขาถามต่อว่า ยังมีละหมาดอืนอี ่ กไหม?
ท่านเราะสูลกล่าวว่า “ไม่ นอกจากท่านจะสมัครใจเท่านั้น”
(บันทึกโดยอัล-บุคอรีย ์และมุสลิม )

การสังใช ้ผูเ้ ยาว ์ให ้ละหมาด
่ กอายุครบเจ็ดปี ต ้องสังใช
เมือเด็ ่ ้ให ้ละหมาด และจะถูกลงโทษ
(เนื่ องจากการละเลย)โดยการตี (ตีไม่แรง
่ นแค่การสาทับตักเตือน) เมืออายุ
เพือเป็ ่ ครบสิบปี เนื่ องจากหะดีษ
“จงสังใช่ ่
้ลูกๆของพวกเจ ้าให ้ละหมาดเมืออายุ ครบเจ็ดปี
และจงลงโทษโดยการเฆียนตี ่ ่
เมืออายุ ครบสิบปี

และจงแยกทีนอนระหว่างพวกเขา” (บันทึกโดย อบูดาวูด, และอัต-
ติรมิซยี ์ )

บทบัญญัตเิ กียวกั ี่ เสธว่าการละหมาดเป็ นบัญญัตภ
บผูท้ ปฏิ ิ
าคบังคับ
บุคคลใดปฏิเสธว่าการละหมาดไม่ใช่ข ้อบังคับจาเป็ น
เขาย่อมเป็ นผูปฏิ
้ เสธศรัทธา แม้ว่าเขาได ้ละหมาดก็ตาม
หากว่าเขามิใช่ผท ี่
ู ้ ขาดความรู ้ (ญาฮิล)
ี่ งละหมาดเพราะไม่
และจะเป็ นกาฟิ รเช่นเดียวกัน ผูท้ ละทิ ้ เอาใจใส่
หรือเกียจคร ้าน
แม้ว่าเขายอมรับว่าการละหมาดเป็ นบัญญัตบ ิ งั คับก็ตาม

43
อัลลอฮฺได ้ตร ัสไว ้ว่า “ก็จงประหัตประหารมุชริกเหล่านั้น ณ

ทีใดก็ ่
ตามทีพวกเจ ้าพบพวกเขา” จนถึงคาตร ัสของอัลลอฮฺทว่ี่ า
ۡ َ َ ُّ َ َ َ َ َّ َ َ َ َ َ َّ َََ َ َ
]5 :‫﴾ [التوبة‬... ‫ فإِن تابوا وأقاموا ٱلصل َٰوة وءاتوا ٱلزك َٰوة فخلوا سبِيلهم‬....﴿

“ต่อมาหากพวกเขาสานึ กผิด (โดยกลับตัวจากการปฏิเสธ)



และดารงไว ้ซึงการละหมาดและบริ จาคทาน
พวกเจ ้าจงปล่อยพวกเขาไป ”(อัตเตาบะฮฺ5) และหะดีษ จากญาบิร
เล่าว่า ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได ้กล่าวว่า
ี่ นมุสลิมและผูป้ ฏิเสธศร ัทธานั้น
“ระหว่างผูท้ เป็

คือการละทิงละหมาด” (บันทึกโดย มุสลิม)

รุกน
่ (องค ์ประกอบหลัก) ของการละหมาด
มี 14 ประการ จะละเลยมิได ้ ไม่ว่าเจตนา สะเพร่า
หรือขาดความรู ้ก็ตาม

ลาดับแรก ยืนตรง สาหร ับผูท้ มี ี่ ความสามารถ


(เฉพาะละหมาดฟัรฎ)ู ลาดับทีสอง ่ ตักบีรอ
ฺ ตุลอิหรฺ อม
(เข ้าพิธล ี ะหมาดด้วยการกล่าวว่า อัลลอฮุอก ั บัร)ฺ
และจะใช ้ถ ้อยคาอืนมิ ่ ได ้ ลาดับทีสาม อ่านสูเราะฮฺ อัลฟาติหะฮฺ
ลาดับทีสี่ ่ รุกูอ ์ (ก ้มศีรษะ) ลาดับทีห ่ ้า เงยศีรษะจากการรุกูฮฺ
และยืนตรง ลาดับทีหก ่ สุญูด (ก ้มกราบ) ลาดับทีเจ็ ่ ด

ยกศีรษะขึนจากการสุ ญดู ลาดับทีแปด ่ การนั่งระหว่างสองสุญูด
ลาดับทีเก ่ ้า ฏม ุ ะนี นะฮฺ (ทาอย่างสงบนิ่ งมีจงั หวะไม่รบ ี ร ้อนผลีผลาม)
ลาดับทีสิ ่ บ การอ่านตะชะฮุดครงสุ ้ั ดท ้าย ลับดาทีสิ ่ บเอ็ด

44
การนั่งเพืออ่
่ านตะชะฮุดครงสุ ้ั ดท ้าย ลาดับทีสิ
่ บสอง
กล่าวเศาะละวาต
(การกล่าวคาขอพรแก่ทา่ นเราะสูลและวงศาคณาญาติ)
ลาดับทีสิ่ บสาม การกล่าวสลามสองครง้ั (คือ อัสสะลามุอะลัยกุม
วะเราะมะตุลลอฮฺ) และทางทีดี ่ ไม่ควรเพิมค
่ าว่า “วะบะรอกาตุฮฺ”
เนื่ องจากหะดีษ จากอิบนิ มสั อูด
“แท ้จริงท่านเราะสูลกล่าวสลามข ้างขวาและข ้างซ ้ายด้วยคาว่า
อัสสะลามุอะลัยกุม วะเราะมะตุลลอฮุ” (บันทึกโดย มุสลิม )
ลาดับทีสิ ่ บสี่ การเรียบเรียงตามลาดับระหว่างรุกน ่ ต่างๆ
่ เป็
สิงที ่ นวาญิบของการละหมาด
่ เป็
สิงที ่ นวาญิบของการละหมาด มี 8 ประการ วาญิบคือ
่ จ่ าเป็ นต ้องปฏิบต
สิงที ้
ั ิ หากละทิงโดยเจตนา
การละหมาดจะเป็ นโมฆะ และเป็ นทีอนุ ่ โลม
หากเกิดจากความสะเพร่าหรือไม่รู ้

ลาดับทีหนึ ่ ่ ง การกล่าวคาตักบีรอ ื่
ฺ นจากตั กบีรเฺ ข ้าพิธล
ี ะหมาด
(ตักบีรใฺ นการเปลียนอิ่ รยิ าบท) ลาดับทีสอง ่ การกล่าวคาว่า
สะมิอลั ลอฮุลม ิ น
ั หะมิดะฮฺ สาหร ับผูท้ เป็ ี่ นอิมาม
ี่
และผูท้ ละหมาดคนเดี ยว ลาดับทีสาม การกล่าวคาว่า ร็อบบะนา
วะละกัลหัมดุ ลาดับทีสี ่ ่ กล่าวคาตัสบีห ์หนึ่ งครงในขณะรุ
ั้ กูอ ์
(สุบหานะร็อบบิยลั อะซีม) ลาดับทีห ่ ้า
กล่าวตัสบีห ์หนึ่ งครงในขณะสุ
้ั ญูด (สุบหานะร็อบบิยลั อะลา)
ลาดับทีหก ่ กล่าวคาว่า “ร็อบบิฆฟิ รลี” ระหว่างสองสุญูด

45
่ ด การอ่านตะชะฮุดครงแรก
ลาดับทีเจ็ ้ั ่
ลาดับทีแปด
การนั่งเพืออ่
่ านตะชะฮุดครงแรก
้ั


เงือนไขของการละหมาด

เงือนไขตามหลั ่
กภาษา คือ เครืองหมายหรื อสัญลักษณ์
และในทางบทบัญญัติ คือ
่ มี
สิงที ่ ผลผูกพันให ้สิงอื
่ นมี
่ ความถูกต ้องหรือสมบูรณ์


และเงือนไขของการละหมาดคื ้
อ การตังเจตนาละหมาด
เป็ นมุสลิม มีสติสมั ปชัญญะ รู ้เดียงสา

(บรรลุวยั ทีสามารถแยกแยะเรื ่ างๆ ได ้) เข ้าเวลาละหมาด
องต่
มีน้าละหมาด (ปราศจากหะดัษเล็กและหะดัษใหญ่)
ผินหน้าไปทางกิบละฮฺ (กะอฺบะฮฺ) ปกปิ ดเอาเราะฮฺ
(ส่วนของร่างกายทีต ่ ้องปกปิ ดตามบทบัญญัต)ิ
และสะอาดจากสิงปฏิ ่ กูล (นะญิส)

เวลาละหมาด 5 เวลา
มาจากการกาหนดเจาะจง
เพราะเวลานั้นเป็ นสาเหตุทท ี่ าให ้จาเป็ นต ้องละหมาด

และเป็ นเงือนไขหนึ ่ งทีท
่ าให ้ละหมาดถูกต ้องใช ้ได ้

มีหะดีษหลายๆบททีท่ ่ านเราะสูลได ้กาหนดเวลาละหมาด จาก


อิบนุ อบ
ั บาส ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได ้กล่าวว่า
้ั
ญิบรีลได ้นาละหมาดฉัน ณ กะอฺบะฮฺ สองครง(ในสองวั น)
้ ้า
และได ้กล่าว (ระบุ) ถึงเวลาละหมาดต่างๆ ทังห

46
หลังจากนั้นท่านกล่าวว่า แล ้วญิบรีลได ้หันมายังฉัน พลางกล่าวว่า
โอ ้มุหม
ั มัด
้ อนเวลาละหมาดของบรรดาศาสนทูตก่อนหน้าเ
เวลาละหมาดนี เหมื
จ ้า เวลาละหมาดนั้นอยู่ระหว่างละหมาดทังสองนี
้ ้ (บันทึกโดย
อบูดาวูด)

เวลาละหมาดทังห ้ ้านั้นถูกแบ่งระหว่างกลางวันและกลางคืน

เมือมนุ ษย ์ได ้นอนพักผ่อน เขาย่อมมีความกระฉับกระเฉง
่ งเวลาเช ้า คือเวลาทางาน ก็มล
และเมือถึ ี ะหมาดศุบหฺ (ยามรุง่ อรุณ)

เพือให ้เขารู ้สึกว่าเขามีความแตกต่างกับสรรพสิงอื ่ นๆ

และเพือต่ ้อนร ับวันใหม่โดยทีเขาได ่ ้เตรียมเสบียงแห่งความศร ัทธา

และเมือถึ ่ งเทียงวั่ น เขาจะหยุดพักจากการทางาน



เพือเขาได ้ใช ้เวลาพิจารณา
ใคร่ครวญมุ่งหน้าสู่ผอ ู ้ ภิบาลของเขาโดยการละหมาดซุฮรฺ
และได ้ปร ับปรุงสิงที ่ เขาได
่ ้ทาในช่วงเช ้า
แลว้ เมือเข่ ้าสู่ยามบ่ายของวันเขาจะละหมาดอัศรฺ จากนั้น

เมือเวลาพลบค ่าและค่าคืน ก็ละหมาดมัฆริบและอิชาอ ์

ซึงละหมาดทั ้
งสองนี ้ นแสงสว่างและทางนาจะนาพาเขาในยามค่า
เป็
คืนซึงเป็ ่ นทีเงี
่ ยบสงัดไปสู่แนวทางทีถู ่ กต ้อง

เช่นเดียวกันนี การละหมาดในเวลาต่ างๆ
ก็เป็ นโอกาสในการใคร่ครวญในอานาจและความประณี ตของอัลล
อฮฺทมี ี่ ตอ
่ สรรพสิงที ่ อยู
่ ่รอบตัวมนุ ษย ์ ในยามกลางวันและกลางคืน

47
เวลาละหมาดซุฮรฺ
่ ้าเวลาเมือตะวั
เริมเข ่ ่ น
นคล ้อยตอนเทียงวั

และจะหมดเวลาเมือเงาของสิ ่ างๆมีความยาวเท่ากับตัวมันเอง
งต่
่ ใช่เงาตอนทีตะวั
ซึงไม่ ่ นกาลังจะคล ้อย (หลักการคือ
่ ตะวั
จะร ับรู ้ถึงเงาของสิงที ่ นได ้คล ้อยผ่าน
จากนั้นก็สงั เกตปริมาณทีเพิ ่ มขึ
่ น้ เมือมี
่ ปริมาณเท่าตัว
เวลาซุฮริก็หมด )

เวลาละหมาดอัศรฺ
่ ้าเวลาเมือเงาของสิ
เริมเข ่ ่ างๆ มีความยาวเท่ากับตัวมันเอง
งต่
่ นกาลังคล ้อย)
(ไม่นับตอนทีตะวั

และจะหมดเมือเงาของสิ ่ ่ งมีความยาวสองเท่าตัวในยามปกติ
งหนึ

และเมือตะวันลับขอบฟ้ าในยามทีคั่ บขัน

เวลาละหมาดมัฆริบ
่ ้าเวลาเมือดวงอาทิ
เริมเข ่ ตย ์ลับขอบฟ้ า

จนกระทังดวงดาวเต็มท ้องฟ้ า (ดาวประสานกัน เห็นได ้เพราะมืด)
และเวลาสุดท้ายแต่น่ารังเกียจไม่ควรปฏิบต ั ค
ิ อ


เมือเมฆสี แดงหายหมดไป

เวลาละหมาดอิชาอ ์
่ อเมฆสี
เริมเมื ่ แดงหมดไป จนกระทั่งถึงเทียงคื
่ น

48
เวลาละหมาดศุบหฺ หรือฟัจญ ์รฺ
่ ้าเวลาเมือแสงอรุ
เริมเข ่ ณขึน้ จนกระทั่งดวงอาทิตย ์ขึน้
่ ่เหนื อเส ้นศูนย ์สูตร
การกาหนดเวลาละหมาดในประเทศทีอยู

(ขัวโลกเหนื อ)
่ ่เหนื อเส ้นศูนย ์สูตรแบ่งออกเป็ นสามประเภท
ประเทศทีอยู

หนึ่ ง ประเทศทีอยู
่ ่ระหว่าง45 และ 48 องศาเหนื อและใต ้
้ เครืองหมายบอกเวลาละหมาดปรากฏชั
ประเทศเหล่านี จะมี ่ ด

ไม่ว่ากลางคืนและกลางวันจะสันหรื อยาว
่ ่ระหว่างเส ้น 48 และ 66 องศาเหนื อและใต ้
สอง ประเทศทีอยู

ประเทศเหล่านี จะไม่ มส
ี ญ
ั ลักษณ์บอกเวลาละหมาดในบางช่วงของ
ปี เช่น เมฆสีแดงจะไม่หายไปจนกว่าจะเข ้าเวลาละหมาดศุบหฺ
่ ่เหนื อเส ้น 66 องศาเหนื อและใต ้
สาม ประเทศทีอยู
สัญลักษณ์บอกเวลาละหมาดจะไม่ปรากฏเป็ นระยะเวลานานของปี
ไม่ว่าจะเป็ นกลางคืนหรือกลางวัน

บทบัญญัตเิ กียวกั ่
บเรืองเวลาละหมาดของแต่ ละประเภท
่ ่ ง ต ้องละหมาดตามเวลาทีได
ประเภททีหนึ ่ ้กล่าวแล ้วข ้างต ้น

ส่วนประเภททีสาม
ต้องใช ้การคานวณโดยไม่มค ี วามเห็นขัดแย้งใดๆ
ระหว่างบรรดาอุละมาอ ์
โดยใช ้การเปรียบเทียบการคานวณทีถู ่ กกล่าวถึงในหะดีษทีเกี ่ ยวข
่ ้

49

องกับดัจญาล ซึงในตอนหนึ ่ งคือ พวกเรากล่าวว่า
โอ ้เราะสูลของอัลลอฮฺ ดัจญาลจะอยู่นานเท่าไร ? ท่านตอบว่า
วันหนึ่ ง ซึงเท่
่ ากับหนึ่ งปี พวกเรากล่าวว่า โอ ้เราะสูลของอัลลอฮฺ
่ ากับหนึ่ งปี นั้นเพียงพอไหมทีเราจะละหมาดแค่
วันทีเท่ ่ ห ้าเวลา
ท่านตอบว่า ไม่ พวกท่านจงคานวณเวลาละหมาด” (บันทึกโดย
มุสลิม)

บรรดาอุละมาอ ์มีความเห็นต่างกันในวิธก
ี ารคานวณเวลาละหมาด

บางทัศนะเห็นว่าใช ้เวลาของประเทศทีใกล ่ ด
้เคียงมากทีสุ

ทีสามารถแยกแยะระหว่ างกลางคืนกับกลางวันได ้
ี่
และสามารถร ับรู ้เวลาละหมาดได ้ตามสัญลักษณ์ทศาสนาบั ญญัติ
กาหนด

และหวังว่านี่ คือทัศนะทีมี
่ น้าหนักมากทีสุ
่ ด และบางทัศนะเห็นว่า
ใช ้เวลาสากลในการคานวณ โดยให ้นับกลางวันสิบสองชัวโมง ่
และกลางคืนก็เช่นเดียวกัน
และบางทัศนะเห็นว่าใช ้เวลาของเมืองมักกะฮฺ หรือเมืองมะดีนะฮฺ

สาหร ับประเภททีสอง ่ ่ง
ก็เหมือนกับประเภททีหนึ
่ึ งสองนั
นอกจากละหมาดอิชาอ ์กับศุบหฺซงทั ้ ้นจะเหมือนกับประเภทที่
สามในการใช ้วิธค
ี านวณ

50
การละหมาดญะมาอะฮฺ
เหตุผลของการบัญญัตล
ิ ะหมาดญะมาอะฮฺ
การละหมาดญะมาอะฮฺเป็ นการเคารพภักดีทยิ ี่ งใหญ่

เป็ นการแสดงออกอันประจักษ ์ถึงความร ักและความเมตตาทีมี ่ ต่อกั
นและความเสมอภาคระหว่างบรรดาผูศ้ รัทธา
เนื่ องจากมีการรวมตัวกันเล็กๆ จานวนห ้าครงในหนึ
้ั ่ งวัน
่ ความหมายมาก ภายใต ้การนาอันหนึ่ งเดียว
(วันกับคืน) ซึงมี
ในทิศทางเดียวกัน เป็ นเหตุให ้หัวใจมีความสามัคคี บริสุทธิ ์

และนามาซึงความร ่ ต่อกัน
ักและความสัมพันธ ์ทีมี
และทาลายความแตกต่างระหว่างกัน

บทบัญญัตเิ กียวกั
บการละหมาดญะมาอะฮฺ
การละหมาดญะมาอะฮฺเป็ นข ้อบังคับ (วาญิบ)
สาหร ับผูช ่ นอิสระ(ไม่ใช่ทาส)
้ ายทีเป็

และมีความสามารถทังในยามที ่ นทางและไม่เดินทาง
เดิ
อัลลอฮฺได ้ตรัสไว ้ว่า
َ َ ٓ ۡ َ َ َّ َ َ ۡ َََ ۡ َ َ
﴾.... ‫ٱلصل َٰو َة فل َتق ۡم َطائِفة م ِۡنهم َّم َعك‬ ‫ت لهم‬ َ ‫ِإذا ك‬
‫نت فِي ِهم فأقم‬ ‫﴿و‬
]102 :‫[النساء‬

่ ้าอยู่ในหมูพ
“และเมือเจ ่ วกเขา แล ้วเจ ้าได ้ให ้พวกเขาละหมาด
ก็จงให ้มีกลุ่มหนึ่ งจากพวกเขาละหมาดพร ้อมกับเจ ้า” (อัน-นิ สาอ ์
102)

51

การสังใช ่ ้องปฏิบต
้ในอายะฮฺข ้างต ้นเป็ นการบังคับทีต ั ิ

นี่ คือการละหมาดญะมาอะฮฺในยามทีมี
่ ความหวาดกลัวหรือยามสง
คราม
ฉะนั้นในยามปกติและปลอดภัยจึงมีความจาเป็ นต ้องปฏิบต ิ่ า
ั ยิ งกว่
่ ท
สิงที ่ าให ้ละหมาดญะมาอะฮฺถก
ู ต ้องใช ้ได ้
ละหมาดญะมาอะฮฺจะถูกต้องใช ้ได ้ต้องประกอบด้วยอีหม่ามและมะ
มูน(ผูน้ าและผูต้ าม)ถึงแม้จะเป็ นผูห้ ญิงก็ตาม
่ ษอบูมูซาเล่าว่า “สองคนขึนไปถื
ดังทีหะดิ ้ อว่าญะมาอะฮฺ”
(บันทึกโดย อิบนุ มาญะฮฺ)

สถานทีละหมาดญะมาอะฮฺ
ส่งเสริมให ้ละหมาดญะมาอะฮฺทมั ี่ สญิด
่ นได
และอนุ โลมให ้ละหมาดทีอื ่ ้ในกรณี มค ี วามจาเป็ น

และส่งเสริมให ้ผูห้ ญิงละหมาดแยกจากผูช ้ าย


เนื่ องจากมีหลักฐานการจากการปฏิบต ั ข
ิ องท่านหญิงอาอิชะฮฺและอุ
มมุสะละมะฮฺ (ได ้กล่าวไว้โดย อัด-ดาเราะกุฏนี ย ์) และท่านเราะสูล
่ ้อุมมุ วะเราะเกาะฮฺ
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได ้สังให
นาละหมาดแก่คนในครอบครัวของนาง (บันทึกโดย อบูดาวูด)

52
การละหมาดย่อ
ความหมายของการย่อละหมาด
การละหมาดย่อเนื่ องจากเดินทาง คือ
การทาให ้ละหมาดสีร็่ อกอะฮฺเหลือสองร็อกอะฮฺ
่ นสิงส
ซึงเป็ ่ าคัญทีสื ่ อความหมายว่
่ าบทบัญญัตอ ิ ส
ิ ลามเอาใจใส่ตอ
่ ส
ภาพของมุสลิม และบรรลุถงึ การให ้ความสะดวกอย่างแท ้จริง
การละหมาดย่อมีหลักฐานจากอัลกุรอานและหะดีษ
และอนุ มตั ใิ ห ้กระทาได ้โดยมติเอกฉันท ์ของประชาชาติมุสลิม

การละหมาดย่อสามารถกระทาได ้ทังในยามปกติ ่
สงบสุขและอืน

การละหมาดย่อสามารถกระทาได้ในทุกสภาพ
ในภาวะทีมี่ ความปลอดภัย หรือภาวะทีมี
่ ความหวาดกลัว
ความหวาดกลัวทีถู่ กกล่าวถึงในอัลกุรอานนั้นคือสภาพโดยมาก
เนื่ องจากโดยมากแล ้วการเดินทางย่อมมีความหวาดกลัว

ท่านอะลีได ้ถามอุมรั วฺ ่า ท่านจะละหมาดย่ออีกหรือ ? ทังๆ

ทีเราอยู ่ในภาวะปลอดภัยแล ้ว อุมรั ต ฺ อบว่า
“ฉันก็เคยแปลกใจเช่นเดียวกับท่าน ฉันเลยถามท่านเราะสูล
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ท่านเราะสูลก็ตอบว่า
“นั่นคือทานทีอั
่ ลลอฮฺมอบแก่พวกท่าน จงร ับไว ้เถิด” (บันทึกโดย
มุสลิม)

53
่ โลมให ้ละหมาดย่อได ้
ระยะทางทีอนุ
่ ยกว่าการเดินทางโดยยึดตามจารีตประเพณีแ
คือทุกระยะทางทีเรี
ละมีการเตรียมเสบียงสัมภาระ

จุดทีจะเริ ่
มละหมาดย่ อ

เริมละหมาดย่ ่ นทางออกจากอาคารบ ้านเรือนในถินที
อได ้เมือเดิ ่ เข

าอยู่อาศัย โดยยึดตามจารีตประเพณี
เนื่ องจากอัลลอฮฺใด ้ทาสาเหตุของการละหมาดย่อคือการท่องไปบน
ผืนแผ่นดิน และจะไม่ถูกเรียกว่าท่องไปบนผืนแผ่นดิน
จนกว่าจะแยกออกจากอาคารถินที ่ อยู
่ ่อาศัยของเขา

การละหมาดรวม
การละหมาดรวมเป็ นการอนุ โลมในเฉพาะกรณี
้ั
(บางครงบางคราว) เนื่ องจากมีความจาเป็ น

และบรรดาอุละมาอฺส่วนมากเห็นว่าควรละทิงการละหมาดรวม
นอกจากกรณี ทมี ี่ ความจาเป็ นทีเห็
่ นได ้ชัดเท่านั้น
เนื่ องจากท่านเราะสูลไม่ได ้ละหมาดรวมนอกจากเพียงไม่กคร ี่ ง้ั
และทุกคนทีได ่ ้ร ับการอนุ โลมให ้ละหมาดย่อ
ย่อมได้รับการอนุ โลมให ้ละหมาดรวมได ้ แต่ไม่ได ้หมายความว่า
ทุกคนทีได ่ ้ร ับการอนุ โลมให ้ละหมาดรวม
จะได ้รับการอนุ โลมให ้ละหมาดย่อได ้
(ละหมาดย่อในกรณี เดินทางเท่านั้น)

54
การละหมาดรวมแบบตักดีมและตะคีร
่ ให ้ละหมาดรวมตามสภาพทีสะดวกที
• ทางทีดี ่ ่ ด
สุ
ไม่ว่าจะเป็ นการรวมแบบตักดีมและตะคีรเนื่ องจากเป้ าหมายหรือเจต
นารมณ์ของการละหมาดรวมนั้น
คือการผ่อนปรนและให ้มีความสะดวก

หากว่าการละหมาดรวมทังสองรู ปแบบมีความสะดวกเท่ากันๆ
่ ควรละหมดรวมแบบตะคีร
ทางทีดี

และเมือคนเดิ ี่ กทางทีดี
นทางหยุดอยู่ทพั ่ ( ตามสุนนะฮฺ )
ให ้ละหมาดตามเวลา ( ย่อโดยไม่รวม )

การสุญูดสะฮฺวย
ี ์
อัส-สะฮฺว ์ คือการลืมในขณะทีท ่ าการละหมาด
่ ถู
การสุญูดสะวีย ์เป็ นสิงที ่ กบัญญัตไิ ว ้สาหร ับผูท้ มี
ี่ การลืมขณะทีท
่ า
การละหมาดโดยมติเอกฉันของประชาติอส ิ ลาม
่ ่
เนื องจากมีแบบอย่างและคาสังจากท่านเราะสูล
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม

การสุญูดสะวีย ์ถูกบัญญัตไิ ว ้เนื่ องในกรณี ทมี


ี่ การกระทาเพิมเติ
่ ม
หรือบกพร่อง หรือในกรณี ทเกิ ี่ ดความลังเล
โดยให ้สุญูดสะวีย ์ก่อนสะลามหรือหลังจากสะลามนั่นคือการสุญูดส
องครง้ั โดยไม่มก ี ารอ่านตะชะฮุด และให ้มีการกล่าวคาตักบีรฺ
(อัลลอฮุอก ้ั สุ
ั บัร)ฺ ในทุกๆ ครงที ่ ญูด
และจากนั้นเมือสุ
่ ญูดเสร็จก็ให ้กล่าวสลาม

55
การละหมาดตะเฏาวุอฺ ( ภาคสมัครใจ )
เหตุผลของการบัญญัตก
ิ ารละหมาดตะเฏาวุอฺ
ส่วนหนึ่ งจากความโปรดปรานของอัลลอฮฺทมี ี่ ต่อปวงบ่าวของพระ
องค ์
นั่นคือให ้บ่าวมีการเคารพภักดีทสอดคล ี่ ้องกับธรรมชาติของการเป็
นมนุ ษย ์
และการเคารพภักดีทท ี่ าให ้บรรลุเป้ าหมายทีพระองค
่ ์ต ้องการโดยก
ารปฏิบต ั ท ี่ กต ้อง
ิ ถู
เนื่ องจากมนุ ษย ์นั้นถูกชักนาสู่ความผิดพลาดและบกพร่อง
พระองค ์จึงบัญญัตส ิ่ มาเติ
ิ งที ่ มเต็มให ้สมบูรณ์และทดแทน
ส่วนหนึ่ งจากสิงนั่ ้นก็คอ ื การละหมาดภาคสมัครใจ
่ รายงานจากท่านเราะสูลว่าการละหมาดตะเฏาวุอจ
ดังทีมี ฺ ะเติมเต็มใ
ห ้ละหมาดฟัรฎม ู ค
ี วามสมบูรณ์ หากเขากระทาบกพร่อง

ตะเฏาวุอท ่ี
ฺ ประเสริ ่ ด (การกระทาภาคสมัครใจทีดี
ฐทีสุ ่ เลิศ)

การกระทาภาคสมัครใจทีประเสริ ฐสุดคือ
การเสียสละต่อสู ้ในหนทางของอัลลอฮฺ ต่อจากนั้นคือ
การศึกษาหาความรู ้ และการสอน อัลลอฮฺได ้ตรัสไว ้ว่า

﴾..... ‫جَٰت‬ ِ َ ‫ِين َء َامنوا مِنك ۡم َوٱلَّذ‬


َ ‫ِين أوتوا ٱلۡعلۡ َم َد َر‬ َ ‫ٱّلل ٱلَّذ‬
َّ َ ۡ َ
ِ‫ يرفع‬....﴿
]11 :‫[المجادلة‬

“แน่ นอนอัลลอฮฺจะทรงยกย่องเทอดเกียรติแก่บรรดาผูศ้ รัทธาในห


้ (อัล-มุญาดิละฮฺ 11)
มู่พวกเจ ้า และบรรดาผูไ้ ด ้ร ับความรู ้หลายชัน”

56
ต่อจากนั้นคือ การละหมาด
และขณะเดียวกันการละหมาดเป็ นการเคารพภักดีของร่างกายทีปร ่
ะเสริฐสุดเนื่ องจากท่านเราะสูลกล่าวว่า “พวกท่านจงยืนหยัดเถิด
และพวกท่านไม่สามารถทาได้ครบถ้วน และพึงทราบเถิด

แท ้จริงการงานทีประเสริ ฐสุดของพวกท่านคือการละหมาด”
(บันทึกโดยอิบนุ มาญะฮฺ) ส่วนหนึ่ งจากการละหมาดตะเฏาวุอฺ
การละหมาดยามค่าคืน
การละหมาดยามค่าคืนประเสริฐกว่าการละหมาดตอนกลางวัน
และส่วนหลังของยามค่าคืนนั้นดีทสุ ี่ ด ตามทีนบี

ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได ้กล่าวไว ้ว่า
“พระผูอ้ ภิบาลของเราผูท้ รงจาเริญ ทรงสูงส่ง

จะลงมายังฟ้ าแห่งโลกนี ในทุ กค่าคืน เมือเลยเที
่ ่ นแล ้ว”
ยงคื
(บันทึกโดยมุสลิม)

การละหมาดตะฮัจญุดนั้นหมายถึงละหมาดทีปฏิ ่ บตั ห
ิ ลังจากการน
อนหลับ ท่านหญิงอาอิชะฮฺ กล่าวว่า
่ ในอายะฮฺทเกี
อันนาชิอะฮฺ(ทีระบุ ี่ ยวข
่ ้องกับการละหมาดกลางคืน)
คือการละหมาดหลังจากการนอนหลับ

ละหมาดฎห ุ า
ส่งเสริมให ้ปฏิบตั บ ้ั
ิ างครงบางคราว(ไม่ กระทาสม่าเสมอ)
เนื่ องจากมีหะดีษจากอบีสะอีด
“ท่านนบีเคยละหมาดฎฮ ุ าอย่างต่อเนื่ อง จนกระทังพวกเรากล่
่ าวว่า
้ กแล ้ว และท่านละทิง้ จนกระทั่งพวกเรากล่าวว่า
ท่านจะไม่ละทิงอี

57
ท่านจะไม่กระทาอีกเลย” ”(บันทึกโดยอะหมัด และอัต-ติรมิซยี ์
และท่านกล่าวว่าเป็ นหะดีษหะสัน เฆาะรีบ )

จานวนน้อยสุดคือสองร็อกอะฮฺ และท่านเราะสูลเคยละหมาดสี่ หก
และมากสุดคือ แปดร็อกอะฮฺ

และไม่มเี งือนไขว่ าต ้องทาแบบนั้นเป็ นประจา

ละหมาดตะหิยะตุลมัสญิด (เคารพมัสญิด) ส่งเสริมให ้ปฏิบต ั ิ


เนื่ องจากมีหะดีษ จากอบีเกาะตาดะฮฺ แท ้จริงนบี
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า

“เมือคนใดจากพวกเจ ้าได ้เข ้ามัสญิด
เขาอย่าได ้นั่งจนกว่าจะละหมาดสองร็อกอะฮฺ” (บันทึกโดยอัล-
ญามาอะฮฺ) สุญูดุตติลาวะ (สุญูดเนื่ องจากการอ่านอัลกุรอาน)
ส่งเสริมให ้ผูท้ อ่ ี่ าน ผูท้ ฟั
ี่ งหรือได ้ยินอัลกุรอานทาการสุญูด
โดยมีการตักบีรข ฺ ณะลงสุญูด (กล่าวว่า
อัลลอฮุอก ั บัร)ฺ และกล่าวสะลามเมือเงยศี ่ ้
รษะขึนมาแล ้ว
คากล่าวขณะสุญูด (สุบหานะ ร็อบบิยลั อะอฺลา) หรืออืนๆ ่
ตามทีมี ่ รายงาน สุญูดชุกูรฺ (ขอบคุณในความโปรดปราน)
ส่งเสริมให ้สุญูดเมือได ่ ่
้ร ับสิงใหม่ ๆ และปลอดภัยจากอันตรายต่างๆ
เนื่ องจากมีหะดีษ จากอบีบก ั เราะฮฺ “แท ้จริงแล ้ว
่ สงที
เมือมี ิ่ ท่ าให ้สบายใจมายังท่านนบี ท่านก็จะลงสุญูดขอบคุณ”
(บันทึกโดยอบูดาวูด อัต-ติรมิซยี ์ และอิบนุ มาญะฮ ) และท่านอะลี
เราะฎิยลั ลอฮุอน ั ฮฺ ก็ได ้สุญูด เมือพบ่ ซุล ษะดียะฮฺ
ถูกฆ่าตายในหมู่เคาะวาริจญ ์ (บันทึกโดยอะหมัด) และท่านกะอับ

58
เราะฎิยลั ลอฮุอน
ั ฮฺ ก็ได ้สุญูดเมือรู ่ ้ข่าวว่าอัลลอฮฺอภัยแก่เขาแล ้ว

( เรืองราวของท่ านเป็ นทีร่ ับรู ้กัน )

ลักษณะและรายละเอียดการสุญูด เหมือนกับสุญด
ู ุตติลาวะฮฺ

ละหมาดตะรอวีห ์ เป็ นละหมาดทีท่ ่ านเราะสูลเน้นยาให


้ ้ปฏิบต ั ิ
โดยละหมาดรวมกันในมัสญิด หลังละหมาดอิชาอ ์
ในเดือนเราะมะฎอน ดังทีท่ ่ านกระทาเป็ นแบบอย่างไว ้
และเคาะลีฟะฮฺอุมรั ไฺ ด ้ฟื ้นฟูอก ้ั
ี ครงในสมั ยของท่าน
และทางทีดี ่ ให ้ละหมาดสิบเอ็ดร็อกอะฮฺ

และหากจะเพิมมากกว่ านี ก็้ ไม่เป็ นไร และให ้เพิมการละหมาด

บทราลึก การขอพรให ้มากขึน้
ในช่วงสิบวันสุดท้ายของเดือนเราะมะฎอน ละหมาดวิตริ ฺ
เป็ นละหมาดทีเน้ ่ นยาให
้ ้ปฏิบต ั ิ
่ านเราะสูลได ้ปฏิบต
ซึงท่ ่ ้ปฏิบต
ั แิ ละได ้สังให ั ิ จานวนน้อยสุดคือ
หนึ่ งร็อกอะฮฺ และน้อยทีสุ ่ ดของความสมบูรณ์ คือสาม
และมากสุดคือ สิบเอ็ด เวลาของละหมาดวิตริ ฺ คือ
หลังจากละหมาดอิชาอ ์ จนถึงเวลาละหมาดศุบห ์
และส่งเสริมให ้อ่านดุอาอ ์กุนูตหลังจากรุกูอ ์

รูปแบบการละหมาด

ละหมาดติดต่อกันโดยไม่น่ ังตะชะฮุดเลย
นอกจากร็อกอะฮฺสุดท้าย

ละหมาดติดต่อกันแล ้วนั่งอ่านตะชะฮุดก่อนร็อกอะฮฺสุดท ้าย


โดยไม่สลามแล ้วยืนต่ออีกหนึ่ งร็อกอะฮฺและอ่านตะชะฮุด และสะลาม

59
สลามทุกสองร็อกอะฮฺ และปิ ดด้วยร็อกอะฮฺเดียว
โดยมีการอ่านตะชะฮุด และสลาม และลักษณะนีดี ้ ทสุ
ี่ ด
ั ิ และทาอย่างสม่าเสมอ
เพราะท่านเราะสูลได ้ปฏิบต

ละหมาดเราะวาติบ (ละหมาดทีติ ่ ดต่อกับละหมาดฟัรฎห ุ ้าเวลา)



ละหมาดเราะวาติบทีประเสริ ฐสุดคือ สุนนะฮฺกอ
่ นศุบห ์
เนื่ องจากมีหะดีษ จากท่านหญิงอาอิชะฮฺ จากท่านเราะสูล
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า
“สุนนะฮฺสองร็อกอะฮฺของละหมาดศุบห ์นั้น

ประเสริฐกว่าโลกนีและสิ ่ อยู
งที ่ ่ในโลกนี ทั
้ งหมด”
้ (บันทึกโดยมุสลิม
และอัต-ติรมิซยี ์ และให ้การรับรองว่าเป็ นหะดีษเศาะฮีห)ฺ

ละหมาดเราะวาติบทีเน้ ่ นยาให
้ ้ปฏิบต ิ ั้นมีสบ
ั น ิ สองร็อกอะฮฺ
สีร็่ อกอะฮฺกอ
่ นซุฮริ และหลังอีกสอง สองร็อกอะฮฺหลังมัฆริบ
สองร็อกอะฮฺหลังอิชาอ ์ และสองร็อกอะฮฺกอ ่ นศุบห ์

ส่งเสริมให ้ชดเชยละหมาดเราะวาติบเมือไม่ ่ ได ้ละหมาด


และการชดเชยละหมาดวิตริ น ฺ ้ันให ้ละหมาดเป็ นจานวนคู่
นอกจากว่าไม่ได ้ละหมาดรอวาติบเป็ นจานวนมากพร ้อมกับละหมา
ดฟัรฎู ทางทีดี่ ไม่ต ้องชดเชย เนื่ องจากเกิดความยากลาบาก
นอกจากเราะวาติบก่อนศุบห ์ ควรชดเชยในทุกกรณี
เนื่ องจากมีการเน้นยามาก

การละหมาดเราะวาติบให ้กระทาทีบ ่ ้านดีทสุ
ี่ ด
่ างกับละหมาดฟัรฎแู ละละหมาดทีศาสนาบั
ซึงต่ ่ ญญัตใิ ห ้ละหมาดรว
มกัน

60
การละหมาดวันศุกร ์
ความประเสริฐของวันศุกร ์
่ ทสุ
วันศุกร ์เป็ นวันทีดี ี่ ด ซึงอั
่ ลลอฮฺได ้คัดเลือกให ้กับประชาชาตินี้
่ ญาตให ้รวมตัวกัน และส่วนหนึ่ งจากเหตุผลคือ
เป็ นวันทีอนุ
ให ้มุสลิมได ้ทาความรู ้จักกัน คุนเคย
้ ช่วยเหลือ
ให ้ความเมตตาแก่กน ั วันศุกร ์เป็ นวันตรุษของสัปดาห ์
และดีทสุี่ ดของทุกๆวัน

บทบัญญัตข
ิ องการละหมาดวันศุกร ์
การละหมาดวันศุกร ์เป็ นบัญญัตบ
ิ งั คับ อัลลอฮฺได้ตรัสไว ้ว่า
ۡ َ‫ِلصلَ َٰوة ِ مِن يَ ۡو ِم ٱلۡجم َعةِ ف‬ َ َ
ۡ َ
‫ٱس َع ۡوا إِل َٰى ذِك ِر‬ َ ‫يأ ُّي َها ٱلَّذ‬
َّ ‫ِين َء َامن ٓوا إ َذا نود َِي ل‬ َٰٓ ﴿
ِ
َۡ ۡ
]9 :‫ ﴾ [الجمعة‬.... ‫ٱّلل ِ وذروا ٱل َبيع‬
َ َ َّ

่ เสียงเรียกสู่การละหมาดวันศุกร ์
“โอ ้บรรดาผูศ้ ร ัทธา เมือมี

จงรีบเร่งสู่การราลึกถึงอัลลอฮฺ และจงละทิงการค ้าขาย” (อัล-
ญุมุอะฮฺ 9)

ละหมาดวันศุกร ์มีสองร็อกอะฮฺ
ส่งเสริมให ้อาบน้าเพือละหมาดวั
่ ้ เนิ่ นๆ
นศุกร ์ และไปมัสญิดตังแต่
่ ้องละหมาดวันศุกร ์
บุคคลทีต

คือ มุสลิมชายทุกคน ทีบรรลุ ศาสนภาวะ เป็ นอิสระ ( มิใช่ทาส)
่ มอ
ซึงไม่ ่ ้ร ับการอนุ โลมให ้ละทิงได
ี ุปสรรคใดๆ ทีได ้ ้

61
เวลาละหมาดวันศุกร ์
ละหมาดวันศุกร ์ถือว่าใช ้ได ้ก่อนและหลังตะวันคล้อย
และหลังตะวันคล้อยดีกว่า
เนื่ องจากเป็ นเวลาทีท่
่ านเราะสูลละหมาดเป็ นส่วนมาก

่ ท
สิงที ่ าให ้ละหมาดวันศุกร ์มีผลใช ้ได ้
่ คนจานวนมากรวมตัวกันต
ละหมาดวันศุกร ์จะมีผลใช ้ได ้ก็ต่อมือมี
ามจารีตประเพณี (ปกติวสิ ยั )

เงือนไขที
ท ่ าให ้ละหมาดวันศุกร ์ถูกต ้อง

เงือนไขที ่ าให ้ละหมาดวันศุกร ์ถูกต ้องใช ้ได ้ 5 ประการ

เข ้าเวลาละหมาด การตังเจตนา ้
เป็ นการละหมาดของคนทีอยู ่ ่ในท ้องที่
มีผรู ้ ว่ มละหมาดทีอยู่ ่ในเกณฑ ์มากตามจารีตประเพณี
่ ้วยสองคุฏบะฮฺ ทีประกอบด
เริมด ่ ้วย การสรรเสริญอัลลอฮฺ
การสดุดแี ละขอพรแก่ทา่ นเราะสูล อ่านหนึ่ งโองการจากอัลกุรอาน
และสังเสี ่ ยกันให ้มีความยาเกรงต่ออัลลอฮฺ
อ่านเสียงดังให ้จานวนผูท้ อยู ี่ ่ในเกณฑ ์ได ้ยิน

ห ้ามพูดขณะอิมามอ่านคุฏบะฮฺ และห ้ามข ้ามบ่าผูค้ น


ละหมาดวันศุกร ์เป็ นการทดแทนละหมาดซุฮรฺ
บุคคลใดทันอิมามหนึ่ งร็อกอะฮฺ ก็เท่ากับว่าเขาทันละหมาดวันศุกร ์

หากทันน้อยกว่านั้นให ้เจตนาละหมาดซุฮรฺและละหมาดสีร็่ อกอะฮฺ

62

การละหมาดอีดทังสอง
เหตุผลของการบัญญัตล
ิ ะหมาดอีด
การละหมาดอีดเป็ นสัญลักษณ์ทเด่ ี่ นชัดของศาสนาอิสลาม
และเป็ นลักษณะพิเศษของประชาชาตินี้

เพือบรรลุ การขอบคุณต่ออัลลอฮฺในการถือศีลอดเดือนเราะมะฎอน
และการปฏิบต ั พ
ิ ธิ ห ้ เป็ นการเรียกร ้องสู่ความร ัก
ี จั ญ ์ และนอกจากนี ก็
ความเมตตาต่อกันระหว่างมุสลิม เรียกร ้องความสามัคคี
และให ้จิตใจบริสุทธิแก่ ์ กน ั

บทบัญญัตข
ิ องการละหมาดอีด
การละหมาดอีดเป็ นการบังคับภาพรวม (ฟัรฎก ู ฟ ิ ายะฮฺ
มิใช่รายบุคคล)
ท่านเราะสูลและบรรดาเคาะลีฟะฮฺหลังจากท่านได ้ปฏิบต ั อิ ย่างต่อเนื่
่ นยาให
อง เป็ นละหมาดทีเน้ ้ ้มุสลิมทุกคนปฏิบตั ิ
่ ได ้อยู่ในการเดินทางปฏิบต
และบัญญัตใิ ห ้คนทีไม่ ั ิ

เงือนไขของการละหมาดอี


มีเงือนไขเช่นเดียวกับละหมาดวันศุกร ์
้ั
เพียงแต่คุฏบะฮฺทงสองอยู ่หลังละหมาด
และมิใช่เป็ นข ้อบังคับหรือวาญิบ

63
เวลาละหมาดอีด

เริมจากดวงอาทิ ้
ตย ์ขึนประมาณเท่ ากับความยาวของหอกจนถึงต
่ นคล ้อยแล ้ว
ะวันคล ้อย แต่หากรู ้ว่าเป็ นวันอีดหลังจากทีตะวั

ให ้ชดเชยในวันรุง่ ขึนในเวลาของละหมาดอี ด

วิธล
ี ะหมาดอีด
คือละหมาดสองร็อกอะฮฺ เนื่ องจากคากล่าวของอุมรั ท ฺ ว่ี่ า
“ละหมาดอีดฟิ ตริสองร็อกอะฮฺ และอีดอัฎหา สองร็อกอะฮฺ
เป็ นการละหมาดปกติมใิ ช่ละหมาดย่อ

ซึงตามแบบอย่ างของท่านนบี
่ ร ้ายย่อมขาดทุน” (บันทึกโดยอะหมัด)
และแท ้จริงบุคคลทีใส่
และละหมาดก่อนคุฏบะฮฺ ในร็อกอะฮฺแรกตักบีรห ฺ กครงั้
หลังจากตักบีรเฺ ข ้าพิธ ี (ตักบีเราะตุลอิห ์รอม)
่ านอะอุซบ
และก่อนทีจะอ่ ุ ล
ิ ลาฮฺ
ี่
และในร็อกอะฮฺทสองตั กบีรห ั้ อนทีจะอ่
ฺ ้าครงก่ ่ านฟาติหะฮฺ


สถานทีละหมาดอี

่ ยมไว ้เพือละหมาด)
คือ มุศ็อลลา (สนามทีเตรี ่


สิงควรปฏิ
บต ้
ั ใิ นอีดทังสอง
ควรกล่าวตักบีรฺ มุฏลัก(ทั่วไปมิใช่กรณี หลังละหมาดห ้าเวลา)

และกล่าวด ้วยเสียงดังในคืนอีดทังสอง อัลลอฮฺได ้ตร ัสไว ้ว่า
َ ۡ ۡ َّ َ َّ َ ۡ َّ َ
]185 :‫… فعِدة مِن أيام أخ َر ي ِريد ٱّلل بِكم ٱليسر …﴾ [البقرة‬.﴿

64
่ พวกเจ
“และเพือที ่ ้าจะได ้ให ้ครบถ ้วน
่ านวนวัน(ของเดือนรอมฏอน)
ซึงจ

และเพือพวกเจ ่ พระองค
้าจะได ้ให ้ความเกรียงไกรแด่อลั ลอฮ ์ในสิงที ่ ์
ทรงแนะนาแก่พวกเจ ้า” (อัล-บะเกาะเราะฮฺ 185)

และอิมามอะหมัดกล่าวว่า อิบนุ อุมรั เฺ คยกล่าวตักบีรใฺ นอีดทังสอง
และในสิบวันแรกของเดือนซุลหิจญะฮฺน้ัน มีหลักฐานว่า
َ ۡ َّ َّ َ َّ ۡ ََۡ
ٓ ِ ‫ ويذكروا ٱس َم ٱّللِ ف‬...﴿
]28 :‫ى أيام معلومَٰت …﴾ [الحج‬

“และเพือให ่ ้พวกเขาราลึกถึงพระนามของอัลลอฮฺในวันต่างๆ
ทีรู่ ้กัน” (อัล-หัจญ ์ 28)

ส่วนการตักบีรฺ มุก็อยยัด (เฉพาะที)่


คือหลังละหมาดฟัรฎใู นอีดอัฎฮาเท่านั้น
่ ได ้ทาหัจญ ์ให ้เริมจากหลั
สาหร ับคนทีไม่ ่ งละหมาดศุบหฺของวันอะเร
าะฟะฮฺจนถึงวันตัชรีกวันสุดท้าย

ส่งเสริมให ้มะมูมออกไปรอละหมาดตังแต่้ เช ้าตรู ่


ส่วนอิมามนั้นให ้ออกล่าช ้าจนถึงใกล ้เวลาละหมาด
และส่งเสริมให ้ผูจะที ่
้ ออกไปละหมาดช าระร่างกายให ้สะอาดและสวม
้ ่ ่
เสือผ้าทีดีทสุ ่
ี ดตามสภาพทีเขามีอยู่
และสตรีน้ันไม่อวดโฉมด ้วยเครืองแต่
่ ่
งกายหรือเครืองประดั บ

สิงควรปฏิ
บต ่
ั เิ กียวกั
บอีด
้ เช ้าตรู ่
ละหมาดอีดอัฎฮาตังแต่
และให ้ล่าช ้าในการละหมาดอีดฟิ ฏรฺ

65
ควรรับประทานอินทผลัมก่อนออกไปละหมาดอีดฟิ ฏรฺ
และไม่ควรรับประทานอาหารก่อนออกไปละหมาดอีดอัฎฮา
่ จะรอร
เพือที ่ ้ รบ่านเป็ นลาดับแรกก่อนจะทานอย่างอื่
ับประทานเนื อกุ

ละหมาดขอฝน
เหตุผลของการบัญญัตล
ิ ะหมาดขอฝน
อัลลอฮฺได ้บังเกิดมนุ ษย ์และใหม้ ส
ี ญ
ั ชาตญาณทีต ่ ้องหันหน้าสู่พระ

องค ์เมือเขาประสบกั บความเดือดร ้อน
และการขอฝนก็เป็ นสิงที่ ประจั
่ กษ ์ชัดจากสัญชาตญาณ
่ ่
ซึงมุสลิมจะหันหน้าสู่พระเจ ้าของเขาเพือขอน ้าเมือเขาประสบกั
่ บคว
ามเดือดร ้อน

ความหมาย การอิสติสกออ ์
คือการขอน้าฝนจากอัลลอฮฺ ให ้กับบ ้านเมืองและผูค้ น
โดยการละหมาด วิงวอน และขออภัยโทษ

บทบัญญัตข
ิ องการละหมาดขอฝน
่ เน้
เป็ นสิงที ่ นหนักให ้ปฏิบต ่ านเราะสูล
ั ิ ดังทีท่
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เคยปฏิบต ั ิ
และประกาศให ้ผูค้ นออกไปละหมาดทีมุ ่ ศอลลา
่ ยมไว ้สาหร ับการละหมาด)
(ทีเตรี

66
เวลา รูปแบบ และบัญญัตต ิ ่างๆของการละหมาดขอฝน
เช่นเดียวกับการละหมาดอีด
ส่งเสริมให ้อิหม่ามประกาศเวลาละหมาดล่วงหน้า
และเรียกร ้องให ้มีการสานึ กผิดจากบาปและการละเมิดต่างๆ
เชิญชวนให ้มีการถีอศีลอด บริจาคทาน
และละเลิกความบาดหมางกัน
เพราะบาปต่างๆเป็ นสาเหตุของความแห ้งแล ้ง

ดังทีการภักดีก็เป็ นเหตุของความดีและความจาเริญ

ละหมาดสุรยิ ะคราสและจันทรคราส
นิ ยามและเหตุผลของการบัญญัตล
ิ ะหมาดสุรยิ ะคราสและจันทร
คราส

กุสูฟ คือ การทีแสงของดวงอาทิ ตย ์และดวงจันทร ์หายไป
เป็ นส่วนหนึ่ งจากสัญญาณของอัลลอฮฺทเรี ี่ ยกร ้องให ้มนุ ษย ์สู่การเต
รียมตัว และพึงระวังการสอดส่องของอัลลอฮฺ

และให ้พึงพาต่ ่ ดการเปลียนแปลงต่
อพระองค ์ในยามทีเกิ ่ างๆ

และให ้ใคร่ครวญในความยิงใหญ่ ่
ในการทีพระองค ้ าง
์สร ้างโลกนี อย่
ประณี ต และพระองค ์เท่านั้นทีควรได
่ ้ร ับการเคารพภักดี
้ ่
ดังนันเมือเกิดสุรยิ ะคราสหรือจันทรคราส
จึงส่งเสริมให ้ละหมาดกุสูฟแบบญะมาอะฮฺ
َۡ َ َّ َ َ َۡ َّ َّ ‫﴿ َوم ِۡن َء َايَٰتِهِ ٱل َّ ۡيل َو‬
‫ٱلن َهار َوٱلش ۡمس َوٱلق َمر لا ت ۡسجدوا ل ِلش ۡم ِس َولا ل ِلق َم ِر‬
َ ۡ َ َّ ۡ َّ َ َ َ َّ َ
]37 :‫﴾ [فصلت‬٣٧‫وْۤاوُدُجۡسٱ ِۤهَّلِل ٱلذِي خلقهن إِن كنتم إِياه تعبدون‬

67
“และส่วนหนึ่ งจากสัญญาณของพระองค ์
คือกลางคืนและกลางวัน ดวงอาทิตย ์และดวงจันทร ์
พวกเจ ้าอย่าได ้กราบแก่ดวงอาทิตย ์และดวงจันทร ์
แต่จงกราบแด่อลั ลอฮฺผทรงสร
ู้ ้างพวกมัน
ถ ้าหากพวกเจ ้านั้นเป็ นผูท้ เคารพภั
ี่ กดีพระองค ์” (ฟุศศิลต
ั : 37)

เวลาละหมาดสุรยิ ะคราสและจันทรคราส

เริมจากเกิ ้
ดสุรยิ ะคราสหรือจันทรคราสจนสินหายไป
และไม่ต ้องละหมาดชดถ ้าไม่ทน ่ รยิ ะคราสหรือจันทรครา
ั หลังจากทีสุ
สได ้เปลียนไปเป็ นปกติ

รูปแบบการละหมาดสุรยิ ะคราสและจันทรคราส
คือ ละหมาดสองร็อกอะฮฺ
ในร็อกอะฮฺแรกอ่านสูเราะฮฺอลั ฟาติหะฮฺและสูเราะฮฺยาวๆ
ด ้วยเสียงดัง จากนั้นก็ให ้รุกูอ ์นานๆ แล ้วก็เงยศีรษะขึน้
กล่าวสะมิอลั ลอฮู ลิมน ั หะมิดะฮฺและอ่านตะห ์มีด (ร็อบบะนา
วะละกัลหัมดฺ ) แล ้วอ่านฟาติหะฮฺและสูเราะฮฺยาวๆ จากนั้นก็รุกูอ ์
แล ้วก็เงยศีรษะขึน้ จากนั้นก็สุญูดสองครงนานๆ้ั
และในร็อกอะฮฺทสองใหี่ ้ทาเหมือนกับร็อกอะฮฺทหนึ ี่ ่ ง

แต่ให ้สันกว่ าในทุกๆ การกระทา
และยังมีการละหมาดในรูปแบบอืนๆ ่
แต่น่ี คือรูปแบบทีสมบู่ ิ่ า และมีสายรายงานแข็งแรงกว่า
รณ์ยงกว่
และหากจะละหมาดด ้วยสามหรือสีหรื ่ อห ้ารุกูอ ์ก็ไม่เป็ นไร
่ าเป็ นต ้องกระทาเช่นนั้น
เมือจ

68
การจัดการศพ
มนุ ษย ์ทุกคนต้องตายแม้จะมีอายุยน ื ยาวก็ตาม

และต ้องเคลือนย้ายจากโลกแห่ งการปฏิบต ั สิ โู่ ลกแห่งการตอบแทน
และส่วนหนึ่ งจากหน้าทีของมุ
่ ่ ต่อพีน้
สลิมทีมี ่ องมุสลิมด ้วยกันคือ

เยียมเยี ่
ยนเมือเขาเจ็ ่
บป่ วย ไปส่งศพเมือเขาตาย

ส่งเสริมให ้เยียมผู ่ ย
ป่้ วย ตักเตือนให ้เขาสานึ กผิดและให ้สังเสี

ี่
ส่งเสริมให ้ผูท้ ใกล ้จะตายหันหน้าสู่กบ ิ ลัต
โดยให ้นอนตะแคงขวาและหันหน้าสู่กบ ิ ลัตหากไม่ลาบาก
แต่ถ ้ามีความลาบากก็ให ้นอนหงาย ยืนเท ่ ้าไปทางกิบลัต
และยกศีรษะสูงเล็กน้อยเพือให ่ ้หันหน้าสู่กบ ิ ลัต
จากนั้นก็สอนเขาให ้กล่าวคาปฏิญาณตนลาอิลาฮะ อิลลัลลอฮฺ
และใช ้น้าหรือเครืองดื
่ มหยดที
่ ่
กระเดื อก และให ้อ่านสูเราะฮฺ ยาสีน
ใกล ้ๆ เขา
่ สลิมเสียชีวต
เมือมุ ้
ิ ส่งเสริมให ้ปิ ดตาทังสองของเขา

ผูกขากรรไกรทังสองของเขาด้วยผ้ า และขยับข ้อพับต่างๆ
อย่างเบาๆ วางให ้สูงจากพืนดิ้ น เปลืองเสื
้ ้ าออก ปกปิ ดเอาเราะฮฺ
อผ้

และวางบนเตียงทีอาบน ้าศพโดยหันไปทางกิบลัตและตะแคงขวาหา
กสะดวก ถ ้าไม่สะดวกก็ให ้นอนหงายและยืนเท ่ ้าไปทางกิบลัต

การอาบน้าศพ
ี่
ผูท้ สมควรยิ ่
งในการอาบน ้าศพ คือผูท้ เขาสั
ี่ ่ ยไว ้
งเสี
จากนั้นคือพ่อและปู่ ของเขาตามลาดับ

69
จากนั้นบุคคลทีเป็ ่ นญาติใกล ้ชิดทีสุ่ ด
ี่
ส่วนผูท้ สมควรยิ ่
งในการอาบน ้าศพแก่ผหญิ
ู ้ งคือ

ผูท้ เขาได
ี ่ ้
้สังเสียไว ้ จากนันคือมารดา ต่อมาคือย่า
จากนั้นญาติใกล ้ชิดทีเป็ ่ นผูห้ ญิง
สามีและภรรยาทีเป็ ่ นมุสลิมสามารถอาบน้าศพแก่กน ั ได ้

เงือนไขของผู ี่
ท้ จะอาบน้าศพคือต ้องมีสติสม
ั ปชัญญะ รู ้เดียงสา

รู ้บทบัญญัตเิ กียวการอาบน ้าศพ

ไม่อนุ ญาตให ้มุสลิมอาบน้าศพหรือฝังศพต่างศาสนิ ก


่ มใี ครฝังเขา
แต่อนุ ญาตให ้ฝังศพต่างศาสนิ กเมือไม่

ลักษณะการอาบน้าศพ
่ มท
เมือเริ ่ าการอาบน้าศพ ให ้ปกปิ ดเอาเราะฮฺของศพ
จากนั้นยกศีรษะของศพให ้สูงขึน้ จนใกล ้เคียงกับท่านั่ง
และรีดท ้องเบาๆ และรดน้าเยอะๆ
จากนั้นใช ้ผ้าชินเล็้ กพันมือถูทาความสะอาด
จากนั้นควรอาบน้าละหมาดให ้ศพ หลังจากทีใช ่ ้ผ้าชินอื
้ นพั่ นมือ
แล ้วก็เจตนาอาบน้าศพ และกล่าวบิสมิลละฮฺ
แล ้วล ้างด ้วยน้าใบพุทราหรือสบู่ โดยเริมจากศี
่ รษะและเครา

จากนันก็ด ้านขวา ต่อมาด ้านซ ้าย
จากนั้นอาบซาอี ้ กเป็ นครงที้ั สองและสาม
่ ้ั
เหมือนกับครงแรก
หากไม่สะอาดต ้องเพิมจ ่ านวนครงอี ้ั กจนสะอาด
และครงสุ ้ั ดท ้ายให ้ใช ้น้าผสมการบูรหรือเครืองหอม

70
หากหนวดหรือเล็บยาวให ้ตัดออก แล ้วห่อด้วยผ้า
ส่วนผมของผูหญิ
้ งให ้ผูกจัดทาเป็ นสามส่วนและปล่อยไปด้านหลัง

การห่อศพ
ผูช้ ายส่งเสริมให ้ห่อด ้วยผ้าสามชัน้ สีขาว ผสมด ้วยเครืองหอม

ทับซ ้อนกันระหว่างชัน้ จากนั้นนาศพมาวางนอนหงายบนผ้า

เอาสาลีปิดทีทวารหนั กและทวารเบา
แล ้วผูกมัดด้วยเศษผ้าเหมือนกับกางเกงตัวเล็ก

และใช ้เครืองหอมในส่ ่
วนอืนๆของร่ างกาย
จากนั้นก็ให ้ดึงชายผ้าส่วนบนด ้านซ ้ายไปทางด ้านขวา
ด ้านขวาไปซ ้าย ชันที้ สองและสามก็
่ ทาเช่นเดียวกัน
และให ้ผูกชายผ้าส่วนทีเหลื ่ อด ้านศีรษะ และแก ้ออกเมือตอนฝั
่ ง
ส่วนศพเด็กผูช ้ ยว)
้ ายห่อด ้วยผ้าผืนเดียว (ชันเดี
และอนุ ญาตให ้ห่อด ้วยผ้าสามผืน

ศพผูห้ ญิงนั้นต ้องสวมเสือ้ ผ้านุ่ ง และใช ้ผ้าคลุม(คิมารฺ)


และผ้าอีกสองชัน้ ศพเด็กผูห้ ญิงห่อด ้วยเสือและผ้้ าสองชัน้

การอาบน้าศพเพียงครงเดี ้ั ยวซึงทั
่ ่วทุกส่วนของร่างกายถือว่าใช ้ไ
ด้ จะเป็ นศพชายหรือหญิงก็ตาม

และเช่นเดียวกันการห่อศพด ้วยผ้าผืนเดียวซึงปกปิ ดทุกส่วนของร่า
งกายถือว่าใช ้ได ้ จะเป็ นศพชายหรือหญิงก็ตาม
่ ยชีวต
เด็กทีเสี ่
ิ จากการแท ้ง เมือครบอายุ ่ อน
ครรภ ์สีเดื
้ อ่ อาบน้าศพ และละหมาดศพให ้
จะต ้องตังชื

71
‫‪การละหมาดศพ‬‬
‫่‪ตามสุนนะฮฺน้ันให ้อิหม่ามยืนตรงทีส‬‬ ‫‪่ วนอกของศพผูช‬‬ ‫‪้ าย‬‬
‫‪และตรงส่วนกลางของศพหญิง และกล่าวคาตักบีรส‬‬ ‫ั้‪ี่ ง‬‬
‫‪ฺ คร‬‬
‫้‬
‫ั‪โดยยกมือทังสองในการต‬‬ ‫‪กบีรท‬‬ ‫ั้‪ฺ ุกครง‬‬
‫‪ตักบีรค‬‬ ‫ั้‬
‫‪ฺ รงแรกให‬‬ ‫‪้อ่านอะอูซบ‬‬‫‪ุ ล‬‬
‫ฺ‪ิ ลาฮฺ อ่านบิสมิลลาฮ‬‬
‫์ ‪และสูเราะฮฺอลั ฟาติหะฮฺ (อ่านเบา) โดยไม่ต ้องอ่านดุอาอ ์อิสติฟตาห‬‬
‫‪แล ้วตักบีรค‬‬ ‫‪้ั สอง‬‬
‫ี‪ฺ รงท‬‬ ‫่‬ ‫ี‪และอ่าน เศาะละวาตต่อท่านนบ‬‬
‫‪ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ตักบีรค‬‬ ‫‪้ั สาม‬‬
‫ี‪ฺ รงท‬‬ ‫่‬ ‫์ ‪และอ่านดุอาอ‬‬
‫وكبينا‪ ،‬وذكرنا وأنثانا‪،‬‬
‫وصغينا ر‬
‫ر‬ ‫لحينا ّ‬
‫وميتنا‪ ،‬وشاهدنا وغائبنا‪،‬‬ ‫اللهم اغفر ّ‬
‫شء قدير‪ ،‬اللهم من أحييته منا‬ ‫إنك تعلم منقلبنا ومثوانا‪ ،‬وأنت عىل كل ي‬
‫فأحيه عىل اإلسالم والسنة‪ ،‬ومن توفيته منا فتوفه عليهما‪ ،‬اللهم اغفر له‬
‫وارحمه‪ ،‬وعافه واعف عنه‪ ،‬وأكرم نزله وأوسع مدخله‪ ،‬واغسله بالماء والثلج‬
‫ّ‬ ‫َر ر‬
‫واليد‪ ،‬ونقه من الذنوب والخطايا كما ينق الثوب األبيض من الدنس‪،‬‬
‫خيا من زوجه‪ ،‬وأدخله الجنة‪ ،‬وأعذه من‬ ‫خيا من داره‪ ،‬وزوجا ر‬‫وأبدله دارا ر‬
‫ّ‬
‫القي وعذاب النار‪ ،‬وأفسح له يف َقيه ونور له فيه‪.‬‬
‫‪.‬عذاب َ‬
‫‪หากเป็ นศพของเด็กให ้กล่าวดุอาอ ์หลังจากประโยค‬‬
‫‪มันตะวัฟฟัยตะฮุมน‬‬
‫‪ิ นา ฟะตะวัฟฟะฮุอะลัยฮิมา ว่า‬‬
‫موازينهما به ثقل اللهم ‪،‬مجابا وشفيعا وفرطا ‪،‬لوالديه ذخرا اجعله اللهم‬
‫‪،‬إبراهيم كفالة في واجعله ‪،‬المؤمنين سلف بصالح وألحقه أجورهما به وأعظم‬
‫الجحيم عذاب برحمتك وقه‬
‫‪จากนั้นตักบีรค‬‬ ‫ี‪้ั ส‬‬
‫ี‪ฺ รงท‬‬ ‫ุ‪่ และหย‬‬
‫่‬ ‫‪่ นึ่ ง‬‬
‫‪ดครูห‬‬
‫ี‪จากนั้นก็ให ้สลามเพียงครงเด‬‬
‫‪้ั ยวทางด ้านขวา‬‬

‫‪72‬‬
ความประเสริฐของการละหมาดศพ
ี่
ผูท้ ละหมาดศพจะได ้ผลบุญ หนึ่ งกีรอฏ
(กีรอฏหนึ่ งเท่ากับภูเขาอุหุด)
และหากเขาตามไปส่งจนกระทั่งฝังศพ เขาจะได ้ผลบุญสองกีรอฏ

ส่งเสริมให ้ผูช ่
้ ายสีคนแบกศพ ่
โดยจับคนละมุมของเตียงทีวางศพ
และควรรีบนาศพไปฝัง
่ นเท ้าให ้นาหน้าศพส่วนคนทีขั
คนทีเดิ ่ บขีพาหนะให
่ ้ตามหลัง
่ ต
การฝังและสิงที ่ ้องห ้ามปฏิบต
ั ใิ นสุสาน
ต้องขุดหลุมให ้ลึกและให ้ขุดลูกหลุม (โพรง)

เพือวางศพด ่ นไปทางกิบลัต ซึงดี
้านทีหั ่ กว่าขุดตรงกลางหลุม
ี่ าศพลงหลุมให ้กล่าวว่า
และผูท้ น
ّ
"‫" بسم الل وعىل ملة رسول هللا‬

แล ้ววางศพในลูกหลุมตะแคงขวาหันหน้าไปทางกิบลัต
จากนั้นให ้วางก ้อนดิน (อิฐ หิน)

แล ้วกลบดินและยกหลุมฝังศพให ้สูงกว่าพืนประมาณหนึ ่ งคืบแล ้วรด
น้า

ไม่อนุ ญาตให ้ปลูกสร ้างอาคาร ประดับ เดินเหยียบย่า ละหมาด


สร ้างมัสญิด บูชา ประดับไฟ โปรยดอกไม้
และเดินวนรอบเพือท่ าพิธก ี รรม

73

ส่งเสริมให ้ทาอาหารเลียงครอบคร ่ าร ังเกียจ
ัวของผูต้ ายและเป็ นทีน่
้ อ้ น
หากครอบคร ัวของผูต้ ายทาอาหารเลียงผู ื่

ี่ ยมสุ
ผูท้ เยี ่ สานควรกล่าวว่า ‫شاء إن وإنا مؤمنين قوم دار عليكم السالم‬
‫ّللا‬
‫الحقون بكم ه‬، ‫ّللا يرحم‬ ‫والمستأخرين منكم المستقدمين ه‬، ‫ّللا نسأل‬‫ولكم لنا ه‬
‫العافية‬، ‫أجرهم تحرمنا ال اللهم‬، ‫بعدهم تفتنا وال‬، ‫ولهم لنا واغفر‬.

ส่งเสริมให ้ปลอบโยนญาติผต ู ้ ายก่อนและหลังจากการฝังสามวันส



ามคืนนอกจากผูท้ ไม่
ี ได ้อยู่รว่ มขณะจัดการศพ

ี่
ผูท้ ประสบความเดื อดร ้อน หรือมีทุกข ์ ควรกล่าวว่า ‫إليه وإنا هلل إنا‬
‫راجعون‬، ‫مصيبتي في أجرني اللهم‬، ‫منها خيرا لي واخلف‬
อนุ ญาตให ้ร ้องไห ้เงียบๆ เนื่ องจากอาลัยผูต้ าย และห ้ามฉี กเสือผ้
้ า
ตบแก ้ม พรรณนา โหยหวน และอืนๆ ่

การจ่ายซะกาต

บทบัญญัตเิ กียวกั
บซะกาต

ซะกาตตุลฟิ ฏรฺเป็ นองค ์ประกอบหรือโครงสร ้างหลักข ้อทีสามของ
อิสลาม

การจ่ายซะกาต
เหตุผลของการบัญญัตซ
ิ ะกาต

เหตุผลบางประการของการบัญญัตซ
ิ ะกาต

74
ชาระจิตใจให ้สะอาดจากความต่าช ้าของความตระหนี่ ความตะกล
ะและความละโมบ

เอาใจใส่คนยากจนแก ้ปัญหาความเดือดร ้อนของคนขัดสนและช่


วยเหลือผูด้ ้อยโอกาส

พิทก ่ าให ้การใช ้ชีวต


ั ษ ์ร ักษาประโยชน์สว่ นรวมซึงท ิ มีความสุข

ควบคุมมิให ้ทร ัพย ์สินกระจุกอยู่เฉพาะคนทีร่ ารวยและพ่


่ อค ้าหรือห

มุนเวียนอยู่ระหว่างคนรารวย

นิ ยามซะกาต
่ ้องจ่ายแก่ผมี
คือปริมาณของทร ัพย ์สินทีต ู ้ สท ์ อครบพิ
ิ ธิเมื ่ กดั โดยมี

เงือนไขต่ ่ กบัญญัตไิ ว ้
างๆตามทีถู

เป็ นการชาระและขัดเกลาจิตใจให ้สะอาด อัลลอฮฺได้ตรัสไว ้ว่า


َ َ َ َّ َ َٗ َ ۡ
‫﴿خذ م ِۡن أ ۡم َوَٰل ِ ِه ۡم َص َدقة ت َط ِهره ۡم َوت َزك ِي ِهم ب ِ َها َو َص ِل َعل ۡي ِه ۡم إِن َصل َٰوتك‬
]103 :‫﴾ [التوبة‬... ‫سكن لهم‬
ۡ َّ َ َ

ั มัดเจ ้าจงเอาส่วนหนึ่ งจากทร ัพย ์สินของพวกเขาเป็ นทาน


“โอ ้มุหม
่ ้าจะทาให ้พวกเขาบริสุทธิจากมลทิ
เพือเจ ์ ่ มพู
นบาปต่างๆและเพือเพิ ่
นคุณงามความดีแก่พวกเขาด ้วยทานนั้น” (อัต-เตาบะฮ ์ 103)

75
สถานะของซะกาตในอิสลาม
ซะกาตเป็ นองค ์ประกอบหลัก(รุกน
่ )
่ กระบุพร ้อมกับการละหมาดในหลายๆโองการ
ของอิสลามซึงถู

บทบัญญัตเิ กียวกั
บซะกาต
ซะกาตนั้นเป็ นภาคบังคับเหนื อมุสลิมผูค้ รอบครองทร ัพย ์สินทีครบ ่
พิกด ่
ั โดยมีเงือนไขต่ างๆ
่ ลลอฮฺได ้บัญญัตไิ ว ้ในคัมภีร ์ของพระองค ์และท่านเราะสูล
ซึงอั
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม
่ ้ปฏิบต
ได ้สังให ั ไิ ม่ว่าผูน้ ้นจะเป็
ั นผูเ้ ยาว ์หรือผูใหญ่
้ ผช
ู ้ ายหรือผูห้ ญิง
สุขภาพดีพก ิ ารหรือวิกลจริต อัลลอฮฺได้ตรัสไว ้ว่า
َ َ ۡ َ َٗ َ َ ۡ ََۡ ۡ ۡ
]103 :‫﴾ [التوبة‬....‫﴿خذ مِن أموَٰل ِ ِهم صدقة تط ِهرهم وتزك ِي ِهم‬

ั มัดเจ ้าจงเอาส่วนหนึ่ งจากทร ัพย ์สินของพวกเขาเป็ นทาน


“โอ ้มุหม
่ ้าจะทาให ้พวกเขาบริสุทธิจากมลทิ
เพือเจ ์ ่ มพู
นบาปต่างๆและเพือเพิ ่
นคุณงามความดีแก่พวกเขาด ้วยทานนั้น” (อัต-เตาบะฮฺ 103)
และอัลลอฮได ้ตรัสไว ้ว่า
َ َ ۡ َ ۡ َ ٓ َّ َ ۡ ۡ َ َ َ َ َ َ َ َ َ َّ َ ُّ َ َ
‫ت ما كسبتم ومِما أخرجنا لكم‬ ِ ‫يأيها ٱلذِين ءامن ٓوا أنفِقوا مِن طيِب‬
َٰ َٰٓ ﴿
َۡ
]267 :‫﴾ [البقرة‬... ‫ۡرض‬ ِ ‫م َِن ٱلأ‬

76

“โอ ้บรรดาผูศ้ ร ัทธาทังหลาย จงบริจาคส่วนหนึ่ งจากบรรดาสิงดี
่ ๆ
่ พวกเจ
ของสิงที ่ ้าได ้แสวงหาไว ้
่ ่
และจากสิงทีเราได ้ให ้ออกมาจากดินสาหร ับพวกเจ ้า” (อัล-
บะเกาะเราะฮฺ 267)
َ َ َّ َ َ َ َ َّ ََ
َٰ َٰ
]20 :‫﴾ [المزمل‬... ‫وأقِيموا ٱلصلوة وءاتوا ٱلزكوة‬....﴿

“และพวกเจ ้าจงดารงละหมาดและจงจ่ายซะกาต” (อัล-มุซซัมมิล


20)

และท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได ้กล่าวว่า

“อิสลามถูกวางอยูบ ่ นโครงสร ้าง 5 ประการ หนึ่ ง


การปฏิญาณตนว่า
ไม่มพ ่ กเคารพภักดีโดยแท ้จริงนอกจากอัลลอฮฺเท่านั้น
ี ระเจ ้าทีถู
และมุหม ่
ั มัดเป็ นศาสนทูตของอัลลอฮฺ สอง ดารงไว ้ซึงการละหมาด
สาม จ่ายซะกาต สี่ การทาหัจญ ์ ณ บัยตุ ้ลลอฮฺ และห ้า
การถือศิลอดในเดือนรอมฎอน” (บันทึกโดยอัล-บุคอรีย ์
และมุสลิม)
่ อ้ งจ่ายซะกาต
ทรัพย ์สินทีต
่ ้องจ่ายซะกาตมี4ประเภทคือ
ทรัพย ์สินทีต

เงินตรา ปศุสต ่
ั ว ์ พืชผลทีงอกเงยจากดิ

่ าการค ้าขาย
และสินค ้าทีท

77
เงินตราคือ ทองคา เงินและธนบัตรต่างๆ

ทองคาเมือครบพิ ั น้าหนัก 20 มิษกอล (ประมาณ 5.58 บาท)
กด

อัตราการจ่าย 2.5% โลหะเงินเมือครบพิ กดั 200 ดิรฮัม
อัตราการจ่าย 2.5% เช่นเดียวกับทองคา

ธนบัตรตระกูลต่างๆ ณ
ปัจจุบน ่ ราคาเทียบเท่าพิกด
ั เมือมี ั ทองคาหรือโลหะเงินให ้จ่ายในอัตร

า 2.5% เมือครบรอบปี

ปศุสต
ั ว ์คือ อูฐ วัว แพะหรือแกะ
วาญิบต ้องจ่ายซะกาตปศุสต ่ อยให ้เล็มหญ้าตามท ้องทุ่งหรือ
ั ว ์ทีปล่
้ หรือส่วนมากของปี
ทะเลทรายเป็ นเวลาทังปี

เมือครบพิ กดั และครบรอบปี โดยทีเลี ่ ยงไว
้ ่ ดนมและขยายพันธุ ์ต
้เพือรี
ามพิกดั ดังนี ้

พิกด ั ของแพะและแกะ เมือครบ่ 40-120 ตัว


ให ้จ่ายซะกาตเป็ นแกะหนึ่ งตัว เมือครบ ่ 121-200 ตัว

ให ้จ่ายซะกาตเป็ นแกะสองตัว เมือครบ 201
จ่ายซะกาตเป็ นแกะสามตัว
จากนั้นในทุกหนึ่ งร ้อยตัวให ้จ่ายเป็ นแกะหนึ่ งตัว พิกด ั ของวัว วัว
30-39 ตัวให ้จ่ายซะกาตเป็ นตะบีอห ่
ฺ รือตะบีอะฮ ์หนึ งตัว
่ อายุครบหนึ่ งปี ) วัว 40-59 ตัว
(วัวตัวผูห้ รือตัวเมียทีมี
ให ้จ่ายซะกาตเป็ นมุสน ิ นะฮ ์หนึ่ งตัว (วัวตัวเมียทีอายุ
่ ครบสองปี ) วัว
60 ตัว ให ้จ่ายซะกาตเป็ นวัวทีมี ่ อายุครบหนึ่ งปี สองตัว
จากนั้นในทุกสามสิบตัวให ้จ่ายวัวทีมี ่ อายุครบอายุหนึ่ งปี หนึ่ งตัว

78
และในทุกสีสิ ่ บตัวให ้จ่ายวัวตัวเมียทีมี ่ อายุครบสองปี หนึ่ งตัว
พิกด ั ของอูฐ อูฐ 5-9 ตัว ให ้จ่ายซะกาตเป็ นแกะ 1 ตัว อูฐ 10-14
ตัว ให ้จ่ายซะกาตเป็ นแกะ 2 ตัว อูฐ 15-19 ตัว
ให ้จ่ายซะกาตเป็ นแกะ 3 ตัว อูฐ 20-24 ตัว ให ้จ่ายซะกาตเป็ นแกะ
4 ตัว อูฐ 25-35 ตัว ให ้จ่ายซะกาตเป็ น บินตุมะคอฎ 1 ตัว
่ อายุครบหนึ่ งปี ) อูฐ 36-45 ตัว
(อูฐตัวเมียทีมี
ให ้จ่ายซะกาตเป็ นบินตุละบูน 1 ตัว (อูฐตัวเมียทีมี ่ อายุครบสองปี )
อูฐ 46-60 ตัว ให ้จ่ายซะกาตเป็ นหิกเกาะฮ ์ 1 ตัว
(อูฐตัวเมียทีมี่ อายุครบสามปี ) อูฐ 61-75 ตัว ให ้จ่ายซะกาตเป็ น
ญะซะอะฮ ์ 1 ตัว(อูฐตัวเมียทีอายุ ่ ครบสีปี่ ) อูฐ 76-90 ตัว
ให ้จ่ายซะกาตเป็ นอูฐตัวเมียทีมี ่ อายุครบสองปี 2 ตัว อูฐ 91-120
ตัว ให ้จ่ายซะกาตเป็ น อูฐตัวเมียทีมี ่ อายุครบสามปี 2 ตัว อูฐ 121
ตัว ให ้จ่ายซะกาตเป็ นอูฐตัวเมียทีอายุ ่ ครบสองปี 3 ตัว
จากนั้นในทุกสีสิ ่ บตัวให ้จ่ายซะกาตเป็ นอูฐตัวเมียทีมี่ อายุครบสองปี
1 ตัว
และในทุกห ้าสิบตัวให ้จ่ายซะกาตเป็ นอูฐตัวเมียทีมี ่ อายุครบสามปี 1
ตัว
ถ ้าหากปศุสต ่
ั ว ์มีไว ้เพือการค ่
้าขายและเพือหาก ่
าไรเมือครบรอบปี ใ
ห ้ประเมินราคาแล ้วจ่ายซะกาตในอัตรา 2.5%

และถ ้ามิใช่เพือการค ้าขายก็ไม่ต ้องจ่ายซะกาต

• ต ้องจ่ายซะกาตเป็ นตัวเมียเท่านั้น
ส่วนการจ่ายตัวผูน้ ้ันใช ้ไม่ได ้นอกจากซะกาตวัวและอูฐทีเป็
่ นตัวผูส้
องปี สามปี หรือสีปี่ ซึงใช
่ ้จ่ายทดแทนอูฐตัวเมีย
ในกรณี ทมี ี่ เฉพาะตัวผูเ้ ท่านั้น

79
่ งอกเงยจากดิ
สิงที ่ น (พืชผล)
ต ้องจ่ายซะกาตพืชผลทุกชนิ ดทีเป็่ นเม็ดและผลไม้ลูกเล็กๆซึงใช
่ ้ก

ารวัดตวงและเก็บไว ้ได ้นานเช่นอินทผลัมและองุ ่นแห ้งเมือครบพิ
กดั
300 ทะนานนะบะวีย ์ เท่ากับ 624 กิโลกรัมโดยประมาณ

พืชผลในปี เดียวกันถ ้าเป็ นชนิ ดเดียวกันจะถูกเอามารวมกันเพือใ ่


ห ้ครบพิกดั เช่นอินทผลัมต่างพันธุ ์ชนิ ดต่างๆ
สาหร ับพืชผลทีรดน ่ ้าโดยไม่มค ี ่าใช ้จ่ายเช่นใช ้น้าฝนให ้จ่ายซะกาต
10% พืชผลทีมี ่ ค่าใช ้จ่ายในการให ้น้าเช่นใช ้น้าจากบ่อจ่ายซะกาต
5%

พืชทีรดน ้าโดยไม่มค ้ั
ี ่าใช ้จ่ายเป็ นบ ้างครงและมี ค่าใช ้จ่ายเป็ นบางค
้ั ายซะกาต 7.5%
รงจ่
่ ดเริมแข็
จาเป็ นต ้องจ่ายซะกาตเมือเม็ ่ ่ ก
งและผลไม้เริมสุ
( เช่นมีสเี หลืองหรือแดง)

ผักและผลไม้อืนๆ่
่ าการค ้าขายหากเป็ นเช่นนั้น
ไม่ต ้องจ่ายซะกาตนอกจากมีไว ้เพือท

ต ้องจ่าย 2.5% จากมูลค่าเมือครบพิ กด
ั และครบรอบปี
่ ได
สิงที ่ ้มาจากทะเลเช่นไข่มุกหินปะการ ังและปลาไม่ต ้องจ่ายซะกา

ต แต่หากมีไว ้เพือการค ้าขายก็ให ้จ่ายซะกาตการค ้า 2.5%

จากมูลค่าเมือครบรอบปี และครบพิกด ั

อัรริกาซคือสมบัตท ี่
ิ เจอถู กฝังอยู่ในดินต ้องจ่ายซะกาตหนึ่ งส่วนห ้
าหรือ 20%

80
มีค่ามากหรือน้อยก็ตามและต้องจ่ายเหมือนกับทร ัพย ์ทียึ ่ ดได ้จากส
งครามโดยไม่ต ้องใช ้กาลัง
(คือหนึ่ งส่วนห ้าจ่ายเพือประโยชน์
่ ส่วนรวม
เครือญาติของท่านเราะสูล เด็กกาพร ้า คนขัดสน

และคนเดินทางทีขาดเสบี ยง) และอีกสีส่่ วนก็เป็ นสิทธิของผู
์ ค้ ้นพบ

สินทรัพย ์ในการค ้าขาย


่ มี
คือสิงที ่ ไว ้เพือการค
่ ่ ่อาศัย
้าขายและหากาไรไดแ้ ก่อาคารทีอยู
สัตว ์ อาหาร เครืองดื ่ ม
่ เครืองมื
่ อต่างๆ และอืนๆ


สินทร ัพย ์เพือการค ่
้าต ้องจ่ายซะกาตเมือครบพิ กดั และครบรอบปี ใ
นอัตรา 2.5%

จากมูลค่าทังหมดและอนุ ญาตให ้ใช ้ตัวสินทร ัพย ์นั้นจ่ายเป็ นซะกาต
ได ้ ซะกาตค ้าขายนั้นควรแจกจ่ายแก่คนขัดสน

หากสินทรัพย ์มีไวเ้ พือครอบครองมิ ่ าการค ้าข
ได ้มีเป้ าหมายเพือท
ายก็ไม่ต ้องจ่ายซะกาต

ผลผลิตจากปศุสต ั ว ์และกาไรจากการค ้าขายนั้นให ้นับรอบปี พร ้อ


่ นต ้นทุนเมือต
มกับส่วนทีเป็ ่ ้นทุนมีปริมาณครบพิกดั

เงือนไขที
ต ่ ้องจ่ายซะกาต
่ ้องจ่ายซะกาตสาหร ับทุกคนที่ 1-เป็ นอิสระ 2-
จาเป็ นทีต
เป็ นมุสลิม 3-ครบพิกด ั 4-ครอบครองพิกด ั อย่างสมบูรณ์ 5-
่ ่
ครบรอบปี นอกจากริกาซและสิงทีงอกเงยจากดิน
คือริกาซจะจ่ายเมือค ่ ้นพบและพืชผลจะจ่ายเมือถึ
่ งฤดูกาลเก็บเกียว

81
การจ่ายซะกาต
เวลาจ่ายซะกาต
จาเป็ นต้องจ่ายซะกาตโดยเร็วเช่นเดียวกับการบนบานและกัฟฟาเ
่ โทษ)
ราะฮ ์ (สิงไถ่

เพราะสานวนคาสังโดยทั ่วไปแล ้วคือต ้องทาทันทีโดยเร็วเช่น
َ َّ َ َ َ
]277 :‫﴾ [البقرة‬ ...‫ٱلزك َٰو َة‬ ‫ وءاتوا‬....﴿

“และพวกเจ ้าจงจ่ายซะกาต” (อัล-บะเกาะเราะฮ ์ 277)


่ บไว ้จ่ายในยามทีมี
และอนุ โลมให ้ล่าช ้าได ้เพือเก็ ่ เหตุจาเป็ นหรือเพื่

อให ้แก่ญาติใกล ้ชิดหรือแก่เพือนบ ้าน

บทบัญญัตเิ กียวกั
บการไม่จา่ ยซะกาต
บุคคลใดปฏิเสธบัญญัตซ ้
ิ ะกาตโดยมีความรู ้และตังใจเขาย่ อมเป็ น
ผูป้ ฏิเสธศร ัทธาแม้ว่าเขาจ่ายซะกาตก็ตามเนื่ องจากเขาได ้ปฏิเสธอั
ลลอฮฺ เราะสูลและปฏิเสธมติเอกฉันท ์ของปวงปราชญ ์
เขาต้องกลับตัวสานึ กผิด
หากไม่สานึ กผิดเขาต้องโทษประหารชีวต ิ
และบุคคลใดไม่จา่ ยซะกาตเพราะความตระหนี่ และเลินเล่อต ้องเก็บ

ซะกาตจากเขาและต ้องสังสอนและตั กเตือนเนื่ องจากเขากระทาสิงที่ ่
ต้องห ้าม

ผูป้ กครองโดยชอบธรรมต้องจ่ายซะกาตแทนคนบ ้าและเด็ก

82
ข้อควรปฏิบต
ั ข
ิ ณะจ่ายซะกาต

ควรจ่ายอย่างเปิ ดเผยเพือให ้พ้นจากข ้อกล่าวหา

ให ้แจกจ่ายด ้วยตัวเองเพือให ้ถึงผูม้ ส
ี ท ์ างแท ้จริง
ิ ธิอย่

กล่าวดุอาอ ์ขณะจ่ายซะกาต
้ นกาไรและความสบายใจอย่าให ้เป็ นค่า
“โอ ้อัลลอฮฺโปรดให ้ทานนี เป็
ปรับ”

ผูร้ ับควรกล่าวว่า
“ขออัลลอฮฺตอบแทนผลบุญแก่ท่านในสิงที ่ ท่
่ านให ้
่ ท่
ขออัลลอฮฺให ้ท่านมีความจาเริญในสิงที ่ านเก็บไว ้และขอต่อพระอง
ค ์ให ้เป็ นการขัดเกลาแก่ท่าน”

ี่ ดสนทีไม่
ควรจ่ายซะกาตแก่เครือญาติทขั ่ ได ้อยู่ในการอุปการะตา
มหน้าที่

ผูม้ ส
ี ท
ิ ธิรบั ซะกาต
ผูม้ ส
ี ท
ิ ธิร ับซะกาตมี 8 จาพวกโดยถูกกล่าวไว ้ในอัลกุรอาน
อัลลอฮได ้ตรัสว่า
َ َّ َ ۡ َ َ َٰ َ ۡ َ ۡ
َٰ َ ‫ٱلص َد َقَٰت ل ِلۡف َق َرا ٓ ِء َوٱل َم‬
َّ ‫﴿۞ إ َّن َما‬
‫ِين َعل ۡي َها َوٱلمؤلفةِ قلوبه ۡم‬ ‫ِين وٱلع ِمل‬
ِ ‫سك‬ ِ
َّ َّ ٗ َ َ َّ ۡ َ َّ َ َ َ َۡ َ َ
‫يل ف ِريضة م َِن ٱّللِ َوٱّلل‬
ِ ِ ‫يل ٱّللِ وٱب ِن ٱلسب‬ ِ ِ ‫اب وٱلغ َٰ ِرمِين وفِى سب‬ ِ ‫ٱلرق‬ ِ ‫وفِى‬
َ

]60 :‫﴾ [التوبة‬٦٠‫عل ِيم حكِيم‬


َ َ

83

“แท ้จริงทานทังหลาย (ซะกาต)
นั้นเป็ นสิทธิสาหร ับบรรดาผูท้ ยากจน
ี่ บรรดาผูขั
้ ดสน

บรรดาเจ ้าหน้าทีจัดเก็บ บรรดาผูท้ ต ่
ี ้องโน้มน้าวจิตใจของพวกเขา
ใช ้ในการไถ่ทาส บรรดาผูม้ ห ้ น
ี นี สิ
ใช ้ในหนทางของอัลลอฮฺและผูเ้ ดินทางทีขาดเสบี่ ยงนั่นเป็ นบัญญัติ
จากอัลลอฮฺ และอัลลอฮฺทรงรอบรู ้ทรงปรีชาญาณ” (อัต-เตาบะฮฺ
60)

บุคคลเหล่านั้นคือ

บรรดาผูท้ ยากจน ี่
(ฟะกีร)ฺ คือผูท้ ไม่ ี่ มรี ายได ้แม้สก ั เล็กน้อยของความจาเป็ น
บรรดาผูท้ ขั ี่ ดสน
(มิสกีน)คือผูท้ มี ี่ รายได ้ครึงของความจ
่ าเป็ นหรือมากกว่าครึง่
เจ ้าหน้าทีคื ่ อผูจั้ ดเก็บผูดู้ แลหากไม่มค ี ่าตอบแทนทีเป็ ่ นเงินเดือน
ผูท้ ตี่ ้องโน้มน้าวจิตใจคือหัวหน้าหรือแกนนากลุ่มซึงคาดหวั ่ งว่าเขา
จะร ับอิสลามหรือยับยังความชั ้ ่ ้ายของเขาหรือการศร ัทธาของเขา
วร
จะมั่นคงหรือคนอืนจะร ่ ับอิสลามเพราะเขา
การไถ่ทาสคือทาสทีท ่ าสัญญากับนายว่าจะไถ่ตวั ให ้เป็ นอิสระ
ผูม้ ห
ี นี สิ้ นมี 2 ประเภท
มีหนี สิ ้ นเพราะไกล่เกลียข ่ ้อพิพาทระหว่างคู่กรณี
มีหนี สิ ้ นเพราะตัวเองโดยมีภาระหนี สิ ้ นมากและไม่มท ่
ี ร ัพย ์สินทีจะใช ้
หนี ้ ในหนทางของอัลลอฮฺคอ ื นักรบผูเ้ สียสละในหนทางของอัลลอฮฺ
การเรียกร ้องเชิญชวนสู่ศาสนาของอัลลอฮฺและสิงที ่ ช่ ่ วยหรือส่งเสริ

84
มในการเผยแพร่ศาสนา

คนเดินทางคือคนเดินทางทีขาดปั ่
จจัยทีจะกลั
บสู่ภูมล
ิ าเนาของเขา

ซะกาตตุลฟิ ฏรฺ
เหตุผลของการบทบัญญัตซ
ิ ะกาตตุลฟิ ฏรฺ
ส่วนหนึ่ งจากเหตุผลคือการขัดเกลาจิตใจผูที ่ อศีลอดจากสิงไร
้ ถื ่ ้ส

าระและการพูดจาหยาบคายซึงอาจจะเกิ ้
ดขึนและยั งเป็ นอาหารแก่ค

นขัดสนและยากจนโดยทีพวกเขาไม่ต ้องขอผูอ้ นในวั
ื ่ นอีด
่ นซะกาตุลฟิ ฏรฺ
ปริมาณและชนิ ดอาหารทีเป็
1 ทะนาน คือเท่ากับ 4 ลิตร หรือเท่ากับ 3 กิโลกรัมโดยประมาณ
โดยใช ้อาหารหลักของผูค้ นในเมืองนั้นๆไม่ว่าจะเป็ นข ้าวบาเล่ย ์
อินทผลัม ข ้าว องุ ่นแห ้งหรือเนยแห ้ง
่ ้องจ่าย
เวลาทีต
่ ้าสูค
จาเป็ นต ้องจ่ายเมือเข ่ น
ื ของวันอีดล
ิ ฟิ ฏรฺ
เวลาจ่ายทีอนุ ญาตคือหนึ งวันหรือสองวันก่อนวันอีดเนื่ องจากอับดุ
่ ่
ั เิ ช่นนั้น
ลลอฮุ บิน อุมรั ไฺ ด ้ปฏิบต

เวลาทีประเสริ ่
ฐคือเริมจากรุ ง่ อรุณของวันอีดจนถึงเวลาใกล ้ละหม
าดอีดเนื่ องจากท่านเราะสูลได ้สังให
่ ้จ่ายก่อนทีผู
่ คนจะออกไปละหม

าด

85
่ี ้องจ่ายซะกาตตุลฟิ ฏรฺ
ผูท้ ต
่ นมุสลิมเป็ นอิสระหรือทาส ชายหรือหญิง
คือทุกคนทีเป็
่ึ เหลือเพียงพอสาหร ับเป็ นอาหารของเขาในวันแ
เด็กหรือผูใ้ หญ่ซงมี
ละคืนของวันอีด และส่งเสริมให ้จ่ายแทนทารกทีอยู่ ่ในครรภ ์ด ้วย

ผูม้ ส
ี ท
ิ ธิร ับซะกาตุลฟิ ฏรฺ
คือผูม้ ส ิ ธิร์ ับซะกาตทัง้ 8
ี ท
จาพวกเพียงแต่คนขัดสนและยากจนสมควรยิงกว่ ่ าจาพวกอืนๆ ่
เพราะท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าว่า
้ นอีด)โดยทีไม่
“จงให ้พวกเขามีความเพียงพอในวันนี (วั ่ ต ้องขอจาก
ผูใ้ ด”

การถือศีลอด

บทบัญญัตข
ิ องการถือศีลอด

การถือศีลอดเป็ นองค ์ประกอบหรือโครงสร ้างหลักข ้อที่



สีของอิ
สลาม ถือศีลอดเดือนเราะมะฎอน
นิ ยามและประวัตก
ิ ารบัญญัตก
ิ ารถือศีลอด
นิ ยามการถือศีลอด
ทางภาษา คือการระงับ และทางวิชาการ

คือการตังเจตนาเพื ่ บาดะฮฺต่ออัลลอฮฺโดยการละเว ้นจากการกิน
ออิ

86
่ มีเพศสัมพันธ ์ และทุกสิงที
ดืม ่ ท ่ าให ้การถือศีลอดเสีย
้ แสงอรุณขึนจนกระทั
นับตังแต่ ้ ่งดวงอาทิตย ์ลับขอบฟ้ า

ประวัตก
ิ ารบัญญัตก
ิ ารถือศีลอด
อัลลอฮฺได ้บัญญัตก ิ ารถือศีลอดให ้กับประชาชาติของท่านนบีมห
ุ ั

มมัดดังทีพระองค ่ นหน้านี ้
์ได ้บัญญัตแิ ก่ประชาชาติกอ
่ ลลอฮฺได ้ตร ัสว่า
ดังทีอั
َ َ
َ ‫ب عَلَى ٱلَّذ‬
‫ِين مِن‬ َ ِ ‫ٱلص َيام َك َما كت‬ ََ َ
ِ ‫ب عل ۡيكم‬ َ ‫يأ ُّي َها ٱلَّذ‬
ِ ‫ِين َء َامنوا كت‬ َٰٓ ﴿
َ َّ َ ۡ َّ َ َ ۡ َۡ
]183 :‫﴾ [البقرة‬١٨٣‫قبل ِكم لعلكم تتقون‬

“โอ ้บรรดาผูศ้ รัทธา


การถือศีลอดได ้ถูกบัญญัตแิ ก่พวกเจ ้าดังทีได ่ ้ถูกบัญญัตแิ ก่ประชา
ชาติกอ่ นหน้านี ้ ทังนี
้ เพื
้ อพวกเจ
่ ้าจะได ้ยาเกรง” (อัล-บะเกาะเราะฮฺ
183)

การบัญญัตก ้
ิ ารถือศีลอดเกิดขึนในเดือนชะอฺบาน

ปี ทีสองหลั
งจากฮิจญ ์เราะฮฺของท่านนบี
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม

ประโยชน์ของการถือศีลอด
้ั
การถือศีลอดศีลอดมีประโยชน์ทงในด ้านจิตใจ สังคม
และสุขภาพ

87
ประโยชน์ในด้านจิตใจคือ
เป็ นการฝึ กให ้ผูถ้ อื ศีลอดคุ ้นชินกับความอดทนและยับยังชั้ งใจ

้ งเป็ นการเพิมความย
อีกทังยั ่ าเกรงในกับตัวของเขาด ้วย

ประโยชน์ในด้านสังคมคือ
เป็ นการฝึ กประชาชาติมส ุ ลิมให ้มีระบบระเบียบและร่วมเป็ นหนึ่ ง
ร ักความเสมอภาคและยุตธิ รรม มีความเมตตาและจริยธรรมทีดี ่
่ งหมดเป็
ซึงทั ้ นช่องทางป้ องกันสังคมจากความชัวต่ ่ าง ๆ ได ้

ส่วนประโยชน์ในด้านสุขภาพคือ
ิ่ น้
เป็ นการช่วยชะล ้างกระเพาะให ้มีประสิทธิภาพในการทางานดียงขึ

ชาระล ้างร่างกายจากสิงปฏิกูล และช่วยลดไขมันและพุง

การกาหนดเดือนเราะมะฎอน
การกาหนดเดือนเราะมะฎอนมีสองวิธ ี คือ 1.
นับเดือนชะอฺบานให ้ครบจานวนสามสิบวัน กล่าวคือ
หากเดือนชะอฺบานมีจานวนสามสิบวัน

วันทีสามสิ ่ ่ งของเดือนเราะมะฎอน
บเอ็ดก็คอื วันทีหนึ

2. การเห็นจันทร ์เสียว
่ การเห็นจันทร ์เสียวของเราะมะฎอนในคื
เมือมี ้ ่
นทีสามสิ บของเดือนช
่ ้องถือศีลอด ดังทีอั
ะอฺบานแล ้ว จาเป็ นทีต ่ ลลอฮฺได ้ตร ัสว่า

88
ۡ َ ۡ َ ۡ َّ َ َ ََ
]185 :‫﴾ [البقرة‬.... ‫ فمن ش ِهد مِنكم ٱلشه َر فليصمه‬...﴿

“ดังนั้น ผูใ้ ดในหมู่พวกเจ ้าเข ้าอยูใ่ นเดือนนั้นแล ้ว ก็จงถือศีลอด”


(อัล-บะเกาะเราะฮฺ 185) และท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม

ได ้กล่าวว่า “เมือพวกท่ านเห็นจันทร ์เสียว ้ (เราะมะฎอน)

ก็จงถือศีลอด และเมือพวกท่ านเห็นมันอีก (เดือนเชาวาล)
พวกท่านก็จงละศีลอด หากมีเมฆปกคลุม (จนไม่อาจเห็นมันได ้)
พวกท่านก็จงทาให ้เดือนนั้นมีจานวนสามสิบวันเต็ม”
่ การเห็นจันทร ์เสียวในประเทศหนึ
เมือมี ้ ่ง
จาเป็ นสาหร ับประชาชนในประเทศนั้นต ้องถือศีลอด กล่าวคือ
ในแต่ละพืนที ้ มี่ มฏ ้
ั ละอฺ (เวลาการขึนและตกของเดื อน) ต่างกัน
มัฏละอฺของทวีปเอเชียไม่ใช่มฏ ั ละอฺเดียวกันกับทวีปยุโรป
มัฏละอฺของทวีปแอฟริกาไม่ใช่มฏ ั ละอฺเดียวกันกับทวีฟอเมริกา
เป็ นต ้น ดังนั้น ในแต่ละพืนที ้ มี่ บทบัญญัตเิ ฉพาะสาหร ับพวกเขา
แต่ถ ้าหากมุสลิมทั่วโลกถือศีลอดพร ้อมเพรียงกันโดยยึดการดูจน ั ท

ร ์เสียวเพียงแห่งเดียวก็ถอ ่
ื ว่าเป็ นเรืองดี
และคือสัญลักษณ์ของความรวมใจเป็ นหนึ่ งและภราดรภาพ

สาหร ับการดูจน ้
ั ทร ์เสียวของเราะมะฎอน

พยานเพียงคนเดียวหรือสองคนก็เป็ นทีพอเพี ้ ้
ยงแล ้ว ทังนี
เพราะท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม
ได ้อนุ ญาตให ้มีพยานเพียงคนเดียวในการกาหนดเดือนเราะมะฎอน
ส่วนการกาหนดเดือนเชาวาลนั้นจาเป็ นต้องมีพยานสองคน
เพราะท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม

89

ไม่อนุ ญาตให ้ออกจากการถือศีลอดในเดือนเราะมะฎอนเพือจะเข ้าเ
ดือนเชาวาลนอกจากต้องมีพยานสองคน

วาญิบต ้องถือศีลอดในเดือนเราะมะฎอน
การถือศีลอดในเดือนเราะมะฎอนเป็ นวาญิบ
่ หลักฐานจากอัลกุรอาน หะดีษ และอิจญ ์มาอฺของประชาชาติ
ดังทีมี
และเป็ นหนึ่ งในหลักการของศาสนาอิสลาม อัลลอฮฺได ้ตร ัสไว ้ว่า
َٰ ‫اس َوبَي ِ َنَٰت م َِن ٱلۡه َد‬
‫ى‬ َّ ‫ِي أنز َل فِيهِ ٱلۡق ۡر َءان ه ٗدى ل‬
ِ ‫ِلن‬ ٓ ‫ان ٱلَّذ‬
َ َ َ َ ۡ َ
‫﴿شهر رمض‬
ِ
َۡ ۡ َ
]185 :‫﴾ [البقرة‬... ‫ان‬
ِ ‫وٱلفرق‬

“เดือนเราะมะฎอน
เป็ นเดือนทีอั ่ ลกุรอานได ้ถูกประทานลงมาในเดือนนั้น
่ นทางนาแก่มนุ ษยชาติ
เพือเป็
และหลักฐานอันชัดเจนเกียวกั ่ บข ้อแนะนานั้น

และเกียวกั ่ จ่ าแนกระหว่างความจริงกับความเท็จ ดังนั้น
บสิงที
ผูใ้ ดในหมูพ ่ วกเจ ้าอยูใ่ นเดือนนั้นแล ้ว ก็จงถือศีลอด” (อัล-
บะเกาะเราะฮฺ185) และท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม
ได ้กล่าวว่า “อิสลามถูกวางอยู่บนโครงสร ้าง 5 ประการ หนึ่ ง
การปฏิญาณตนว่า
ไม่มพ ่ กเคารพภักดีโดยแท ้จริงนอกจากอัลลอฮฺเท่านั้น
ี ระเจ ้าทีถู
และมุหม ่
ั มัดเป็ นศาสนทูตของอัลลอฮฺ สอง ดารงไว ้ซึงการละหมาด
สาม จ่ายซะกาต สี่ การทาหัจญ ์ ณ บัยตุ ้ลลอฮฺ และห ้า
การถือศิลอดในเดือนรอมฎอน”

90
องค ์ประกอบ (รุกน
่ ) ของการถือศีลอด

ตังเจตนาถื ่
อศีลอดเพือปฏิ บต
ั ต ่
ิ ามคาสังใช ้ของอัลลอฮฺและสร ้างค
วามใกล ้ชิดกับพระองค ์ ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม

กล่าวว่า “แท ้จริง การงานทังหลายนั ้นขึนอยู
้ ่กบั เจตนา”
่ ท
ละเว ้นจากสิงที ่ าให ้เสียการถือศีลอด เช่น การกิน ดืม

และมีเพศสัมพันธ ์

เวลา กล่าวคือ ถือศีลอดในช่วงเวลากลางวัน


้ แสงอรุณขึนกระทั
ตังแต่ ้ ่
งดวงอาทิตย ์ลับขอบฟ้ า

เงือนไขที ่
วาญิบต ้องถือศีลอด

เงือนไขที ่
วาญิ
บต ้องถือศีลอดมี 4 ประการ เป็ นมุสลิม
บรรลุนิตภ ิ าวะตามศาสนบัญญัติ มีสติสม ั ปชัญญะ
มีความสามารถทีจะถื ่ อศิลอด ส่วนสตรีน้ัน
การถือศีลอดของนางจะถือว่าใช ้ได ้โดยต้องไม่มรี อบเดือนและเลือด

นิ ฟาส เงือนไขที ่ อว่าการถือศีลอดใช ้ได ้ เป็ นมุสลิม
จะถื

ตังเจตนาในตอนกลางคื น มีสติสม
ั ปชัญญะ รู ้เดียงสา
ไม่มรี อบเดือน ไม่มเี ลือดนิ ฟาส
่ ควรปฏิ
สิงที ่ บตั ข
ิ ณะถือศีลอด
รีบเร่งในการละศีลอด
นั่นคือการละศีลอดโดยทันทีหลังจากดวงอาทิตย ์ลับขอบฟ้ า

91
ละศีลอดด้วยผลอินทผลัมสดหรือแห ้งหรือละด ้วยน้าเปล่า

ทีประเสริ ่ ดคือ การละศีลอดด ้วยผลอินทผลัมสด
ฐทีสุ
หลังจากนั้นคือผลอิทผลัมแห ้ง และหลังจากนั้นคือด ้วยน้าเปล่า
และส่งเสริมให ้ละโดยร ับประทานเป็ นจานวนคี่ คือ สาม ห ้า
หรือเจ็ดผล
่ านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม
กล่าวดุอาอ ์ละศีลอด ซึงท่
จะกล่าวขณะละศีลอดว่า

“ข ้าแด่อลั ลอฮฺ พวกเราได ้ถือศีลอดเพือพระองค ์
และเราก็ได ้ละศีลอดด ้วยริซกีของพระองค ์ ฉะนั้น
ได ้โปรดทรงตอบรับการถือศีลอดของพวกเรา แท ้จริง
พระองค ์ทรงเป็ นผูไ้ ด ้ยิน ผูท้ รงรอบรู ้”

รับประทานสะหูรฺ

คือการกินหรือดืมในช่ ่ อ
วงท ้ายของเวลากลางคืนโดยมีเจตนาเพือถื
ศีลอด

ฺ ระทั่งช่วงท ้ายของกลางคืน
ให ้ล่าช ้าในการร ับประทานสะหูรก
่ ารังเกียจในขณะถือศีลอด
การกระทาทีน่
่ อาจท
คือการกระทาสิงที ่ าให ้การถือศีลอดเสีย

ถึงแม้ว่าการกระทานันโดยตัวของมันเองไม่ได ้ทาให ้การถือศีลอดเสี
ย นั่นคือ

บ ้วนปากหรือสูดนาเข ้าจมูกอย่างแรงจนเกินไป

92

การจูบทีอาจส่ งผลให ้เกิดอารมณ์และเสียศีลอด
โดยการมีน้ามะซีย ์เคลือนออกหรื
่ ่ ้องจ่ายกัฟ
ออาจมีเพศสัมพันธ ์ทีต
ฟาเราะฮฺ

การเพ่งมองภรรยาด้วยอารมณ์ใคร่

คิดเรืองการมี
เพศสัมพันธ ์

จับมือหรือสัมผัสร่างกายของสตรี

ข ้อผ่อนปรนในการละศีลอด
่ รอบเดือนและนิ ฟาสจาเป็ นต้องละศีลอด
ผูห้ ญิงทีมี

ผูท้ จี่ าเป็ นต ้องบริโภคอาหารเพือช่


่ วยเหลือชีวต ่ เช่น
ิ คนอืน
คนจมน้า เป็ นต ้น
่ ญาตให ้ละหมาดย่อได ้ส่งเสริมให ้เขาละศีลอด
ผูเ้ ดินทางทีอนุ

ผูป้ ่ วยทีเกรงว่ าจะเกิดอันตราย

ี่ มออกเดิ
ผูท้ เริ ่ นทางในเวลากลางวันของเดือนเราะมะฎอน
ทางทีดี ่ แล ้วเขาไม่ควรละศีลอด
้ เพื
ทังนี ้ อเป็
่ นการเลียงจากพิ
่ สยั ของการคิลาฟ
้ั
สตรีตงครรภ ่
์หรือให ้นมบุตรทีเกรงว่ าหากถือศีลอดแล ้วจะเกิดอัน
ตรายต่อตัวนางและทารก
และหากเกรงว่าจะเกิดอันตรายเฉพาะกับทารก

93
ฺ องทารกจาเป็ นต ้องให ้อาหารแก่คนยากจนเท่ากับวันที่
ผูเ้ ป็ นวะลียข

ขาดศีลอด แต่ในทังสองกรณี นางจาเป็ นต ้องถือศีลอดชด
่ ท
สิงที ่ าใหก้ ารถือศีลอดเสีย
่ ท
สิงที ่ าให ้การถือศีลอดเสียมีดงั นี ้


เป็ นมุรตัด (สินสภาพการเป็ นมุสลิม)

เสียชีวต


ตังใจละศี
ลอด

ไม่แน่ ใจในการจะถือศีลอดต่อ

อาเจียนโดยเจตนา

ใช ้ยาสวนทวารและฉี ดยาบารุง

มีรอบเดือนหรือเลือดนิ ฟาส

กลืนเสมหะทีออกมาถึ
งปาก
้ ถ้ ูกกรอกและผูท้ าการกรอก
กรอกเลือด ทังผู

มีอสุจเิ คลือนออก ้
โดยเกิดจากการตังใจเพ่ งมอง

มีอสุจห ิ รือมะซีย ์ออก โดยเกิดจากการสัมผัส ช่วยตัวเอง


หรือเล ้าโลม

94
มีวต ั ถุตกถึงลาคอหรือซึมเข ้าถึงสมอง
ไม่ว่าจะเป็ นของเหลวหรือของแข็ง

หมายเหตุ
ี่
ผูท้ เจตนามี เพศสัมพันธ ์ในเดือนเราะมะฎอนไม่วา่ จะมีความสัมพัน
ธ ์กันทางด้านหน้าหรือด ้านหลัง
จาเป็ นต้องถือศีลอดชดพร ้อมกับจ่ายกัฟฟาเราะฮฺ
ี่ มเี จตนา (ลืม)
ส่วนผูท้ ไม่
ไม่ต ้องถือศีลอดชดและจ่ายกัฟฟาเราะฮฺแต่ประการใด

สตรีทถูี่ กบังคับให ้มีเพศสัมพันธ ์ในเดือนเราะมะฎอน


หรือไม่รู ้บทบัญญัติ หรือลืม การถือศีลอดของนางใช ้ได ้
ในกรณี ทถู ี่ กบังคับนางจาเป็ นต้องถือศีลอดชดอย่างเดียว
แต่ถ ้าหากนางเจตนายินยอมก็จาเป็ นต้องถือศีลอดชดพร ้อมกับจ่า
ยกัฟฟาเราะฮฺด ้วย

กัฟฟาเราะฮฺคอ ื การปล่อยทาสหนึ่ งคนให ้เป็ นอิสระ


หากไม่มค
ี วามสามารถ ให ้ถือศีลอดสองเดือนติดต่อกัน
หากไม่มคี วามสามารถ ให ้จ่ายอาหารแก่ยากจนจานวน 60 คน
และหากไม่มค ี วามสามารถอีก ก็ไม่ต ้องจ่ายกัฟฟาเราะฮฺ
่ ไม่
ผูม้ เี พศสัมพันธ ์กับภรรยาโดยทางอืนที ่ ใช่ทางอวัยวะเพศ
จาเป็ นต้องถือศีลอดชดและขออภัยโทษต่ออัลลอฮฺ

ส่งเสริมให ้รีบเร่งในการถือศีลอดชดและถือติดต่อกัน
หากประวิงเวลาจนเลยเดือนเราะมะฏอนโดยไม่มเี หตุ

95
จาเป็ นต้องให ้อาหารแก่คนยากจนต่อหนึ่ งวันทีขาดศี
่ ลอดพร ้อมกับ
การถือศีลอดใช ้

ผูเ้ สียชีวต
ิ โดยยังไม่ได ้ถือศีลอดทีได ่ ้บนบานไว ้หรือยังไม่ได ้ทาหัจ
่ ้บนบานไว ้ ให ้ผูเ้ ป็ นวะลียถ
ญ ์ทีได ฺ อ
ื ศีลอดหรือทาหัจญ ์แทน
่ นสุนัต มักรูฮฺ (น่ ารังเกียจ) และหะรอม
การถือศีลอดทีเป็
(ต ้องห ้าม)
่ นัต
การถือศีลอดทีสุ
ส่งเสริมให ้ถือศีลอดในวันต่อไปนี ้

วันอะเราะฟะฮฺ (วันที่ 9 ซุลหิจญะฮฺ) นอกจากผูประกอบพิ


้ ธหี จั ญ ์

วันที่ 9, 10, 11 ของเดือนมุหรั ร็อม

หกวันในเดือนเชาวาล
่ อนแรกของเดือนชะอฺบาน
ครึงเดื

สิบวันแรกของเดือนซุลหิจญะฮฺ

การถือศีลอดในเดือนมุหรั ร็อม

บรรดาวันสีขาว (วันที่ 13-15) ของทุกเดือน

วันจันทร ์และวันพฤหัสบดี

ถือศีลอดวันเว้นวัน

96
่ มค
การถือศีลอดของคนโสดทีไม่ ี วามสามารถจะแต่งงาน
่ กรูฮฺ (น่ าร ังเกียจ)
การถือศีลอดทีมั
การถือศีลอดของผูประกอบพิ
้ ธหี จั ญ ์ในวันอะเราะฟะฮฺ

การถือศีลอดเฉพาะวันศุกร ์วันเดียวเป็ นเอกเทศ

การถือศีลอดวันสุดท้ายของเดือนชะอฺบาน
่ นมักรูฮใฺ นเชิงน่ าร ังเกียจ
ข ้างต ้น คือการถือศีลอดทีเป็
้ นการถือศีลอดทีเป็
ส่วนต่อไปนี เป็ ่ นมักรูฮฺเชิงต ้องห ้ามคือ

อัลวิซอล :
คือการถือศีลอดสองวันติดต่อกันหรือมากกว่าโดยไม่ได ้ละศีลอด

ถือศีลอดในวันสงสัย (30 ชะอฺบาน)


้ โดยไม่ได ้ละเว ้นสักวัน
ถือศีลอดตลอดทังปี

ี่ ได ้ร ับอนุ ญาตจากสามีของนาง
การถือศีลอดสุนัตของสตรีทไม่

ในขณะทีสามีน้ันอยู่กบ
ั นาง
่ อ้ งหา้ ม
การถือศีลอดทีต
การถือศีลอดในวันต่อไปนี ้

ถือศีลอดในวันอีดทังสอง (วันอีดฟิ ตรีย ์และวันอีดอฎฮา)

97
ถือศีลอดในวันตัชรีก (11-13 ซุลหิจญะฮฺ)
เว ้นแต่ผป ู ้ ระกอบพิธห ่
ี จั ญ ์อืนไปจากประเภทตะมั
ตตุอฺ

และผูท้ ไม่
ี มค ี วามสามารถในการทาฟิ ดยะฮฺ(เชือดสัตว ์)
่ ประจาเดือนของผูหญิ
วันทีมี ้ ง และเลือดหลังคอลดบุตร

การถือศีลอดของผูป่้ วยทีคาดว่ าอาจส่งผลอันตรายต่อชีวต
ิ ได ้

การอิอต
ฺ ก
ิ าฟและบทบัญญัตท ี่ ยวข
ิ เกี ่ ้อง

ประเภทและเงือนไขของการอิ
อตฺ ก
ิ าฟ

การอิอต
ฺ ก
ิ าฟ
นิ ยาม
การอิอต
ฺ กิ าฟตามหลักภาษา คือ การพานัก, การอยู่ประจา,
การเก็บตัว, หรือการยับยัง้

ตามหลักวิชาการ คือ การตังเจตนาพานักอยู่ในมัสญิด

เพือการเคารพภักดี โดยมีรูปแบบเฉพาะ

เหตุผลของการบัญญัตก
ิ ารอิอต
ฺ ก
ิ าฟ
ทาให ้จิตใจปลอดโปร่งปราศจากการหมกมุ่นอยู่กบ ั กิจการโลกปัจ
จุบน
ั โดยมุ่งสู่การเคารพภักดีและราลึกถึงอัลลอฮฺ

ถวายใจให ้กับอัลลอฮฺ
ี่
โดยการมอบหมายและพานักอยู่ทประตู แห่งความโปรดปรานและค
วามเมตตาของพระองค ์
98
ประเภทของการอิอต
ฺ ก
ิ าฟ
การอิอต
ฺ ก
ิ าฟมี 2 ประเภท

1. ภาคบังคับ คือ การอิอต ฺ ก ่ ้บนบานไว ้ เช่นกล่าวว่า


ิ าฟตามทีได
หากฉันสาเร็จในกิจการใดๆ ฉันจะอิอต ฺ ก
ิ าฟสามวัน
หรือหากฉันได ้ร ับความสะดวกในกิจการใดกิจการหนึ่ ง
ฉันจะอิอต
ฺ ก ้ นต้น
ิ าฟ อย่างนี เป็

2. ไม่ได ้เป็ นภาคบังคับ แต่ท่านนบีได ้ปฏิบต


ั ไิ ว ้เป็ นประจาทุกๆปี
่ ่
ซึงช่วงเวลาทีดีทสุ ่
ี ดคือในสิบวันสุดท ้ายของเดือนเราะมะฎอน

องค ์ประกอบ (รุกน


่ ) ของการอิอต
ฺ ก
ิ าฟ
ี ่ อต
1. ผูท้ อิ ฺ ก
ิ าฟ (มุอต
ฺ ะกิฟ)

2. การพานักอยู่ในมัสญิด เนื่ องจากท่านอะลี ร่อฏียลั ลอฮูอนั ฮุ


กล่าวว่า
“ ไม่มกี ารอิอต
ฺ ก
ิ าฟนอกจากในมัสญิดทีมี ่ การละหมาดญะมาอะฮฺเท่
านั้น ”
เพราะว่าการอิอต ฺ ก ่ การละหมาดญะมาอะฮฺน้ัน
ิ าฟในมัสญิดทีมี

จะเป็ นการเตรียมตัวเพือละหมาดเวลาต่ ่
างๆในลักษณะทีสมบู รณ์ทสุี่
ดอันเนื่ องมาจากการละหมาดทีเป็ ่ นญะมาอะฮฺน้นเอง

่ อต
3. สถานทีอิ ฺ ก
ิ าฟ (มุอต
ฺ ะกัฟ)

เงือนไขที
ท ่ าให ้การอิอต ิ าฟถูกต ้อง (ใช ้ได ้) มีดงั ต่อไปนี ้
ฺ ก
1.ผูอ้ อ
ิ ต ิ าฟต ้องเป็ นมุสลิมเท่านั้น จึงใช ้ไม่ได ้จากคนต่างศาสนิ ก
ฺ ก
99
2.รู ้เดียงสา ฉะนั้น การอิอต
ฺ ก
ิ าฟของคนวิกลจริต และเด็กจึง
ใช ้ไม่ได ้

3.ผูช
้ ายต ้องอิอต
ฺ ก ่ การละหมาดญะมาอะฮฺ
ิ าฟในมัสญิดทีมี

ี่ ้องอาบน้า (ญะนาบะฮฺ
4.ชาระตัวให ้สะอาดจากมูลเหตุทต
เลือดประจาเดือน และเลือดหลังการคลอดบุตร)
่ ท
สิงที ่ าให ้การอิอต
ฺ ก
ิ าฟเป็ นโมฆะ

1. การร่วมประเวณี แม้ว่านาอสุ ่
จไิ ม่ได ้หลังออกมาก็
ตาม
พระองค ์อัลลอฮฺได ้ตรัสไว้ว่า
َ َۡ َ َ ۡ َ َ َّ َ ََ
َٰ ‫ ولا تبَٰ ِشروهن وأنتم عَٰكِفون فِى ٱلم‬..﴿
]187 :‫﴾ [البقرة‬.. ‫د‬
ِ ‫ج‬
ِ ‫س‬

“และพวกเจ ้าอย่ามีเพศสัมพันธ ์กับภรรยา



ขณะทีพวกเจ ้าอิอต
ฺ ก
ิ าฟอยู่ในมัสญิด” (อัลบะเกาะเราะฮฺ 187)

2.การเล้าโลมระหว่างสามีภรรยา

3.เป็ นลม และวิกลจริต เนื่ องจากมึนเมา หรือเนื่ องจากสาเหตุอนๆ


ื่

4.สินสภาพจากการเป็ นมุสลิม
่ ้ร ับการอนุ โลม
5.ออกจากมัสญิด โดยไร ้เหตุจาเป็ นทีได
่ โลมให ้ออกจากมัสญิด
เหตุจาเป็ นทีอนุ
่ โลมให ้ออกจากมัสญิดได ้ (สถานทีอิ
เหตุจาเป็ นทีอนุ ่ อต
ฺ ก
ิ าฟ)
แบ่งออกเป็ น 3 ประเภท
100
1.เหตุจาเป็ นตามบทบัญญัตท ่ี ้อนุ โลมไว ้
ิ ได

เช่น ออกไปละหมาดวันศุกร ์ หรือ ละหมาดอีดทังสอง
่ าลังอิอต
หากมัสญิดทีก ฺ ก
ิ าฟอยู่ไม่มก
ี ารละหมาดวันศุกร ์และการละ

หมาดอีดทังสอง

เหตุผลทีอนุ่ โลมให ้ออกจากมัสยิดได ้นั้น


ก็เนื่ องจากการอิอต ิ าฟนั้นเป็ นการภักดีต่ออัลลอฮฺโดย
ฺ ก

การละทิงการฝ่ าฝื นอัลลอฮฺ

ขณะทีการละทิ ้
งละหมาดวั นศุกร ์หรือละหมาดอีดเป็ นการฝ่ าฝื นอัลล
่ นขัดกับการอิอต
อฮฺ ซึงมั ฺ ก
ิ าฟทีส่่ งเสริมให ้ใกล ้ชิดอัลลอฮฺ

2.เหตุตามปกติวส
ิ ยั
เช่น การขับถ่าย หรือ มีญะนาบะฮฺ (เหตุทต ี่ ้องอาบน้า )
่ สามารถอาบน้าชาระร่างกายในมัสญิดได ้
โดยการฝันเปี ยก เมือไม่
แต่มข ่ าภารกิจเสร็จเท่านั้น
ี ้อแม้ว่าให ้กาชับเวลาเท่าทีท

3.อุปสรรคเพราะเหตุจาเป็ น (เป็ นกรณี ฉุกเฉิ น)


เช่น เกรงว่าทรัพย ์สินหรือเสบียงจะได ้รับความเสียหาย
หรือเกรงว่าตัวเขาจะได ้รับอันตราย
หากเขายังคงอยู่ในสถานทีอิ ่ อต
ฺ ก
ิ าฟ

การประกอบพิธห
ี จั ญ ์

กฏเกณฑ ์ของการประกอบพิธห
ี จั ญ ์

การประกอบพิธอี ุมเราะฮฺ และกฏเกณฑ ์ของการประพิธอี ม


ุ เราะฮฺ
101
่ ้า ทีอยู
หลักการข ้อทีห ่ ่ในหลักอิสลามคือ
การประกอบพิธห ี จั ญ ์
ความหมายของคาว่า หัจญ ์
สถานภาพของการประกอบพิธห
ี จั ญ ์ในอิสลาม
การประกอบพิธห ี จั ญ ์นั้น
เป็ นองค ์ประกอบหรือโครงสร ้างหลักข ้อทีห่ ้าของอิสลาม
่ ้าฮิจญ ์เราะฮฺศก
ถูกบัญญัตใิ นปี ทีเก ั ราช

อัลลอฮฺได ้ตรัสไว ้ว่า


ٗ َ َ َ ََ ۡ
:‫﴾ [آل عمران‬.... ‫ن ٱستطاع إِل ۡيهِ سبِيلا‬
َ ۡ ۡ ُّ
ِ ‫اس حِج ٱل َبي‬ َّ ََ َّ َ
ِ ‫تم‬ ِ ‫و ِّللِ على ٱلن‬....﴿
]97

"และสิทธิของอัลลฮทีมี ่ แก่มนุ ษย ์นั้น คือการมุ่งสู่บ ้านหลังนั้น



(เพือประกอบพิ ธห
ี จั ญ ์และอุมเราะฮฺ)
อันได ้แก่ผที ่
ู ้ สามารถหาทางไปยั งบ ้านหลังนั้นได ้ ” (อาล อิมรอน
97)

ท่านรอซูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้กล่าวว่า:


“อิสลามถูกวางอยูบ ่ นโครงสร ้าง 5 ประการ หนึ่ ง
การปฏิญาณตนว่า
ไม่มพ ่ กเคารพภักดีโดยแท ้จริงนอกจากอัลลอฮฺเท่านั้น
ี ระเจ ้าทีถู
และมุหมั มัดเป็ นศาสนทูตของอัลลอฮฺ สอง

การดารงไว ้ซึงการละหมาด สาม การจ่ายซะกาต สี่

102
การประกอบพิธหี จั ญ ์ ณ บัยตุ ้ลลอฮฺ และห ้า
การถือศิลอดในเดือนรอมฎอน ”

บทบัญญัตข
ิ องการประกอบพิธห
ี จั ญ ์
การประกอบพิธห ี จั ญ ์เป็ นข ้อบังคับให ้ปฏิบต
ั เิ พียงครงเดี้ั ยวในชีวต

เนื่ องจากท่านเราะสูลกล่าวว่า “การประกอบพิธห ี จั ญ ์ภาคบังคับ
คือเพียงครงเดี ั้ ยวในชีวติ หากผูใ้ ดกระทามากกว่านั้น
ก็ถอ ื ว่าเป็ นการสมัครใจ”

คาว่า"หัจญ ์ หรือการประกอบพิธห ี จั ญ ์ " หมายถึง



การมุ่งสู่นครมักกะฮฺเพือปฏิ
บต ั ส ิ่ างๆ
ิ งต่
่ กกาหนดไว ้และในเวลาทีถู
ทีถู ่ กบัญญัตไิ ว ้

การประกอบพิธอี ม
ุ เราะฮฺ

ความหมายของ "อุมเราะฮฺ" ตามหลักภาษา คือ การเยียมเยี
ยน
การเยือน และความหมายของ "อุมเราะฮฺ" ตามบทบัญญัติ คือ
การปฏิบตั ต
ิ ่างๆ
่ ้กาหนดไว ้ตามทีได
ทีได ่ ้ระบุไว ้ในบทบัญญัตอ
ิ ส
ิ ลาม

103
การประกอบพิธอี ม ุ เราะฮฺน้ัน
ควรปฏิบต ้ั ยวในชีวต
ั เิ ป็ นภาคบังคับเพียงครงเดี ิ

เหตุผลเกียวกั
บการบัญญัตก
ิ ารประกอบพิธห
ี จั ญ ์และอุมเร
าะฮฺ
ส่วนหนึ่ ง คือ การชาระจิตใจให ้สะอาดจากร่องรอยของบาป

เพือให ี่ เกียรติ ณ ทีอั
้เขาเป็ นผูท้ มี ่ ลลอฮฺ ในวันปรโลก
ดังคากล่าวชองท่านรอซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ทีว่่ า
“บุคคลใดได ้ประกอบพิธห ี จั ญ ์ ณ วิหารแห่งนี ้

โดยทีเขาไม่ ทาการร่วมประเวณี หรือทาอนาจาร และไม่ละเมิด
เขากลับจะมาดังวั ่ นทีเขาได
่ ้ออกมาจากครรภ ์มารดาของเขา”
(ไม่มบ
ี าปตัวตัวเขาเลย)
่ จ่ าเป็ นในการประกอบพิธห
เงือนไขที ี จั ญ ์และอุมเราะฮฺ
่ จ่ าเป็ นในการประกอบพิธห
เงือนไขที ี จั ญ ์และอุมเราะฮฺ มีดงั นี ้

เป็ นมุสลิม

มีสติสม
ั ปชัญญะ

บรรลุนิตภ
ิ าวะตามศาสนบัญญัติ

มีความสามารถ คือ มีเสบียงและพาหนะทีเหมาะสมสาหร ับเขา

เป็ นไทอย่างสมบูรณ์(อิสระ)

104
สาหร ับผูห้ ญิงนั้นต ้องมีข ้อทีหกเพิ
่ ่
มมา
คือนางต ้องมีมะห ์รอม(บรรดาญาติทแต่ ี่ งงานกันมิได ้)ร่วมเดินทางกั
บนางด้วย
แต่ถ ้าหากว่านางได ้ประกอบพิธห ่ มม
ี จั ญ ์โดยทีไม่ ี ะห ์รอมแล ้ว
ก็ถอ ่
ื ว่าใช ้ได ้เช่นกัน โดยทีนางมี ความผิดในการฝ่ าฝื นข ้อนี ้

การประกอบพิธห ี จั ญ ์สาหร ับเด็กนั้น


ถือว่าใช ้ได ้และได ้ผลบุญในการสมัครใจทา
แต่ต ้องกระทาใหม่อก ้ั ่ งเป็ นภาคบังคับ
ี ครงหนึ

เมือบรรลุ นิตภิ าวะตามศาสนบัญญัติ
่ ท้ จี่ าเป็ นต ้องประกอบพิธห
เมือผู ี จั ญ ์เสียชีวต
ิ ไป
โดยทียั่ งไม่ได ้ประกอบพิธห ี จั ญ ์
ก็ให ้นาเงินส่วนหนึ่ งจากกองมรดกของเขา
ื่ จะประกอบพิ
ไปให ้ผูอ้ นที ่ ธหี จั ญ ์แทน

ี่ งไม่ได ้ประกอบพิธห
ผูท้ ยั ่ นวาญิบ(ภาคบังคับ)ให ้กับตนเอง
ี จั ญ ์ทีเป็
จะไม่สามารถประกอบพิธห ่
ี จั ญ ์แทนคนอืนได ้
ส่วนการประกอบพิธห ี จั ญ ์หรืออุมเราะฮฺทเป็ ่
ี นนะฟิ ล(ไม่ใช่ภาคบังคั
บ) สาหร ับผูที ่ ความสามารถและคนอืนๆนั
้ มี ่ ้น
ถือว่าเป็ นการอนุ ญาตให ้ผูอ้ นกระท ื่ าแทนได ้

ประเภทของการประกอบพิธห
ี จั ญ ์และอุมเราะฮฺ
1.ประกอบพิธอี ุมเราะฮฺอย่างเดียว

2.ประกอบพิธห
ี จั ญ ์อย่างเดียว (อิฟรอด)

105
3.ประกอบพิธห
ี จั ญ ์และอุมเราะฮฺควบคู่กน
ั (กิรอน)

4.ประกอบพิธอี ุมเราะฮฺแล ้วต่อด ้วยประกบอพิธห ่ ระยะเ


ี จั ญ ์โดยทีมี
่ ้กาหนดไว ้ (ตะมัตตุอ)ฺ
วลาห่างกันตามทีได

การประกอบพิธอี ุมเราะฮฺอย่างเดียว กระทาได ้ตลอดทังปี
่ ทสุ
และช่วงเวลาทีดี ี่ ดของมันคือ
การประกอบพิธอี ุมเราะฮฺควบคู่กบ ั การประกอบพิธห
ี จั ญ ์
หรืออาจประกอบพิธอี ม ุ เราะฮฺในเดือนเราะมะฎอนก็ได ้

การประกอบพิธห ี จั ญ ์อย่างเดียว (อิฟรอด) คือ



การตังเจตนาประกอบพิ ธห
ี จั ญ ์
โดยไม่มกี ารประกอบพิธอี ุมเราะฮฺมาก่อน
หรือควบคู่กบั การประกอบพิธอี ุมเราะฮฺแต่อย่างใด

การประกอบพิธห ี จั ญ ์ควบคู่กบ
ั การประกอบพิธอี ม ุ เราะฮฺ (กิรอน)
คือ

การตังเจตนาร่ วมกันในการประกอบพิธห ี จั ญ ์และอุมเราะฮฺไปพร ้อม
ๆกัน
ทาให ้การปฏิบต ้
ั ใิ นขันตอนต่ างๆของแต่ละพิธน ี ้นผนวกเข
ั า้ ร่วมกัน
จึงเพียงพอกับการเฏาะวาฟและสะแอเพียงครงเดี ั้ ยวสาหร ับการประ
กอบพิธห ี จั ญ ์และอุมเราะฮฺประเภทนี ้

การประกอบพิธห ี จั ญ ์ประเภทตะมัตตุอน ฺ ้ัน


ดีกว่าการประกอบพิธห ี จั ญ ์ประเภทอิฟรอดและกิรอน
โดยจะทาการประกอบพิธอี ุมเราะฮฺในเดือนแห่งการทาหัจญ ์(คือ
เดือนเชาวาล เดือนซุลกิอด ฺ ะฮฺ และสิบวันแรกของเดือนซลหิจญะฮฺ)

106
ทาการเฏาะวาฟ การสะแอ และการตะหัลลุลจนเสร็จสิน้

และต่อมาในวันทีแปดของเดื อนซุลหิจญะฮฺในปี เดียวกัน
ให ้ร่วมประกอบพิธห ี จั ญ ์โดยการปฏิบต ั ท ้
ิ ุกขันตอนในพิ ธห
ี จั ญ ์จนเส
ร็จสมบูรณ์ ดังเช่น ทาการเฏาะวาฟ การสะแอ และหยุดพัก
ณทีทุ ่ ่งอะเราะฟะฮฺ ฯลฯ

ซึงการเลื อกประกอบพิธห ี จั ญ ์ประเภทตะมัตตุอแฺ ละกิรอนนั้นจาเป็ น
ต้องเชือดสัตว ์พลีด ้วย

องค ์ประกอบหลัก (รุกน่ )


ของการประกอบพิธห ี จั ญ ์และอุมเราะฮฺ
องค ์ประกอบหลักของหัจญ ์ มี 4 ประการ คือ

1.อิห ์รอม(การตังเจตนาเข ้าพิธ)ี
2.เฏาะวาฟ(การเดินวนรอบอัลกะบะฮฺ) 3.สะแอ

(การเดินไปมาระหว่างเศาะฟาและมัรวะฮฺ) 4.วุกุฟทีอะเราะฟะฮฺ
ี่ ่งอะเราะฟะฮฺ)หากขาดองค ์ประกอบประการใด
(การไปอยู่ททุ
การประกอบพิธห ี จั ญ ์ก็เป็ นโมฆะ

องค ์ประกอบหลักของการประกอบพิธอี ุมเราะฮฺ มี 3 ประการ ดังนี ้



1.อิห ์รอม(การตังเจตนาเข ้าพิธ)ี
2.เฏาะวาฟ(การเดินวนรอบอัลกะบะฮฺ) 3.สะแอ
(การเดินไปมาระหว่างเศาะฟาและมัรวะฮฺ)
การประกอบพิธอี ุมเราะฮฺจะไม่สมบูรณ์
หากขาดประการใดประการหนึ่ ง
และรายละเอียดขององค ์ประกอบหลักนั้น มีดงั ต่อไปนี ้

107
ประการทีหนึ ่ ่ ง อิห ์รอม คือ การตังเจตนาเข
้ ้าพิธห
ี จั ญ ์
หรือพิธอี ุมเราะฮฺ หลังจากทีมี ่ การครองชุดอิห ์รอม (ชุดอิห ์รอมคือ
ผ้าขาวสองผืนทีไม่ ่ ได ้ตัดเย็บเป็ นรูปทรงเสือหรื
้ อกางแกง)

่ เป็
สิงที ่ นวาญิบ(ต ้องปฏิบต
ั )ิ ในการอิห ์รอม
่ ต
สิงที ่ ้องปฏิบตั ิ (หากละเลยต ้องมีการชดใช ้)ในการอิห ์รอม มี 3
ประการ คือ 1.อิห ์รอมจากเขตทีก ่ าหนด (มีกอต)คือ
สถานทีที ่ ถู
่ กกาหนดเพือการอิ
่ ห ์รอม กล่าวคือ
ไม่อนุ ญาตให ้ผูป้ ระกอบพิธห ี จั ญ ์ หรืออุมเราะฮฺ
ผ่านไปโดยไม่ได ้ทาการอิห ์รอมจากสถานทีเหล่ ่ านี ้


2.การเปลืองเสื ้ าทีตั
อผ้ ่ ดเย็บเป็ นชุดออกจากร่างกาย
ผูช ้ ดยาว เสือ้ เสือคลุ
้ ายจะไม่สวมใส่เสือชุ ้ มศรีษะ

ไม่ใช ้ผ้าโพกศรีษะ และไม่เอาสิงใดคลุ มติดศรีษะ
และไม่สวมรองเท้าหุมส ้ ้น นอกจากไม่มรี องเท้าแตะ
ส่วนผูห้ ญิงจะไม่สวมถุงมือ และจะไม่ปิดหน้า

3.การกล่าวตัลบียะฮฺ คือ “ฉันตอบรับการเรียกร ้องของพระองค ์


ไม่มภ
ี าคีใดๆ ต่อพระองค ์ แท ้จริง การสรรเสริญ ความโปรดปราน

และอานาจ เป็ นสิทธิของพระองค ์ ไม่มภ
ี าคีใดๆ ต่อพระองค ์”
่ มเข
จะกล่าวเมือเริ ่ ้าพิธ ี ขณะอยู่ทมี ี่ กอต โดยไม่เลยเขตมีกอต

และส่งเสริมให ้กล่าวซาหลายๆ ครงั้ ผูช ้ ายควรกล่าวเสียงดัง
่ นหรื
ควรกล่าวอยู่เสมอ เมือขึ ้ อลงจากพาหนะ หรือตอนจะละหมาด

เสร็จสินจากการละหมาด ่
หรือเมือพบกั บกลุม
่ ผูอิ้ ห ์รอม

108
และคาตัลบียะฮฺของอุมเราะฮฺน้ัน จะสินสุ
้ ดเมือเริ
่ มเฏาะวาฟ

้ ดเมือเริ
ส่วนตัลบียะฮฺของหัจญ ์ จะสินสุ ่ มขว่ ้างเสาหิน

ประการทีสอง การเฏาะวาฟ

เฏาะวาฟ คือ การเดินวนรอบกะบะฮฺเจ็ดรอบ และมีเงือนไข 7
ประการ

1.ตังเจตนาเมื ่ มเฏาะวาฟ
อเริ ่


2.ชาระล ้างตัวให ้สะอาดจากสิงสกปรกโสโครกและจากหะดั

ี่ ้องอาบน้าทังตั
(เหตุทต ้ ว หรืออาบน้าละหมาด)

3.ปกปิ ดเอาเราะฮฺของร่าง (เอาเราะฮฺคอื


ของลับและขอบเขตของมันสาหรับชาย และหญิงในอิสลาม)
เพราะว่าข ้อควรปฏิบตั ก ่ นการเฏาะวาฟนั้น
ิ อ
ดังเช่นเดียวกับการปฏิบต ั ก
ิ อ
่ นการละหมาด

4.ต้องเฏาะวาฟภายในมัสญิด
ถึงแม้ว่าจะห่างไกลจากกะอฺบะฮฺก็ตาม

5.ให ้กะอฺบะฮฺอยู่ด ้านซ ้ายมือ

6.เฏาะวาฟเจ็ดรอบ

7.ในระหว่างแต่ละรอบของการเฏาะวาฟนั้น
จะต ้องประติดประต่อกันอย่างต่อเนื่ อง เว ้นแต่ด ้วยเหตุจาเป็ นเท่านั้น

ข ้อควรปฏิบต
ั ใิ นการเฏาะวาฟ (ไม่เป็ นการบังคับ)

109

1.วิงเหยาะๆ ้ ายเท่านั้น
สาหร ับผูช
โดยการเดินเร็วพร ้อมกับยกย่างก ้าวเป็ นจังหวะๆ

ส่งเสริมให ้ปฏิบต
ั ใิ นการเฏาะวาฟกุดูม(ฏาะวาฟแรกมาถึง)
และในสามรอบแรกของการเฎาะวาฟเท่านั้น

2.อิฎฏิบาอฺ คือ การเปิ ดไหล่หรือบ่าข ้างขวาของผูช


้ าย

ซึงส่งเสริมให ้ปฏิบต ้ั
ั เิ ฉพาะในการเฏาะวาฟกุดูมรอบๆกะอฺบะฮฺทงเจ็
ดรอบเท่านั้น
่ าการเฏาะวาฟและในทุกๆรอบ
3.ให ้การจูบหินดา ขณะเริมท
หากสะดวกและมีความสามารถ
ตลอดจนการจับหรือลูกมุมยะมานี ย ์อีกด้วย

4.กล่าวคาดุอาอ ์เมือเริ่ มรอบแรก


่ “ด ้วยพระนามแห่งอัลลอฮฺ

อัลลอฮฺทรงยิงใหญ่ โอ ้อัลลอฮฺ ข ้อพระองค ์ทาการเฏาะวาฟ
เนื่ องด ้วยการศร ัทธาต่อพระองค ์ ด ้วยการเชือต่ ่ อคาภีร ์ของพระองค ์
ด้วยการรักษาพันธะสัญญาต่อพระองค ์
และด้วยปฏิบต ั ต
ิ ามแบบอย่างนบีของพระองค ์"

5.การขอพรขณะเฏาะวาฟนั้น
ไม่มบี ทขอพรเป็ นการเฉพาะเจาะจง
่ ละคนสามารถขอพรได ้ตามถนัด
ซึงแต่
และส่งเสริมให ้กล่าวตอนใกล ้จบในแต่ละรอบว่า
โอ ้พระผูอ้ ภิบาลของเรา
่ งดี
ได ้โปรดประทานให ้แก่พวกเราซึงสิ ่ งามในโลกนี ้

110
่ งามในโลกหน้า
และสิงดี
และโปรดคุมครองพวกเราให
้ ้พ้นจากลงโทษแห่งไฟนรกด้วยเถิด

6.การขอพร ณทีมุ ่ ลตะซัมเมือเสร็


่ ้
จสินจากการเฏาะวาฟ
(มุลตะซัม คือ บริเวณระหว่างประตูของกะบะฮฺ และมุมหินดา)

7.ละหมาดสองร็อกอะฮฺหลังจากเฏาะวาฟเสร็จ ณ
่ เวณหลังมะกอมอิบรอฮีม โดยอ่านซูเราะฮฺอลั กาฟิ รูน
ทีบริ
ี่ ่ ง และซูเราะฮฺอลั อิคลาศ ในร็อกอะฮฺทสอง
ในร็อกอะฮฺทหนึ ี่
(หลังเสร็จจากการอ่านซูเราะฮฺอลั ฟาติหะฮฺ)
่ ้าซัมซัมจนอิม
8.ดืมน ่ หลังจากละหมาดสองร็อกอะฮฺเสร็จ

9.กลับไปจับหินดาอีกครง้ั ก่อนทีจะไปท
่ าการสะแอ

ประการทีสาม : การสะแอ

การสะแอ คือ การเดินไปมาระหว่างเนิ นเขาเศาะฟาและมัรวะฮฺ



โดยตังเจตนาท ่
าการเคารพภักดีต่ออัลลอฮฺ ซึงการสะแอนั ้น
เป็ นองค ์ประกอบหลักของการประกอบพิธห ี จั ญ ์และอุมเราะฮฺ

เงือนไขของการสะแอ :

เงือนไขของการสะแอ :มีดงั นี ้

1.การตังเจตนา ่ านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม
ดังทีท่

ได ้กล่าวว่า การงานทังหลายขึ ้
นอยู ่กบ ้
ั การตังเจตนา

111
2.เคร่งครัดในการปฏิบต
ั ตามลาดับ
โดยทาการเฏาะวาฟก่อนการสะแอ

3.ห ้ามเว้นช่วงในระหว่างแต่ละรอบ
เว้นแต่ระยะเวลาเพียงเล็กน้อยในกรณี มเี หตุจาเป็ น

4.วนให ้ครบรอบเจ็ดรอบอย่างครบสมบูรณ์ หากขาดไปหนึ่ งรอบ


หรือไม่เต็มรอบ ก็ถอ
ื ว่าใช ้ไม่ได ้
้ั
จนกว่าจะดาเนิ นให ้ครบสมบูรณ์ทงรอบและจ าวนของมัน

5.ต้องทาการสะแอหลังจากทาการเฏาะวาฟตามลาดับ
จึงจะถือว่าถูกต้อง (ใช ้ได้) ไม่ว่าจะเป็ นการเฏาะวาฟวาญิบ (บังคับ)
หรือการเฏาะวาฟสมัครใจ

ข ้อควรปฏิบต
ั ใิ นการสะแอ(ไม่เป็ นการบังคับแต่ได้ผลบุญ)

ข ้อควรปฏิบต
ั ใิ นการสะแอ : คือ

1.การเดินเร็ว (อัลเคาะบับ) ระหว่างสัญลักษณ์ไฟสีเขียว


่ ่ทสองฝั
ซึงอยู ี่ ่ งทีราบลุ
่ ม่ เดิม

ณทีนางฮาญั รม ่
ฺ ารดาของอิสมาอีลได ้วิงไปมา(ขอพระองค ์แผ่เมตต

าแด่ท่านทังสองท่ ่ งเสริมให ้ปฏิบต
าน) ซึงส่ ั ส
ิ าหร ับผูช ่ งแรง
้ ายทีแข็
ไม่ใช่ผอ่
ู ้ อนแอหรือผูห้ ญิง

2.ยืนบนภูเขาเศาะฟาและมัรวะฮฺ เพือขอพร

3.บทขอพรบนเขาเศาะฟาและมัรวะฮฺ ในทุกๆ รอบของการสะแอ

112
4.กล่าว "อัลลอฮฺผทรงยิ ู้ ่
งใหญ่ ” 3 ครง้ั
ไม่มพ ่
ี ระเจ ้าอืนใดนอกจากอั ลลอฮฺ ไม่มผ
ี ใู ้ ดเป็ นภาคีกบ
ั พระองค ์
อานาจและการสรรเสริญเป็ นสิทธิของพระองค ์
พระองค ์คือผูท้ รงอานาจเหนื อทุกสิง่
ไม่มพ ่
ี ระเจ ้าอืนใดนอกเหนื อจากอัลลอฮฺ
พระองค ์ทรงปฏิบต ั ต
ิ ามสัญญาของพระองค ์
ทรงช่วยเหลือบ่าวของพระองค ์

และพระองค ์เพียงผูเ้ ดียวทีทรงสร ้างความปราชัยให ้แก่พลพรรคทัง้
หลาย”

5.ให ้ปฏิบต ิ ธิ อี ย่างต่อเนื่ องระหว่างการเฏาะวาฟและการสะแอ


ั พ
กล่าวคือไม่อนุ ญาตให ้เว้นระยะเวลาห่างกันจนเกินไป
โดยไร ้เหตุจาเป็ นทีได ่ ้ร ับการอนุ โลมทางศาสนา

่ ่ : การวุกุฟ ณ ทุ่งอะเราะฟะฮฺ
ประการทีสี

วุกูฟ คือ การมาอยู่ ณ สถานทีหนึ่ ่ ง ซึงเรี


่ ยกว่าอะรอฟาต
เพียงครูเ่ ดียวหรือมากกว่านั้น โดยตังเจตนาวุ
้ กูฟ
่ ้ ่
เริมตังแต่เวลาละหมาดซุฮริของวันที 9 เดือนซุลหิจญะฮฺ
ไปจนถึงรุง่ อรุณของวันที่ 10 ในเดือนซุลหิจญะฮฺเช่นกัน

บุคคลใดทีพลาดจากการวุ กูฟ
เขาย่อมพลาดจากการทาหัจญ ์ในครงนั ้ั ้น
จึงต ้องออกจากพิธห ่
ี จั ญ ์(ตะหัลลุล)โดยการเปลียนเจตนารมณ์
ให ้เ
ป็ นการประอบพิธอี ุมเราะฮฺแทน
และค่อยกลับมาชดเชยหัจญ ์ในปี ต่อไปพร ้อมๆกับเชือดสัตว ์พลี

113
้ อนไขไว
(ถ ้าหากเขาไม่ได ้ตังเงื ่ ้ก่อนหน้านี )้
ส่วนบุคคลใดทีถู ่ กกีดกันจากศั
้ ตรูไม่ให ้มาประกอบพิธห
ี จั ญ ์ในระหว่
างการเดินทางนัน ้

จึงอนุ ญาตให ้เขาตะหัลลุล(ปลดการครองอิหรฺ อม) ณทีตรงนั ้น
แล ้วเชือดสัตว ์พลี

และถ้าหากว่าเขาเจออุปสรรคโดยการเจ็บป่ วยหรือขาดเสบียง
ในขณะทีเขาได่ ้ อนไขไว
้ตังเงื ่ ้ก่อนแล ้วว่า “หากมีอุปสรรคใดๆ

มาขัดขวาง ก็ให ้ทีปลดเปลื ้
องของฉั น
เป็ นสถานทีที ่ พระองค
่ ์ทรงกักฉัน” เขาเพียงแค่ออกจากพิธห ี จั ญ ์
แล ้วไม่ต ้องชดใช ้ด ้วยสิงใด ่
และหากเขาไม่ได ้ตังเงื ้ อนไขไว
่ ้ดังข ้างต ้น ให ้เขาออกจากพิธห ี จั ญ ์
และชดใช ้ด้วยการเชือดสัตว ์พลีตามความสามารถ

ประการวาญิบของการประกอบพิธห
ี จั ญ ์
ประการวาญิบของการทาหัจญ ์ มี 7 ประการ

1.ตังเจตนาเข ้าพิธห ่ กอต (เขตทีถู
ี จั ญ ์ ณทีมี ่ กกาหนดไว ้)

2.วุกูฟ ณทีทุ ่ ่งอะเราะฟะฮฺจนตะวันตกดิน


(สาหร ับผูท้ วุี่ กูฟกลางวัน)
่ ่งมุซดะลิฟะฮฺ จนถึงเวลาหลังเทียงคื
3.ค ้างคืน (มะบีต) ณทีทุ ่ น

่ ่งมินาในค่าคืนของวันตัชรีก (ในวันที11,
4.ค ้างคืน ณทีทุ ่ 12 และ
13 ของเดือนซุลหิจญะฮฺ)

114
5.การขว ้างเสาหินโดยเรียงตามลาดับ

6.การโกนศรีษะหรือตัดผมให ้สัน

7.การเฏาะวาฟวะดาอฺ (เฏาะวาฟอาลา)

ประการวาญิบของประกอบพิธอี ม
ุ เราะฮฺ
ประการวาญิบของอุมเราะฮฺ มี 2 ประการ

1.การตังเจตนาเข ้าพิธจี ากมีกอต
ส่วนชาวมักกะฮฺน้ันให ้ตังเจตนาจากนอกเขตหะรอม


2.การโกนศรีษะหรือตัดผมให ้สัน

ข ้อควรระมัดระวัง

บุคคลใดละทิงองค ์ประกอบหลักๆ (รุกน ่ )
ในการประกอบพิธห ี จั ญ ์หรืออุมเราะฮฺน้ัน จะเป็ นการโมฆะในทันที
(ขาดไม่ได ้)

บุคคลใดละทิงสิ ้ งที
่ เป็
่ นวาญิบ(บังคับ) ต ้องชดใช ้ด ้วยดัม
้ ้อควรปฏิบต
(เชือดสัตว ์พลี) และผูใ้ ดละทิงข ั ท ี่ นซุนนะฮฺ(ไม่บงั คับ)
ิ เป็

ไม่ต ้องชดใช ้ด ้วยสิงใด
่ ้องห ้ามของการครองอิห ์รอม
สิงต
คือ การกระทาต่างๆ
่ ้องห ้ามสาหร ับบุคคลทีประกอบพิ
ทีต ่ ธหี จั ญ ์หรืออุมเราะฮฺ
แต่หากว่ามีการฝ่ าฝื นไปกระทาลงไป
115
จะต้องชดใช ้ด้วยการเชือดสัตว ์พลี หรือถือศีลอด

หรือเลียงอาหารแก่ คนยากจน(ชาวมักกะฮฺ)
่ ่ ้ ายและผูห้ ญิง มีดงั ต่อไปนี ้
ซึงจะเป็ นสิงต ้องห ้ามสาหร ับผูช

1.การกาจัดขนออกจากร่างกาย

2.การตัดเล็บ

3.การคลุมศรีษะ (สาหรับผูช
้ าย)
ี ่ ผช
การปิ ดหรือคลุมใบหน้า(สาหร ับผูห้ ญิง)ยกเว ้นในกรณี ทมี ู ้ ายแป
ลกหน้าเดินผ่านมา

4.การสวมใส่อาภรณ์ทตัี่ ดเย็บเป็ นชุด (คือตัดเป็ นทรวดทรง เช่น



เสือยาว ่
กางเกง และอืนๆ)

5.การใช ้เครืองหอม
่ ญาตให ้บริโภค)
6.การล่าสัตว ์บก (สัตว ์ป่ าทีอนุ

7.ทาพิธแี ต่งงาน

8.การมีเพศสัมพันธ ์ระหว่างสามีภรรยา
•หากมีเพศสัมพันธ ์ก่อนตะหัลลุลเอาวัล(การปลดอิหรฺ อมครงแรก)ก ้ั
ารประกอบพิธห ี จั ญ ์ก็เป็ นโมฆะ ต ้องเชือดอูฐหนึ่งตัว

และจะต ้องดาเนิ นขันตอนการประกอบพิ ธห ี จั ญ ์ต่อไปให ้เสร็จสมบูร
ณ์ และชดใช ้ใหม่ในปี ต่อไปอีกด้วย
•หากมีเพศสัมพันธ ์หลังจากตะหัลลุลเอาวัล(การปลดอิหรฺ อมครงแร ้ั
ก)การประกอบพิธห ี จั ญ ์ไม่เป็ นโมฆะ แต่ต ้องเชือดแพะหนึ่ งตัว

116
9.การมีความสัมพันธ ์กับภรรยาด ้วยอารมณ์ทางเพศทีไม่ ่ ถงึ ขันมี
้ เ
พศสัมพันธ ์กัน (เช่นการจูบ การเล้าโลม เป็ นต้น)
หากการกระทาดังกล่าวนาไปสู่การหลังน ่ ้าอสุจอิ อกมา
จาต ้องเชือดอูฐหนึ่ งตัว และหากไม่มก ่ ้าอสุจอิ อกมา
ี ารหลังน
ก็ต ้องเชือดแพะหนึ่ งตัว
ส่วนการประกอบพิธห ี จั ญ ์ก็ไม่เป็ นโมฆะในกรณีทงสอง ้ั

สาหร ับผูห้ ญิงนั้นก็มส ิ่ ้องห ้ามเช่นเดียวกับผูช


ี งต ้ าย
แต่อนุ ญาตให ้นางสวมใส่เสือผ้ ้ าทีตั
่ ดเย็บเป็ นชุดตามต ้องการโดยไ
ม่เผยโฉม คลุมศรีษะ และเปิ ดใบหน้า
เว้นแต่มผี ช
ู ้ ายแปลกหน้าอยู่ด ้วยก็ให ้ปกปิ ดใบหน้าได้

ั้
ตะหัลลุลเอาวัล(การปลดอิหรฺ อมครงแรก)
โดยการปฏิบต ั ล ุ ่วงสองในสามประการต่างๆ ดังนี ้ 1.การเฏาะวาฟ
ิ ล
2.การขว ้างเสาหิน 3.การโกนศรีษะหรือตัดผมให ้สัน ้

หากผูห้ ญิงทีท่ าหัจญ ์แบบตะมัตตุอม ฺ ป


ี ระจาเดือนก่อนจะเฏาะวาฟ
(เฏาะวาฟอุมเราะฮฺ) และเกรงว่าจะพลาดโอกาสในการทาหัจญ ์

ให ้ตังเจตนาท าหัจญ ์ควบคู่กบั อุมเราะฮฺ เป็ นการทาหัจญ ์แบบกิรอน
่ ประจาเดือน และเลือดหลังคลอดบุตร
และสาหร ับผูห้ ญิงทีมี
อนุ ญาตให ้ทาได ้ทุกพิธก ้
ี รรม(ขันตอน) นอกจากการเฏาะวาฟ

ี่
อนุ ญาตให ้ผูท้ ครองอิ ้
ห ์รอมทาการเชือดสัตว ์เลียงเช่ น อูฐ วัว แกะ
่ และอนุ ญาตให ้ฆ่าสัตว ์ดุร ้าย เช่นสิงโต หมาป่ า เสือ
ไก่ และอืนๆ
หนู งู และสัตว ์ดุร ้ายทุกชนิ ด และอนุ ญาตให ้เขาล่าสัตว ์ทะเล
และอาหารทะเลต่างๆ

117
ี่
ไม่อนุ ญาตให ้ผูท้ ครองอิ ห ์รอม
ี่ ได ้ครองอิหรฺ อมตัดต ้นไม้และใบหญ้าบในเขตหะรอม ณ
หรือผูท้ ไม่
นรคมักกะฮฺนอกจากต้นอิซคิรฺ
และห ้ามล่าสัตว ์ป่ าในขอบเขตหะรอม ณ นครมักกะฮฺเช่นกัน
หากมีผใู ้ ดฝ่ าฝื นแล ้ว จะต้องจ่ายค่าชดใช ้ และห ้ามตัดต้นไม้
ห ้ามล่าสัตว ์ป่ าในเขตหะรอม ณ นครมะดีนะฮฺเช่นเดียวกัน
แต่หากมีการฝ่ าฝื นจะไม่ต ้องจ่ายค่าชดใช ้ใดๆทังสิ้ น้

่ อุสรรคและจาเป็ นต ้องทาในสิงต
ผูใ้ ดทีมี ่ ้องห ้าม
ยกเว้นการมีเพศสัมพันธ ์เช่น การกาจัดขน
สวมใส่เสือผ้ ้ าทีตั
่ ดเย็บเป็ นชุด และอืนๆ
่ ก็สามารถกระทาได ้

แต่ต ้องจ่ายค่าชดใช ้ ซึงสามารถเลื อกปฏิบต ิ งั นี ้ ถือศีลอดสามวัน
ั ด

หรือเลียงอาหารแก่ คนยากจน(ชาวมักกะฮฺ)หกคน

คนละหนึ งลิตรจากข ้าวสาลี หรือข ้าวบาเล่ หรืออืนๆที ่ ่
ใกล ้เคียงกัน
หรือเชือดแพะหนึ่ งตัว ผูใ้ ดกระทาสิงต ่ ้องหา้ มเพราะขาดความรู ้ ลืม
หรือถูกบังคับ จะไม่เป็ นบาป และไม่ต ้องจ่ายค่าชดใช ้ใดๆทังสิ ้ น้
เนื่ องจากอัลลอฮฺได ้ตร ัสไว ้ว่า
َۡ َ ۡ َ َۡ َٓ َّ َٓ ۡ َ َ َ َّ َ
]286 :‫﴾ [البقرة‬... ‫سينا أو أخطأنا‬
ِ ‫ ربنا لا تؤاخِذنا إِن ن‬...﴿

“โอ ้พระผูอ้ ภิบาลของเราอย่าเอาโทษแก่เรา


หากเราลืมหรือผิดพลาด” (อัลบะเกาะเราะฮฺ 286)
้ งต
แต่เขาจาเป็ นต ้องละทิงสิ ่ ้องห ้ามนั้นโดยทันที

่ มต
ผูใ้ ดฆ่าสัตว ์บก(สัตว ์ป่ าทีอนุ ั ใิ ห ้บริโภค)
่ ใ่ นการครองอิห ์รอม
ขณะทีอยู

118
หากเขามีปศุสต ่ ลก
ั ว ์ทีมี ่ ถู
ั ษณะเหมือนกับสิงที ่ กฆ่า
ให ้เขาเลือกระหว่างการเชือดสิงที ่ เหมื
่ อนกัน
แล ้วแจกจ่ายเพือเป็่ นอาหารแก่คนจนในเขตหะรอม ณ นครมักกะฮฺ
หรือจะประเมินสัตว ์ทีถู ่ กฆ่าเป็ นราคา(เป็ นเงิน)

แล ้วนามาซืออาหารแก่ คนยากจนคนละหนึ่ งลิตร
หรือจะถือศีลอดทดแทน (ถือศีลอดหนึ่ งวันทดแทนอาหารหนึ่ งลิตร)
หากเขาไม่มป ี ศุสต ่ ลก
ั ว ์ทีมี ่ กฆ่าแล ้ว
ั ษณะเหมือนกับสัตว ์ทีถู
ให ้เขาเลือกระหว่าง การประเมินเป็ นราคา(เป็ นเงิน)

แล ้วนามาซืออาหารแจกจ่ ายแก่คนจนในเขตหะรอม
หรือจะถือศีลอดทดแทน(ถือศีลอดหนึ่ งวันทดแทนอาหารหนึ่ งลิตร)

ค่าชดใช ้ในการเล ้าโลมโดยไม่มก ่ จิ


ี ารหลังอสุ
ี่
ก็เช่นเดียวกับค่าชดใช ้ในกรณี ทประสบอุ ่ ้
ปสรรคต ้องกระทาในสิงต
องห ้าม(เช่นมีเหาแล ้วต้องโกนศรีษะ) คือ ถือศีลอดสามวัน
หรือแจกจ่ายอาหารแก่คนจนในเขตหะรอม ณ นครมักกะฮฺ หกคน
หรือเชือดแพะหนึ่ งตัว

ค่าชดใช ้ในกรณี มเี พศสัมพันธ ์ชณะประกอบพิธห ี จั ญ ์


ั้
ก่อนการตะหัลลุลเอาวัล(การปลดอิหรฺ อมครงแรก)คื อ
เชือดอูฐหนึ่ งตัว หากไม่มค
ี วามสามารถ ก็ให ้ถือศีลอดสามวัน

ในระหว่างการทาหัจญ ์ และอีกเจ็ดวันเมือกลับภูมล ิ าเนา
และหากว่ามีเพศสัมพันธ ์หลังจากตะหัลลุลเอาวัล(การปลดอิหรฺ อม
้ั
ครงแรก) ก็ให ้ชดใช ้โดยการถือศีลอดสามวัน
หรือแจกจ่ายอาหารแก่คนจนในเขตหะรอม ณ นครมักกะฮฺ หกคน
หรือเชือดแพะหนึ่ งตัว

119
ี่
ผูท้ ประกอบพิ ธห
ี จั ญ ์แบบตะมัตตุอแฺ ละกิรอน (ยกเว ้นชาวมักกะฮฺ)
ต ้องเชือดสัตว ์พลี คือแพะหนึ่ งตัว หรือส่วนหนึ่ งจากเจ็ดส่วนของอูฐ
หรือส่วนหนึ่ งจากเจ็ดส่วนของวัว
หากเขาไม่มค ี วามสารถทีจะเชื ่ อดสัตว ์พลี
ก็ให ้ถือศีลอดสามวันระหว่างการทาหัจญ ์

และเจ็ดวันเมือกลั บภูมล ิ าเนา

ี่ กกีดกันจนมิสามารถทาหัจญ ์ให ้เสร็จสมบูรณ์


ผูท้ ถู
หากไม่มส ี ต
ั ว ์พลี ก็ให ้ถือศีลอดสิบวัน
จากนั้นก็ปลดจากการครองอิห ์รอมได ้

ี่ าในสิงต
• ผูท้ ท ่ ้องห ้ามซาหลายคร
้ ง้ั -
ทาสิงต่ ้องห ้ามชนิ ดเดียวกันหลายครงั้ แต่ยงั ไม่จา่ ยค่าชดใช ้
้ั ยว ซึงต่
ให ้จ่ายครงเดี ่ างกับค่าชดใช ้ในการล่าสัตว ์
(ต ้องจ่ายตามจานวนครงที ้ั ท ่ า ) -ทาสิงต
่ ้องห ้ามหลายครง้ั
แต่ต่างชนิ ด เช่น โกนศรีษะ แล ้วตัดเล็บ
ก็ต ้องจ่ายค่าชดใช ้ชนิ ดละหนึ่ งครง้ั

มีกอต (เขตกาหนด)
มีกอต มีสองประเภท

1.มีกอตเวลา คือ เดือนแห่งการทาหัจญ ์ คือเดือนเชาวาล


เดือนซุลเกาะอฺดะฮฺ และเดือนซุลหิจญะฮฺ

120
2.มีกอตสถานที่ คือ
่ ผู
สถานทีที ่ ป้ ระกอบพิธห ้ั
ี จั ญ ์หรืออุมเราะฮฺตงเจตนาเข ้าพิธ ี
่ ้ ่
ณทีตรงนัน ซึงมีอยู่ 5 แห่งด ้วยกัน

1.ซุลหุลยั ฟะฮฺ เป็ นมีกอตของชาวมะดีนะฮฺ


ี่ านมาทางมะดีนะฮฺ ห่างจากนครมักกะฮฺ 435 กิโลเมตร
และผูท้ ผ่

ซึงไกลที ่ ดจากบรรดามีกอตอืนๆ
สุ ่

2.อัลญุห ์ฟะฮฺ เป็ นมีกอตของชาวชาม(คือชาวซีเรีย จอร ์แดน


เลบานอน และชาวปาลัสไตน์) อียป ิ ต์
ี่ ่ในบริเวณหรือผูท้ ผ่
และผูท้ อยู ี่ านมาทางนั้น
เป็ นหมูบ ่ ้านหนึ่ งใกล ้กับรอบิฆ ฺ ห่างจาก นครมักกะฮฺ 180 กิโลเมตร
ณ ปัจจุบน ั ผูค้ นจะทาการครองอิห ์รอมจากหมู่บ ้านรอบิฆแฺ ทน

3.ยะลัมลัม เป็ นมีกอตของชาวเยเมน และผูท้ อยู ี่ ่ในบริเวณ


หรือผ่านมาทางนั้น ยะลัมลัม คือ เป็ นทีราบลุ
่ ่ม ห่างจากมักกะฮฺ
ประมาณ 92 กิโลเมตร

4.ก็อรนุ ลมะนาซิล เป็ นมีกอตของชาวนัจญ ์ดฺ ฏออิฟ


ี่ านมาทางนั้น ปัจจุบน
และผูท้ ผ่ ั รู ้จักกันในชือ่ อัสสัยลุลกะบีร
ห่างจากมักกะฮฺ 75 กิโลเมตร และจุดทีอิ ่ ห ์รอมคือ
ทางตอนเหนื อสุดของก็อรนุ ลมะนาซิล

5.ซาตุ อิรกฺ เป็ นมีกอตของชาวอิร ัก คุรอซาน


ชาวนัจญ ์ดฺส่วนกลางและเหนื อ และผูท้ อยู ี่ ่ในบริเวณ
ี่ านมาทางนั้น เป็ นทีราบลุ
และผูท้ ผ่ ่ ม ่ื า ฎอรีบะฮฺ
่ มีชอว่
ห่างจากมักกะฮฺประมาณ 100 กิโลเมตร

121
• มีกอตเหล่านี ้ เป็ นมีกอตของชาวเมืองต่างๆ
่ ้กล่าวแล ้วข ้างต ้น และเป็ นมีกอตของผูท้ ผ่
ตามทีได ี่ านมาทางนั้น
ี่ ความประสงค ์จะประกอบพิธห
สาหร ับผูท้ มี ี จั ญ ์หรืออุมเราะฮฺ

ี่
•ผูท้ อาศัยอยู่ในระหว่างเขตมีกอตและ นครมักกะฮฺ

ก็ให ้ยึดมีกอตของเขา ณ จุดทีเขาต ้องการจะครองอิห ์รอม
แม้กระทั่งชาวมักกะฮฺให ้ครองอิห ์รอมการประกอบพิธห ี จั ญ ์จากมักก
ะฮฺ
่ ความประสงค ์จะประกอบพิธห
•ชาวมักกะฮฺ เมือมี ี จั ญ ์
ก็ให ้ครองอิห ์รอมจากมักกะฮฺ
ส่วนการประกอบพิธอี ม ุ เราะฮฺน้ันก็ให ้ครองอิห ์รอมจากนอกเขตหะร
อม ณ นครมักกะฮฺจากทิศใดก็ได้

(ตังเจตนาครองอิ หรฺ อมนอกเขตหะรอมนั่นเอง)

• หากเส ้นทางการเดินทางของเขาไม่ได ้ผ่านทางมีกอตโดยตรง



ก็ให ้ครองอิห ์รอมเมือเขาผ่ ่ ่ขนานกับมีกอตทีใกล
าน ณจุดทีคู ่ ่ ด
้ทีสุ
ไม่ว่าจะผ่านโดยเครืองบิ่ น รถยนต ์ และเรือ

ี่
•ไม่อนุ ญาตให ้ผูท้ ประกอบพิ
ธห ี จั ญ ์หรืออุมเราะฮฺ
ั้
ผ่านมีกอตโดยไม่ตงเจตนาครองอิ ่
ห ์รอม ณทีตรงนั ้น
และผูใ้ ดผ่านเลยมีกอตโดยไม่มก ี ารครองอิห ์รอม
จาเป็ นต ้องกลับไปครองอิห ์รอม ณทีมี ่ กอตทันที
หากเขาไม่ได ้กลับไปก็ให ้ครองอิห ์รอม ณจุดทีเขาอยู่ ่นั้นแหละ
แต่เขาจาเป็ นต้องจ่ายชดใช ้ด้วยดัม(สัตว ์พลี)
ส่วนการประกอบพิธห ี จั ญ ์และอุมเราะฮฺของเขานั้นใช ้ได ้

122
่ กอตก็ถอื ว่าใช ้
และหากเขาจะครองอิห ์รอมก่อนจะเดินทางมาถึงทีมี
ั เิ ช่นนั้น
ได ้เช่นกัน แต่ไม่สมควรปฏิบต

การทากรุบานและอะกีเกาะฮฺ

การทากรุบานและอะกีเกาะฮฺ
อัลอุฎหิยะฮฺ (กุรบาน)
คือ อูฐ วัว แพะหรือแกะ
่ อดในวันนะหัร(ฺ อีดอัฎหา)และวันตัชรีก (11-13)
ทีเชื
่ นทาน ซึงเป็
เดือนซุลหิจญะฮฺ) เพือเป็ ่ นสิงที
่ ส่
่ งเสริมให ้ปฏิบต
ั ิ

เวลาเชือดสัตว ์ คือ
หลังจากละหมาดอีดอัฎหา ในวันที่ 10 จนถึงวันที่ 13
เดือนซุลหิจญะฮฺ
้ นสามส่วน เพือร
ควรแบ่งเนื อเป็ ่ ับประทานเองหนึ่ งส่วน
่ นของมอบให ้(ฮะดียะฮฺ)หนึ่ งส่วน
เพือเป็
และบริจาคแก่คนจนอีกหนึ่ งส่วน

การทาอุฎหิยะฮฺนั้น มีความประเสริฐอย่างยิง่
เนื่ องจากทาให ้เกิดความสะดวก ยังประโยชน์แก่คนจน
และขจัดความเดือดร ้อนของพวกเขา

และการเชือดสัตว ์พลีจะใช ้ไม่ได ้


จนกว่าอายุของอูฐจะครบห ้าปี บริบูรณ์

123
อายุของวัวจะครบสองปี บริบูรณ์ อายุของแกะจะครบหกเดือน
และอายุของแพะจะครบหนึ่ งปี บริบูรณ์

แพะหนึ่ งตัวสาหร ับหนึ่ งคน อูฐหนึ่ งตัวได ้ถึงเจ็ดส่วน


และวัวหนึ่ งตัวได ้ถึงเจ็ดส่วน และอนุ ญาตให ้แพะหนึ่ งตัว หรืออูฐ
หรือวัว เป็ นกุรบานสาหรับตัวเขาและคนในครอบครัว
่ ามาเชือดนั้น
และสัตว ์ทีจะน

ควรเป็ นสัตว ์ทีสมบู รณ์ปราศจากตาหนิ ใดๆทังสิ ้ น้

อัลอะกีเกาะฮฺ
่ อดในกรณีทคลอดบุ
คือ สัตว ์ทีเชื ี่ ตร ส่งเสริมให ้ปฏิบตั ิ
กาหนดให ้เชือดแพะสองตัวสาหร ับทารกชาย
และหนึ่ งตัวสาหร ับทารกหญิง จะเชือดในวันทีเจ็ ่ ด
(นับจากวันคลอด) และให ้ตังชื ้ อเด็
่ กในวันทีเจ็ ่ ด และโกนศรีษะทารก
แล ้วบริจาคเงินตามราคาทองทีมี ่ น้าหนักเท่ากับผมของทารก
หากพลาด(เลยเวลา)วันทีเจ็ ่ ด ก็ให ้ทาในวันทีสิ ่ บสี่
หากพลาดอีกก็ให ้ทาวันทียี ่ สิ ่ บเอ็ด
หลังจากนั้นให ้ทาในเวลาใดก็ได ้
และไม่ควรทาให ้กระดูกแพะหักหรือแตก(ไม่เป็ นการบังคับ)

ซึงการท าอะกีเกาะฮฺน้ันเป็ นการขอบคุณอัลลอฮฺในสิงใหม่ ่ ่
ๆทีพระอง
ค ์ได ้ประทานให ้แก่เรา และลูกคนใหม่ทก ี่ าลังจะมา

การญิฮาด

124
การญิฮาด
นิ ยาม
คือ
การทุ่มเทพละกาลังและความสามารถในการต่อสู ้กับบรรดาผูปฏิ
้ เส
ธศรัทธา

ประโยชน์ของการบัญญัตก
ิ ารญิฮาด
การญิฮาดนั้น คือจุดสูงสุดแห่งโดมของอิสลาม
เป็ นการเสียสละอันประเสริฐยิง่

ถูกบัญญัตเิ พือให ้บรรลุเป้ าหมายต่อไปนี ้
่ ดชูดาร ัสของอัลลอฮฺให ้สูงส่ง
1.เพือเชิ
และให ้มีการเคารพภักดีต่ออัลลอฮฺเพียงองค ์เดียว
่ นความสุขแก่มนุ ษยชาติ
2.เพือคื
และนาพวกเขาออกจากความมืดสูแ่ สงสว่าง
่ ารงไว ้ซึงความยุ
3.เพือด ่ ตธิ รรมบนแผ่นดิน ให ้สัจธรรมปรากฏ

และความเท็จต ้องเสือมสลาย
้ ให ้ความวิบต
อันจะเป็ นการยับยังมิ ั เิ กิดขึน้

4.เพือเผยแพร่
ศาสนา ปกป้ องมุสลิม
่ ้ายของผูป้ ฏิเสธศร ัทธา
และตอบโต ้แผนการชัวร

125

ข ้อชีขาดทางบทบั ่
ญญัตเิ กียวกั
บการญิฮาด
การญิฮาด
โดยทั่วไปนั้นเป็ นภาคบังคับต่อส่วนรวม(ฟัรฎก ู ฟิ ายะฮฺ)
่ ตวั แทนทีเหมาะสมออกมาท
คือการทีมี ่ ่
าหน้าทีแทนคนอื ่

และจะเป็ นภาคบังคับรายบุคคล (ฟัรฎอ ู ยั น์)
สาหร ับทุกคนทีมี ่ ความสามารถ ในสถานการณ์ดงั ต่อไปนี ้


1.เมืออยู ่ าสงคราม
่ในแถวทหารเพือท
่ ตรูบุกรุกบ ้านเมือง
2.เมือศั
่ น้ าออกคาสังรบหรื
3.เมือผู ่ ่
อเคลือนทั


เงือนไขของผู ท้ าการญิฮาด
• เป็ นมุสลิม • มีสติสม
ั ปชัญญะ •
บรรลุนิตภิ าวะตามศาสนบัญญัติ • เพศชาย •
ปราศจากความอุปสรรคหรือความลาบาก (เช่น เจ็บป่ วย ตาบอด
และพิการ) • มีเสบียง

ประเภทของการญิฮาด
การญิฮาดมี 4 ประเภท

เสียสละกาลังกาย โดยการเรียนรู ้บัญญัตศ


ิ าสนา ปฏิบต
ั ต
ิ าม
เผยแพร่
และอดทนต่อความยากลาบากหรือการถูกประทุษร ้ายในหนทางกา
รเรียกร ้องเชิญชวนสู่อส
ิ ลาม
126
ต่อสู ้กับชัยฏอน(มารร ้าย)
คือการขจัดความคลุมเครือและอารมณ์ใฝ่ ต่า

ซึงมาจากการยุ ยงของมารร ้ายและมนุ ษย ์

ต่อสู ้กับบรรดาผูป้ ฏิเสธศรัทธาและพวกกลับกลอก (มุนาฟิ ก)


ด้วยวาจา พละกาลัง และใจ
่ งหลาย
ต่อสู ้กับเหล่าผูอ้ ธรรม ผูท้ าอุตริกรรม และความชัวทั ้
ี่ ดต่อสู ้ด ้วยการใช ้มือหรือกาลังกายหากมีความสามารถ
ดีทสุ
หากไม่สามารถก็ด ้วยวาจา หากไม่สามารถก็ด ้วยใจ

ี่ ยชีวต
ความประเสริฐของผูท้ เสี ิ ในสงคราม

ิ ในสงครามนั้น ณ ทีอั
สาหร ับผูเ้ สียชีวต ่ ลลอฮฺมผี ลบุญ 7 ประการ
้ เลือดหยดแรก
1.ได ้ร ับการอภัยโทษตังแต่
2.จะได ้เห็นทีพ่ านักของเขาในสวรรค ์
3.จะได ้รับการคุ ้มครองจากการลงโทษในหลุมศพ

4.เขาจะปลอดภัยจากการตืนตระหนกคร ั้ งใหญ่
งยิ ่ (ในวันปรโลก)
5.จะได ้สวมอาภรณ์แห่งศรัทธา 6.จะมีสาวสวรรค ์เป็ นภรรยา
7.จะได ้รับการขออุทธรณ์ให ้แก่เครือญาติถงึ เจ็ดสิบคน

หลักปฏิบต
ั ใิ นการทาสงคราม
ส่วนหนึ่ งจากหลักปฏิบต ั ใิ นการทาสงครามนั้นคือ
ไม่ตต
ี ลบหลังข ้าศึก ไม่ฆ่าเด็กและสตรี
หากพวกเขาไม่รว่ มทาสงครามด้วย ไม่ลาพองตน ไม่หลงตน
ไม่คาดหวังอยากจะเจอศัตรู

127
ต้องขอดุอาอ ์จากอัลลอฮฺให ้พระองค ์ช่วยเหลือ “โอ ้อัลลอฮฺ
ผูท้ รงประทานคัมภีร ์ ผูขั ่
้ บเคลือนก ้อนเมฆ
ผูท้ าให ้ศัตรูพลพรรคปราชัย ได ้โปรดให ้พวกเขาพ่ายแพ้
และให ้พวกเราได ้รับชัยชนะเหนื อพวกเขาด้วยเถิด”

ห ้ามหันหลังหนี ขณะเผชิญหน้ากับศัตรู นอกจากในสองกรณี



ถอยหนี เพือการสู ่ งหลั
้รบ (ถอยเพือตั ้ ก)


ถอยเพือไปรวมกั
บอีกกลุ่ม

บรรดาเชลยศึก
สตรีและเด็กจะถูกจับเป็ นทาส

สาหร ับผูช้ ายทีเป็่ นนักรบฝ่ ายตรงข ้ามน้ัน


ทางผูน้ ามีสท ์ อกปฏิบต
ิ ธิเลื ิ ่อพวกเขาดังนี ้ คือ ปล่อยพวกเขาไป
ั ต
หรือเรียกค่าไถ่ หรือประหารชีวต ิ

ผูน้ า(แม่ทพ ั ) ต้องตรวจตราทหารเมือออกรบ ่


ห ้ามมิให ้ผูท้ ชัี่ กจูงยุยงผูอ้ นให
ื่ ้
้ละทิงสงคราม
ี่ อกวนทาให ้ทหารเสียขวัญกาลังใจออกไปร่วมสู ้รบ
หรือผูท้ ก่
และไม่อาศัยความช่วยเหลือจากต่างศาสนิ ก (กาฟิ ร)
นอกจากในภาวะคับขันเท่านั้ ให ้จัดเตรียมเสบียง

และสังเคลื ่
อนทั พโดยสุภาพ
และจัดหาทีพ ่ านักทีดี ่ แก่ทหารและหักห ้ามมิให ้ทหารกระทาการฝ่ า
ฝื นบทบัญญัติ สร ้างขวัญกาลังใจ
มุ่งหวังการตายในสงครามอย่างมีเกียรติ กาชับให ้มีความอดทน
128
แบ่งทหารเป็ นหมู่เหล่า อาศัยผูม้ ป
ี ระสบการณ์ ให ้จัดเวรยาม
ส่งกองสอดแนมไปยังศัตรู ให ้ทรัพย ์เชลยเป็ นรางวัลแก่ทหาร
ปรึกษาหารือกับสภาทีปรึ่ กษาในการทาสงคราม


หน้าทีของทหารต่ อผูน
้ า(แม่ทพ
ั )
่ งผูน้ า มีความอดทนอดกลัน
ทหารต ้องเชือฟั ้
ี่ ตรูจโู่ จม
ไม่ทาสงครามโดยไม่ได ้ร ับอนุ ญาต เว ้นแต่ในกรณี ทศั
และเกรงว่าจะได ้รับอันตราย
และหากศัตรูขอเจรจาพักรบ(ทาสุดทิ)หรืออยูใ่ นเดือนต้องห ้าม(เดือ
นซุลเกาะอฺดะฮฺ เดือนซุลหิจญะฮฺ เดือนมุหรั ร็อม และเดือนเราะญับ)
ก็สามารถกระทาได้

หมวดที่ 2 การทาธุรกรรม

ข ้อชีขาดทางบทบั ่
ญญัติ และเงือนไขต่ ้
างๆของการซือขาย
่ บดอกเบีย้
บทบัญญัตเิ กียวกั

ข ้อชีขาดทางบทบัญญัติ

และเงือนไขต่างๆของการเช่าและการว่าจ ้าง

ข ้อชีขาดทางบทบั ่
ญญัติ และเงือนไขต่ างๆของการวะกัฟ

ข ้อชีขาดทางบทบั ่
ญญัติ และเงือนไขต่ างๆของพินัยกรรม

129
หมวดที่ 2 การทาธุรกรรม

การซือขาย

ความหมายของการซือขายตามหลั
กภาษาและตามบทบัญ
ญัติ
เชิงภาษา มาจากคาว่า บาอา คือ

การแลกเปลียนทร ัพย ์สินกับทร ัพย ์สิน

หรือการให ้สิงแลกเปลี ่
ยนแก่ กน

เชิงบทบัญญัติ คือ การทานิ ตก ิ รรม(หรือข ้อตกลง)



แลกเปลียนทร ์
ัพย ์สิน โดยให ้ถือกรรมสิทธิครอบครอง

หรือให ้ใช ้ประโยชน์อย่างถาวร และไม่ใช่เพือการกุ ศล

ข ้อชีขาดทางบทบั ญญัติ

การซือขายเป็ ่ มต
นสิงอนุ ั โิ ดยอิงหลักฐานจากอัลกุรอาน หะดีษ
มติเอกฉันของปวงปราชญ ์ และสอดคล ้องกับสติปัญญา

เหตุผลจากการอนุ มต
ั ก ้
ิ ารซือขาย
เนื่ องจากเงินตราและสินค ้านั้น อยู่กระจัดกระจายในหมู่ผค ู ้ นทั่วไป
ขณะทีผู ่ ห้ นึ่ งมีความต ้องการสิงที ่ อยู
่ ่ในการครอบครองของอีกผูหนึ ้ ่

ง ซึงเขาจะไม่ ิ่
ได ้ร ับ เว ้นแต่จะต ้องมีสงแลกเปลี
ยน่

ซึงการซื ้
อขายกั นเป็ นการขจัดความเดือดร ้อนดังกล่าว
และบรรลุในสิงที ่ ต่ ้องการ ดังนั้นศาสนาจึงอนุ มต ั ก ้
ิ ารซือขาย

เพือให ้เกิดประโยชน์โดยรวม
130

องค ์ประกอบหลักของการซือขาย

องค ์ประกอบหลักของการซือขาย คือ

คาเสนอและสนอง

ผูซ ื้
้ อและผู ข
้ าย

สินค้าและราคา

สานวนการซือขาย
คือ คาเสนอและคาสนองตอบรับ และทุกๆ
่ บ่
สิงที ่ งบอกถึงความพึงพอใจระหว่าวสองฝ่ าย(ผูขายและผู้ ซ ื ้ เช่น
้ อ)
ฉันขายแก่ท่าน ฉันมอบสิงนี ่ แก่
้ ท่าน
หรือฉันให ้เป็ นกรรมสิทธิของท่ ์ าน
และผูซ ื้
้ อจะกล่ าวว่าตอบสนองด ้วยคาว่า ฉันซือ้
ฉันร ับเป็ นกรรมสิทธิ ์ ฉันตกลง หรือคาอืนๆ ่ ในทานองนี ้

และการซือขายจะถื อว่าสมบูรณ์ได ้เช่นกันด ้วยการกระทา(เช่น
การมอบให ้ หรือการร ับ เป็ นต ้น)จากฝ่ ายหนึ่ งฝ่ ายใด
หรือจากทังสองฝ่้ าย(ผูซ้ อื ้ ผูข้ าย)ก็ได ้

การซือขายกั
นทางโทรศัพท ์
การสนทนาทางโทรศัพท ์นั้น ให ้ถือว่าเป็ นสถานทีท
่ าการซือขาย


และการซือขายจะสิ ้ ดลงเมือจบการสนทนา
นสุ ่

เพราะสถานทีในการซื ้
อขาย ให ้ยึดธรรมเนี ยมปฏิบตั เิ ป็ นเกณฑ ์

เงือนไขที
ท ่ าให ้การซือขายสมบู
้ รณ์ 7 ประการ
131

ความพึงพอใจจากทังสองฝ่ ้ อื ้ ผูข
าย (ผูซ ้ าย)

หรือตัวแทนของทังสองฝ่ าย

ทังสองฝ่ ่ าเนิ นการได ้เป็ นอิสระ (คือ ป็ นไท
ายอยู่ในวิสยั ทีจะด
บรรลุนิตภ
ิ าวะและมีสติสมั ปชัญญะ)
่ อนุ
สินค ้าต ้องเป็ นสิงที ่ มต ั ใิ ห ้ใช ้ประโยชน์ ดังนั้น

ไม่อนุ ญาตให ้ซือขายสิ ่ ไม่
งที ่ มป ี ระโยชน์
่ ้องห ้าม(หะรอม) เช่น เหล ้า และหมู
หรือเป็ นสิงต
่ ไม่
ส่วนสิงที ่ มป ี ระโยชน์นันไม่
้ ่ มต
เป็ นทีอนุ ั ิ
นอกจากในภาวะคับขัน(เพือเอาชี ่ วติ รอด) เช่น ซากสัตว ์

สินค้าต ้องเป็ นกรรมสิทธิของผู ขาย

หรือผูข
้ ายได ้รับอนุ ญาตให ้ขาย ขณะทาสัญญา

สินค้าต้องรู ้ชัดเจนโดยการเห็น หรือระบุลก


ั ษณะรูปพรรณ

ราคาเป็ นทีทราบกั
นระหว่างผูซ ื้
้ อและผู
ขาย

สินค ้าและราคาสามารถนาส่งมอบแก่กน ั ได ้ ดังนั้น


่ เตลิ
การขายสิงที ่ ด (เช่น สัตว ์ หรือทาส) ขายนกในอากาศ
หรือทานองเดียวกันนี ้ ใช ้ไม่ได ้

เงือนในการซื ้
อขาย

เงือนไขในการซื ้
อขายมี 2 ประเภท

1.เงือนไขถู ่ ผลบังคับ
กต ้องซึงมี

2.เงือนไขไม่ ่ งผลให ้การทาสัญญาเป็ นโมฆะ
ถูกต ้องซึงส่

132

สาหร ับเงือนไขถู ่
กต ้อง เช่น มีเงือนไขว่ าให ้ผ่อน
หรือจ่ายก่อนเพียงบางส่วน หรือให ้มีสงค ิ่ าประกั
้ น
หรือมีหลักประกัน เพราะส่งผลดีต่อพันธะสัญญา

หรือมีเงือนไขเกี ่
ยวกั บลักษณะของสินค ้า ท่านนบี
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า
“บรรดามุสลิมต ้องปฏิบต ั ต ่
ิ ามเงือนไขที ่ ้ไว ้ต่อกัน” (บันทึกโดย
ให
อะหมัด และอบู ดาวูด 3594)
่ ขายตั
และการทีผู ้ ้ อนไขต่
งเงื ่ อผูซ ื้ า
้ อว่
จะใช ้ประโยชน์ของสินค้าสักระยะ เช่น
อาศัยในบา้ นหลังนั้นเป็ นเวลาหนึ่ งเดือน เงือนไขเช่
่ ้ ถูกต ้อง
นนี ก็
เป็ นต้น

เงือนไขไม่ ้
ถูกต ้อง และการซือขายเป็ นโมฆะ เช่น
ฝ่ ายหนึ่ งตังเงื
้ อนไขแก่
่ อกี ฝ่ ายโดยมีสญั ญาซ ้อน เช่น

ซือขายพร ้
้อมกู ้ยืม และให ้เช่าพร ้อมกับซือขาย

เงือนไขเป็ ้
นโมฆะแต่เพียงลาพัง แต่การซือขายไม่ เป็ นโมฆะ เช่น
ผูซ
้ อตั ้ ้ ่ ้
ื งเงือนไขว่าหากซือสินค ้าไปแล ้วเกิดขาดทุน ก็จะคืนสินค ้า
หรือตังเงื ้ อนไขว่
่ าอย่าไปขายต่อหรือมอบให ้แก่ผใด ู้
แต่เมือเงื่ อนไขนั
่ ้นส่งผลดีต่อสัญญาซือขาย
้ ่
เงือนไขนั ้นก็ถูกต ้อง

่ ้องห ้าม
การค ้าขายทีต
อิสลามได ้อนุ มต
ั ก ่ ามาซึงความดี
ิ ารค ้าขายทุกประเภททีจะน ่ และค

วามจาเริญ และห ้ามการซือขายบางประเภท
เนื่ องจากไม่ทราบรายละเอียด และมีความเสียง่

133
หรือเกิดผลเสียต่อวงการตลาด หรือเกิดผลต่อความรู ้สึก
เป็ นเหตุให ้มีการริษยาต่อกัน และพิพาทกัน ได ้แก่

บัยอุลมุลามะสะฮฺ (การซือขายโดยการสั ้ มผัส) เช่นผูข


้ ายกล่าวว่า

ผ้าชินใดที ่ านสัมผัส ก็จะเป็ นของท่าน ด ้วยราคาเท่านั้นเท่านี ้
ท่
การขายเช่นนี ้ เป็ นโมฆะ
เนื่ องจากมีความไม่ชดั เจนและมีความเสียง ่ บัยอุนมุนาบะซะฮฺ
(การโยนสินค ้าให ้แก่ผซ ื ้ เช่นกล่าวว่า
ู ้ อ)

ผ้าชินใดที ่ านโยนมายังฉัน ก็จะเป็ นของฉัน
ท่
ด ้วยราคาเท่านั้นเท่านี ้ การซือขายเช่ ้ ้ เป็ นโมฆะ
นนี ก็
เนื่ องจากมีความเสียงและไม่
่ ชดั เจน บัยอุนหะศอต (โยนก ้อนหิน)
เช่นผูข ้ ายกล่าวว่า จงโยนก ้อนหิน หากโดนชินใด ้
ก็จะเป็ นของท่าน ด ้วยราคาเท่านั้นเท่านี ้
การซือขายเช่้ ้ ไม่ถก
นนี ก็ ู ต ้อง
เนื่ องจากไม่มค ี วามชัดเจนและมีความเสียง ่ บัยอุนนัจญ ์ชฺ
(แบบมีหน้าม้า)

คือการเพิมราคาจากผู ที ่ ต ้องการซือสิ
้ ไม่ ้ นค ้า(เพือให ่ ้ผูซ ื้
้ อหลงกล

และซือในราคาที ่ ง) เป็ นการซือขายที
สู ้ ต ่ ้องห ้าม
เพราะเกิดผลเสียต่อผูซ ้ อื ้ และเป็ นการหลอกลวง

การซือขายที ่ บซ ้อนกันในเวลาเดียวกัน เช่น ผูข
ทั ้ ายกล่าวว่า
ฉันขายสิงนี ่ แก่
้ ท่าน โดยทีท่ ่ านต ้องขายสิงนั ่ ้นแก่ฉัน หรือ
ฉันขายสิงนี ่ แก่
้ ท่านด ้วยราคาสด 10 หรือราคาผ่อน 20
แล ้วก็แยกย้ายจากกันก่อนทีจะตกลงกั ่ นในราคาใดราคาหนึ่ ง

ซึงการกระท ้ ถูกต ้อง
าเช่นนี ไม่
เนื่ องจากการซือขายยั ้ งผูกพันอยู่กบ ่
ั เงือนไข (ในตัวอย่างแรก)

134
และเนื่ องจากราคาไม่แน่ นอน (ในตัวอย่างทีสอง)

ี่ ่ในเมืองขายแทนผูม้ าจากชนบท นั่นก็คอ
ผูท้ อยู ื นายหน้า
(ตัวกลาง) ซึงจะขายสินค ้าด ้วยราคาสูงกว่าราคาทั่วไป (ปกติ)

การขายตัดหน้า เช่น เขากล่าวแก่คนทีจะซื ่ อสิ
้ นค ้าชินหนึ
้ ่ งในราคา
10 เหรียญ โดยกล่าวว่า ณ ทีฉั ่ นก็มส ิ่
ี งเหมือนกันแต่ขายแค่ 9
เหรียญ
่ งมิได ้ครอบครอง
ขายสินค ้าทียั

บัยอุลอีนะฮฺ คือ ขายสินค้าในราคาผ่อน (หรือเครดิต)


้ นด ้วยราคาสด ในราคาทีน้
แล ้วซือคื ่ อยกว่า


การซือขายหลั ้ั สองในละหมาดวั
งจากอะซานครงที ่ นศุกร ์

(สาหร ับคนทีวาญิ
บต ้องละหมาดวันศุกร ์)

บทบัญญัตแิ ละประเภทของดอกเบีย้
่ ยจากดอกเบีย้
แนวทางทีจะปลอดภั

นิ ยามของดอกเบีย้
่ มและงอกเงย
เชิงภาษา คือ การเพิมเติ

และจะถูกนามาใช ้กับการซือขายที
ต ่ ้องห ้ามทุกประเภท


เชิงบทบัญญัติ คือ การเพิมในสิ ่ างๆ
งต่
่ กกาหนดไว ้เป็ นการเฉพาะ
ทีถู

135
หรือการทานิ ตก
ิ รรมในการแลกเปลียน ่
โดยทีไม่่ มค
ี วามเท่าเทียมกันตามกรอบของศาสนา หรือ
่ ่
สิงแลกเปลียนของอี ้
กฝ่ ายยังคงค ้างจ่าย หรือค ้างจ่ายทังสองฝ่ าย

เหตุผลการห ้ามดอกเบีย้
้ นสิงต
ดอกเบียเป็ ่ ้องห ้าม (หะรอม) เนื่ องจาก

มีความไม่สมดุลความเท่าเทียมกัน
ระหว่างความเหน็ ดเหนื่ อยกับผลทีได ่ ้ร ับ
้ เอาดอกเบี
เพราะเจ ้าหนี ที ่ ้ ้น ไม่ต ้องใช ้ความพยายาม
ยนั
ไม่ต ้องทาอะไร
และไม่ต ้องร ับภาระการขาดทุนในสิงที ่ จะเป็
่ นรายได ้ของเขา

หรือกาไรทีเขาจะได ้ร ับ

ระบบเศรษฐกิจจะพังทลาย เพราะเจ ้าหนี ้


ไม่ทางานและอยู่อย่างสบาย เกียจคร ้าน
เพียงเพราะมีความละโมบในผลตอบแทนทีเป็ ่ นกาไร

และเพิมภาระแก่ ลูกหนี ้
โดยทีต่ ้องปฏิบต ิ ามข ้อบังคับของระบบดอกเบีย้
ั ต

จริยธรรมของสังคมได ้ถูกทาลายลงไป
อันเนื่ องมาจากการขาดความร่วมมือระหว่างสมาชิกในสังคม
เป็ นเหตุนาไปสู่การแตกแยก การเห็นแก่ตวั
่ การเสียสละให ้กัน
และการเอาร ัดเอาเปรียบกัน แทนทีจะมี
้ ้อเผือแผ่
มีความร ักห่วงแหนกัน และมีการเอือเฟื ่ ระหว่างกัน

136
การแตแยกสังคมเป็ นสองกลุ่มชนชันที้ ขั
่ ดแย้งกันคือ

ระหว่างกลุ่มชนคนรวยทีฉกฉวยโอกาสและจั ดการทุนทร ัพท ์ของต
นเอง และกลุ่มชนคนจน ผูอ้ ่อนแ
่ กเอาร ัดเอาเปรียบจากการใช ้แรงงานและค่าตอบแทน
ทีถู
โดยริดรอนสิทธิอย่างไม่เป็ นธรรม

ประเภทของดอกเบีย้

ดอกเบียตามทั
ศนะของผูร้ ู ้ส่วนใหญ่ มี 2 ประเภท คือ
้ งเวลา (ริบา อันนะสีอะฮฺ) คือ
ดอกเบียเชิ
การยืดหรือย่อระเวลาในการชาระหนี ้ นั่นก็คอ

่ านวนดอกเบียเพื
การเพิมจ ้ อทดแทนกั
่ บการยืดระยะเวลาในการชาร
้ ่ ้
ะหนี ซึงเรียกว่า การผ่อนดอกเบียในระยะยาว
้ งปริมาณ หรือความเหลือมล
ดอกเบียเชิ ่ ้ บา อัลฟัฎลฺ)
า(ริ

และ ริบาอัลฟัฎลฺ คือ



ความเหลือมล ้ เท่าเทียมกันของสิงแลกเปลี
าไม่ ่ ่
ยนชนิ ดเดียวกัน
เช่น ทองคาแลกเปลียนกั ่ ่ น้าหนักไม่เท่ากัน
บทองคาทีมี
ข ้าวบาเล่กบั ข ้าวบาเล่ทมีี่ ปริมาณไม่เท่ากัน หรืออืนๆ
่ ในทานองนี ้
จากทร ัพย ์สินทีมี่ มูลเหต ดอกเบียเชิ
้ งปริมาณ(คือ ทองคา เงิน
ข ้าวสาลี ข ้าวบาเล่ อินทผลัม และเกลือ)

ดอกเบียประเภทนี ้ กเรียกว่า “ดอกเบียการซื
ถู ้ ้
อขาย
และดอกเบียที ้ ซ่
่ อนเร ้น (มองไม่เห็น)”

137

ดอกเบียประเภทที ่
สามตามทั
ศนะของอัชชาฟิ อียะฮฺ(ผูร้ ู ้มัซฮับชา
้ ทธิ ์ คือ
ฟิ อีย ์) คือ ดอกเบียในการครอบครองกรรมสิ
การยืดระยะเวลาในการครอบครองสิงที ่ แลกเปลี
่ ่
ยนจากทั ้
งสองฝ่ าย
หรือจากฝ่ ายหนึ่ งฝ่ ายใด

ดอกเบียประเภทที ่ (ตามทั
สี ่ ศนะของผูร้ ู ้บางท่าน)

คือดอกเบียในการกู ้ยืม
่ ยกร ้องผลประโยชน์ในเวลาเดียวกัน
เป็ นการกู ้ยืมทีเรี

แต่ในความเป็ นจริง
้ งคงอยู่ในสองประเภทหลักข ้างต้น
การแบ่งประเภทของดอกเบียยั
้ น 2 ประเภท
นักเศรษฐศาสตร ์สมัยใหม่แบ่งดอกเบียเป็
้ นกู ้ทีน
ดอกเบียเงิ ่ ามาใช ้ในการบริโภค
้ นกู ้ทีน
และดอกเบียเงิ ่ ามาลงทุน

่ ถู
คือ ส่วนเพิมที ่ กเก็บจากการกู ้ยืมทีน
่ าไปซือสิ
้ งจ่ าเป็ นพืนฐาน

่ ม
เช่นอาหาร เครืองดื ่ และยาร ักษาโรค และในทานองนี ้

้ นกู ้ทีน
ดอกเบียเงิ ่ ามาลงทุน คือ เพือใช
่ ้ในการผลิต
เช่นสร ้างโรงงาน โรงเรือน
่ าหมายในการค ้าเป็ นการเฉพาะ
หรือเพือเป้
้ งแบ่งได ้อีกเป็ น 2 ประเภท
และดอกเบียยั

ดอกเบียทบเท่ าทวี คือ
้ คิ
ดอกเบียที ่ ดเพิมในอั
่ ้ ง)
ตราหลายเท่า(ดอกเบียสู

138

ดอกเบียธรรมดา คือ
้ คิ
ดอกเบียที ่ ดเพิมเพี
่ ยงเล็กน้อย(ดอกเบียต
้ ่า)

ดอกเบียเป็้ นสิงต
่ ้องห ้ามในทุกๆการทาธุรกรรม
้ งปริมาณหรือดอกเบียเชิ
ไม่ว่าจะเป็ นดอกเบียเชิ ้ งเวลา

ดอกเบียทบเท่ ้
าทวี หรือดอกเบียธรรมดา
ดอกเบียเพื้ อการบริ
่ โภคหรือลงทุน อัลลอฮฺตร ัสว่า
َ َ َ َ َۡ ۡ
َّ َ َّ َّ َ َ َ
]275 :‫﴾ [البقرة‬.. ‫ٱلرب َٰوا‬
ِ ‫ وأحل ٱّلل ٱلبيع وحرم‬....﴿

“อัลลอฮฺทรงอนุ มต
ั ก ้
ิ ารค ้าขาย และห ้ามดอกเบีย”
(อัลบะเกาะเราะฮฺ 275)
่ ย้ มีหลายประการ
แนวทางทีจะปลอดจากดอกเบี
อิสลามได ้วางหลายแนวทางเพือให ่ ์
้บริสุทธิจากดอกเบี ้
ยในปั จจุบ ั
น และอนาคตได ้แก่ อนุ มต ั ใิ ห ้มีการหุ ้นส่วน (ร่วมลงทุน)
คือการมีหุ ้นส่วนจากสองคน คนหนึ่ งมีต ้นทุน(เป็ นเงิน)
และอีกคนหนึ่ งเป็ นผูน้ าไปลงทุน(ลงมือทา)
ผลกาไรจะแบ่งไปตามทีได ่ ้ตกลงกันไว ้ หามีการขาดทุนใดๆ
ก็จะเกิดแก่เจ ้าของเงินทุน ส่วนผูน้ าไปลงทุนนั้น
จะไม่ต ้องร ับผิดชอบในส่วนต ้นทุนทีขาดทุ่ นไป
เว้นแต่ได้สูญเสียแรงกายและการงงานไป

อนุ ญาตให ้มีการซือขายล่ วงหน้า คือ
(สะลัม)คือจ่ายก่อนและจะส่งมอบสินค้าภายหลัง

139
ผูใ้ ดมีความเดือดร ้อนต้องการทรัพย ์ ก็ให ้ขายผลผลิตตามฤดูกาล

ด ้วยราคาทีเหมาะสม ่
(ตามเงือนไขที ่ กกล่าวไว ้ในตาราฟิ กฮฺ)
ถู

อนุ ญาตให ้มีการขายผ่อน คือ ราคาจะสูงกว่าราคาสด


้ เพื
ทังนี ้ อให
่ ้เกิดความสะดวก และปราศจากดอกเบีย้

ส่งเสริมให ้มีกองทุนเพือการกู ้
้ยืมเปล่า (ไร ้ดอกเบีย)
ในระบดับบุคคล ระดับองค ์กรต่าง หรือระดับชาติ
้ เพื
ทังนี ้ อสั
่ งคมจะได ้เกือกู
้ ลกัน

อิสลามได ้บัญญัตก ิ ารจ่ายซะกาต(การจ่ายทานภาคบังคับ)ให ้แก่


ี่ หนี สิ
ผูท้ มี ้ นเดือดร ้อน คนยากจน และผูท้ เดิ
ี่ นทางทีขาดปั
่ จจัยยังชีพ
้ ้ ่
ทังนี เพือขจัดความเดือดร ้อนของพวกเขาและยกระดับความเป็ นอยู่
ให ้ดีขน ึ้
้ อช่องทางหนึ่ งทีส
เหล่านี คื ่ าคัญทีอิ
่ สลามได ้เปิ ดโอกาสไว ้แด่ทุกๆค
นในสังคมทีมี ่ สท ์ ้ร ับตรงนี ้
ิ ธิได
่ ักษาไว ้ซึงผลประโยชน์
เพือร ่ และเกียรติในความเป็ นมนุ ษย ์
และบรรลุเป้ าหมายอันสูงส่งในการขจัดความเดือดร ้อน
คุมครองชี
้ วต

แล ้วพัฒนาการงานและผลผลิตของบุคคลให ้ดีขนเป็ ึ ้ นลาดับ
่ ดจากธนาคาร
กาไรหรือรายได ้ทีเกิ
หมายถึง(ตามนักเศรษฐศาสตร ์) คือ
การปั่นผลกาไรหรือเงินส่วนเพิมจากธนาคารที
่ ่
มอบให ้แก่ผฝ
ู ้ ากเงิน
้ ่ ่ ้
หรือเรียกเก็บจากผูก้ ู ้ยืม มันคือดอกเบียนันเอง ยิงกว่านัน

140

มันคือแก่นแท ้ของดอกเบียเลยที เดียว
่ื ยกว่าเป็ น"ผลกาไร" ก็ตามแต่ ดังนั้นมิต ้องสงสัยเลยว่า
แม้จะมีชอเรี
นั่นคือดอกเบียที
้ ต ่ ้องห ้าม (หะรอม) ตามอัลกุรอาน หะดีษ
และมติเอกฉันท ์ของปวงปราชญ ์

และส่วนเพิมจากการกู ่ การตังเงื
้ยืมทีมี ้ อนไขไว
่ ้นั้น
่ ้องห ้ามโดยมติเอกฉันท ์ของปวงปราชญ ์
เป็ นสิงต
ส่วนชือที่ เรี่ ยกว่ากู ้ยืมนั้นไม่ใช่เป็ นการกู ้ยืมทีแท
่ ้จริง ดังทีเชค

มุหม ั มัด บิน อิบรอฮีม มุฟตี ประเทศซาอุดอ ิ าระเบียได้กล่าวไว้ว่า
“ในความเป็ นจริงสิงที ่ ถู ่ กเรียกว่าการกู ้ยืมนั้น ไม่ใช่เป็ นการกู ้ยืม
เนื่ องจากการกู ้ยืมทีแท ่ ้จริงคือ การทาทาน
การช่วยเหลือและให ้ความสะดวก แต่น่ี คือการแลกเปลียนที ่ ่ ดเจน
ชั

คือการซือขายเงิ นตราด ้วยเงินตราในราคาผ่อน
และมีกาไรตามทีตั ่ งเงื
้ อนไขไว
่ ้”

ด ้วยเหตุนี้ เป็ นทีชั


่ ดเจนว่า

ผลกาไรทีทางธนาคารเรี ยกเก็บจากการกู ้ยืมหรือจ่ายให ้แก่การฝา
กนั้น มีสถานะเท่าเทียมกับดอกเบียทุ ้ กประการ

เพราะทังสองทางนั ้นมีส่วนเพิมที
่ เกี
่ ยวข
่ ้องอยูอ
่ ย่างชัดเจน

อัลอิญาเราะฮฺ หมายถึง
การทานิ ตก ่ นประโยชน์ในสิงที
ิ รรมระหว่างสองฝ่ ายทีเป็ ่ อนุ
่ มต
ั ิ

141

ข ้อชีขาดทางบทบั
ญญัติ
่ อนุ
เป็ นสิงที ่ มต
ั ิ
ดังนั้นมีผลบังคับระหว่างทังสองฝ่
้ าย(ผูว้ ่าจ ้างและลูกจ ้าง/ผูให
้ ้เช่าแ
ละผูข ้ อเช่า)

เหตุผลแห่งบทบัญญัตเิ กียวกั
บอัลอิญาเราะฮฺ

เป็ นการแลกเปลียนประโยชน์ ่ึ นและกัน
ซงกั
เนื่ องจากมีความต ้องการผูเ้ ชียวชาญในงานต่
่ างๆ เช่น
ผูร้ ับเหมาก่อสร ้างอาคารและโรงเรือน ช่างยนต ์
่ กรกล คนขับรถบรรทุก ฯลฯ
คนขับเครืองจั
้ เพื
ทังนี ้ อเป็
่ นการเอือให ้ ้ความสะดวกแก่ผค ู้ น
และตอบสนองความต้องการต่างๆของมนุ ษย ์ได ้เป็ นอย่างดี

ประเภทของอัลอิญาเราะฮฺ(การเช่าและการว่าจ ้าง) มี 2 ประเภท



การเช่าสิงของ เช่น “ฉันให ้ท่านเช่าบ ้านหลังนี ้ หรือรถยนต ์คันนี ”้

การว่าจ ้างให ้ทางาน เช่น ว่าจ ้างให ้ก่อสร ้างกาแพง หรือไถดิน



หรืออืนๆ

เงือนไขของอั
ลอิญาเราะฮฺ(การว่าจ ้างและเช่า)
่ ลอิญาเราะฮฺ(การว่าจ ้างและเช่า) มี 4 ข ้อดังต่อไปนี ้
เงือนไขของอั

ี่ ใ่ นวิสยั ทีจะด
การว่าจ ้างและเช่าผูท้ อยู ่ าเนิ นการได ้
(มีสติสม
ั ปชัญญะ ไม่เป็ นทาส
และบรรลุนิตภ ิ าวะตามศาสนบัญญัต)ิ
142
มีความชัดเจนในการใช ้ประโยชน์ หรือให ้ทาประโยชน์ เช่น

เช่าบ ้านเพืออยู ่ นคนร ับใช ้ หรือเพืองานสอน
่อาศัย ว่าจ ้างเพือเป็ ่

ค่าเช่าหรือค่าจ ้างต้องมีความชัดเจน(ระบุจานวนเงิน)

การใช ้หรือทาประโยชน์ในสิงที ่ ศาสนาอนุ


่ มตั ิ เช่น

บ ้านเพืออยู ่อาศัย ดังนั้นไม่อนุ ญาตให ้ว่าจ ้างในสิงต ่ ้องห ้าม เช่น
การซินา (ผิดประเวณี ) ร ้องเพลง เช่าบ ้านเพือท ่ าเป็ นโบสถ ์
่ นทีขายเหล
หรือเพือเป็ ่ ้ นต ้น
้า เหล่านี เป็

ตอบประเด็นข ้อสงสัย
่ น เรือ
การโดยสารด ้วยรถยนต ์ เครืองบิ
หรือการจ ้างช่างตัดเย็บผ้า
หรือจ ้างคนแบกสัมภาระโดยไม่ไดม้ ข ่ าจ ้างในเบือง
ี ้อตกลงในเรืองค่ ้
ต ้นนั้น เป็ นอันใช ้ได ้
ี ่ บต
ด ้วยราคาเช่าหรือค่าจ ้างตามจารีตประเพณี ทปฏิ ั ก
ิ น ้ ่
ั อยู่ในพืนที
นั้น ซึงเป็
่ นการทดแทนคาพูดหรือข ้อตกลงระหว่างกัน


เงือนไขสิ ่ ให
งที ่ ้เช่า


มีเงือนไขว่ ่ ให
าสิงที ่ ้เช่า
ต้องทราบชัดเจนโดยการเห็นหรือการบ่งบอกลักษณะ
และทาสัญญาตกลงกันให ้ใช ้ประโยชน์ในสิงนั ่ ้นอย่างครบถ ้วน
และสามารถส่งมอบแก่กน ่ มี
ั ได ้ และต ้องเป็ นสิงที ่ ประโยชน์
และเป็ นกรรมสิทธิของผู์ ให
้ ้เช่า
หรือได ้ร ับอนุ ญาตให ้ปฏิบต ั แิ ทนผูให
้ ้เช่าในสิงนั่ ้น

143
ประเด็นต่างๆในการให ้เช่า
่ เป็
สิงที ่ นสาธารณะประโยชน์(วะกัฟ)สามารถให ้เช่าได้
หากผูใ้ ห ้เช่าเสียชีวต ์
ิ กรรมสิทธิจะตกแก่
ทายาทร ับค่าเช่าแทน
่ ญญาการเช่าครงแรกจะไม่
ซึงสั ั้ ถูกยกเลิกไป
่ ห
ไม่อนุ ญาตให ้เช่าในสิงที ่ ้ามซือขาย

่ เป็
ยกเว ้นเช่าสิงที ่ นสาธารณะประโยชน์
่ นอิสระ(ไม่ใช่ทาส)
(วะกัฟ)ว่าจ ้างคนทีเป็
และจ ้างทาสทีเป็่ นแม่ของลูก(สามประการนี ห
้ ้ามขายแต่ว่าจ ้างหรือเ
ช่าได้)

สัญญาการเช่าจะถูกยกเลิกไป
เนื่ องจากสิงที
่ ให่ ้เช่าเกิดชารุดเสียหาย

หรือสินประโยชน์ การใช ้งานไป

อนุ ญาตให ้รับค่าจ ้างในการสอน การก่อสร ้างมัสยิด



และอืนๆในท านองนี ้
ส่วนค่าจ ้างในการประกอบพิธห ่ าเป็ นเท่านั้น
ี จั ญ ์สามารถร ับได ้เมือจ
่ มาม(นาละหมาด)
ผูท้ าหน้าทีอิ

ผูท้ าหน้าทีอาซาน(ผู เ้ รียกสู่การละหมาด) และครูสอนอัลกุรอาน
สามารถรับค่าจ ้างหรือร ับค่าตอบแทนจากกองคลังของมุสลิมได ้
้ อนไขไว
โดยไม่ต ้องมีการตังเงื ่ ้ก่อนหน้านี ้

ลูกจ ้างหรือผูเ้ ช่าไม่ต ้องรับผิดชอบชดใช ้ความเสียหาย


หากไม่เกิดจากการประมาทหรือการใช ้เกินขอบเขต

144
การบังคับจ่ายค่าจ ้างหรือค่าเช่าจะมีผลทันทีทได ี่ ้ทาสัญญาไว ้
่ การส่งมอบสิงที
หรือเมือมี ่ ให
่ ้เช่า

และหากทังสองฝ่ ายยินยอมให ้มีการยืดเวลาออกไป หรือผ่อนชาระ
่ างานเสร็จ
ก็สามารถกระทาได ้ ส่วนลูกจ ้างต ้องได ้ร ับค่าจ ้างเมือท

่ เป็
การวะกัฟ(สิงที ่ นสาธารณะประโยชน์)
นิ ยามวะกัฟเชิงภาษาและวิชาการ
วะกัฟเชิงภาษา คือ

มาจากคาว่า วะ กอ ฟา แปลว่า สงวน ระงับ และบริจาค

ส่วนวะกัฟเชิงวิชาการ คือ
่ อให ้เกิดประโยชน์ไว ้
การสงวนทร ัพย ์สินหลักทีจะก่

และนาส่วนทีงอกเงยไปบริ ่ นทานแก่สาธารณะประโยชน์
จาคเพือเป็

หลักฐานการทาวะกัฟ
มีหลักฐานจากหะดีษ และมติเอกฉันของปวงปราชญ ์

ส่วนหลักฐานจากหะดีษ หะดีษอัลบุคอรีย ์และมุสลิม อุมรั ฺ บิน


อัลค็อฏฏอบ กล่าวว่า“โอ ้ท่านเศาสนทูตของอัลลอฮฺ
ฉันได ้ครอบครองทร ัพย ์สิน(ทีดิ ่ นได ้มาโดยการซือ)ที
้ เมื
่ องค็อยบัรฺ
่ ค่าเช่นนี มาก่
ฉันไม่เคยได ้ร ับทร ัพย ์สินทีมี ้ อน
่ ้ฉันทาสิงใดกั
ท่านจะสังให ่ บมันดีล่ะ? ท่านศาสนทูตกล่าวว่า

“หากท่านประสงค ์ทีสงวนที ่ นไว ้แล ้วบริจากให ้ทานผลผลิตของมัน
ดิ

145
่ อาจกระทาการขาย
(ยกให ้เป็ นสาธารณะประโยชน์) ซึงไม่
การมอบให ้คนอืน ่ หรือตกเป็ นมรดกได ้เลย"

“แล ้วอุมรั ก ฺ ็บริจาคเป็ นทานแก่คนยากจน ญาติใกล ้ชิด


การไถ่ทาส นักรบในศาสนา คนเดินทางทีขาดเสบี ่ ยง
และผูท้ เป็ี่ นแขก
และไม่เป็ นบาปแก่ผที ่ แลทีจะบริ
ู ้ ดู ่ โภคตามปกติวส ิ ยั (ธรรมเนี ยม )หรื

อให ้ผูอื้ นบริ โภคโดยไม่ยด ึ เอาเป็ นกรรมสิทธิ”์

การทาวะกัฟเป็ นคุณสมบัตท ี่
ิ โดดเด่ นของมุสลิม ท่านญาบิรฺ
กล่าวว่า
“ไม่มส
ี าวกของท่านนบีท่านใดทีมี่ ความสามารถแล ้วในการวะกัฟ
เว้นแต่เขาจะทาการวะกัฟโดยทันที"

จากหะดีษบทนี ้ เป็ นทีประจั


่ ั นี ้
กษ ์ว่า ผูค้ นในปัจจุบน
มีความแตกต่างกับยุคของบรรดาเศาะหาบะฮฺ
เพราะโดยมากในปัจจุบน ่
ั จะไม่รู ้จักสิงใด
นอกจากการทาพินัยกรรม และไม่รู ้จักการทาวะกัฟ

เหตุผลการบัญญัตก
ิ ารทาวะกัฟ
ี่ ฐานะดีเตรียมเสบียงเพือโลกหน้
ส่งเสริมให ้ผูท้ มี ่ า
โดยการทาความดีให ้มากๆ
โดยให ้ทาการบริจาคทร ัพย ์สินเพือเป็่ นทาน

เพราะเกรงว่าหลังจากทีเขาตายไปแล ้ว
ทร ัพย ์สินของเขาจะถูกถ่ายโอนไปยังผูท้ ไม่ ี่ รู ้จักร ักษา
แล ้วการงานของเขาจะถูกลบล ้าง และลูกหลานของเขาจะยากจน

146
และเพือป้่ องกันมิให ้เกิดเช่นนั้น
และเพือให ่ ้มีส่วนร่วมในการทาความดี
ศาสนาจึงบัญญัตใิ ห ้มีการทาวะกัฟ
่ เขาจะท
เพือที ่ าความดีด ้วยตัวเอง
และจัดการตามความประสงค ์และเพือให ่ ้เกิดความต่อเนื่ อง
เหมือนกับตอนทีเขามี่ ชวี ต

การทาวะกัฟเป็ นสาเหตุหลัก
่ ารงร ักษาไว ้ซึงมั
(ปัจจัยหลัก)ทีจะด ่ สญิด โรงเรียน

และอืนๆที ่ นการกุศล
เป็
เพราะตามประวัตศ ิ าสตร ์มัสญิดโดยมากดารงอยูด ่
่ ้วยกับสิงวะกั

่ านั้น สิงจ
ยิงกว่ ่ าเป็ นอืนๆที
่ ่ ยวกั
เกี ่ บมัสญิด เช่น การทาความสะอาด

เครืองปู และปัจจัยยังชีพ(เงินเดือนค่าจ ้าง)ของผูด้ ูแล

ยังต ้องอาศัยสิงวะกั ฟ

ถ ้อยคาการทาวะกัฟ
่ ดเจน เช่น
มีถ ้อยคาทีชั

ฉันได ้สงวนสิทธิไว ้ ฉันทาการวะกัฟ


ฉันทาทานในหนทางแห่งอัลลอฮฺ
่ นนัยเช่น
และถ ้อยคาทีเป็

ฉันทาทาน ฉันหวงห ้ามไว ้มิให ้มีการโอนกรรมสิทธิ ์



ฉันให ้มันอยู่ตลอดไปโดยไม่เป็ นสิทธิของผู ใ้ ด

147
่ นนัยจะบ่งชีถึ้ งการทาวะกัฟได ้
ถ ้อยคาทีเป็
โดยมีอย่างหนึ่ งอย่างใดจากสามกรณี

การตังเจตนา:เมื ่
อกล่ ่ นนัยก็จะกลา
าวหรือเจตนาด ้วยถ ้อยใดๆทีเป็
ยเป็ นวากัฟ

ถ ้อยคาทีเป็่ นนัยพร ้อมกับถ ้อยคาทีชั


่ ดเจน
่ นนัยเช่น ฉันสงวนสิงนี
หรือพร ้อมกับถ ้อยคาทีเป็ ่ ไว ้ ้
่ เพื
หรือสิงนี ้ อหนทางแห่
่ งอัลลอฮฺ

หรือให ้อยู่ตลอดไปโดยไม่เป็ นกรรมสิทธิของผู ใ้ ด

การระบุลก ่
ั ษณะของสิงของที ่
จะยกให ้เป็ นวะกัฟ เช่น
่ ้ ่
สิงนี ห ้ามขายและห ้ามมอบให ้คนอืน และเช่นเดียวกัน
การวะกัฟจะสมบูรณ์โดยการกระทา เช่น
่ นตนเองแล ้วอนุ ญาตให ้คนอืนละหมาด
สร ้างมัสญิดในทีดิ ่

ประเภทของการทาวะกัฟ
การทาวะกัฟโดยแบ่งตามผูร้ ับประโยชน์ มี 2 ประเภท

เพือการกุ ศล
่ วนตัวหรือลูกหลาน
เพือส่

วะกัฟเพือการกุ ศล
คือในเบืองต ้นจะทาการวะกัฟแด่องค ์การกุศลแห่งใดแห่งหนึ่ งไว ้เพีย

งสักระยะเวลาหนึ่ ง ต่อมาจะเปลียนการท
่ าะวะกัฟนั้นแก่คนใด
หรือกลุ่มใด เป็ นการเฉพาะเจาะจง เช่น

148
บริจาคทีดิ่ นแก่โรงพยาบาลหรือโรงเรียน
ต่อจากนั้นจะเป็ นของลูกหลาน วะกัฟเพือส่ ่ วนตัวหรือลูกหลาน คือ
่ วะกั
สิงที ่ ฟในเบืองต
้ ้นแก่ตวั เอง หรือคนใด หรือกลุ่มใด

เป็ นการเฉพาะ แล ้วต่อมาจะวะกัฟเพือการกุ ศล เช่น

วะกัฟแก่ตวั เองเมือเขาเสียชีวต
ิ จะเป็ นของลูกๆ

และเมือพวกเขาเสียชีวต ่
ิ จะวะกัฟเพือการกุ ศล
่ ท
สิงที ่ าวะกัฟ
่ ท
สิงที ่ าวะกัฟคือ ทร ัพย ์สินทีเป็
่ นอสังหาริมทร ัพย ์ทีมี
่ อยู่
่ กสร ้าง) เช่น อาคาร ทีดิ
(สิงปลู ่ น หรือบ ้าน โดยมติเอกฉันท ์

หรือสังหาริมทร ัพย ์ (ทร ัพย ์เคลือนย้ายได ้ า
้) เช่น หนังสือ เสือผ้
้ และอาวุธ ดังหะดีษทีท่
สัตว ์เลียง ่ านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม
กล่าวว่า “สาหร ับคอลิด(หนึ่ งในบรรดาสาวกของท่านนบี)นั้น
แท ้จริงพวกท่านอธรรมต่อคอลิด
(โดยกล่าวหาว่าไม่จา่ ยซะกาตเสือเกราะ ้
่ ้าขาย)
เพราะเข ้าใจว่ามีไว ้เพือค
เนื่ องจากเขาได ้บริจาคเสือเกราะและอาวุ
้ ธของเขาเพืออั ่ ลลอฮฺแล ้ว”

และมติเอกฉันท ์ของประชาชาตินี้ ในการวะกัฟเสือ่ และโคมไฟ


แก่มสั ยิด โดยไม่มก
ี ารคัดค้านแต่อย่างใด

การวะกัฟเครืองประดั ่
บเพือการสวมใส่ และยืม (เช่น

ชุดเจ ้าสาวเพือให ้ยืม) ก็ใช ้ได ้ เนื่ องจากการวะกัฟ
ี่
คือถาวรวัตถุทสามารถใช ้ประโยชน์ได ้ ก็เช่นเดียวกับอาคาร

149

เงือนไขผู ี่ าการวะกัฟ
ท้ จะท
ี่ าวะกัฟต ้องประกอบด ้วยเงือนไขต่
ผูท้ ท ่ อไปนี ้
หากขาดข ้อหนึ่ งข ้อใด การทาวะกัฟใช ้ไม่ได ้

ต ้องมีคุณสมบัตท ี่
ิ จะบริ จาคได ้ การทาวะกัฟของทร ัพย ์ทีปล่ ้น
้ ยงั ไม่ได ้สิทธิครอบครองโดยสมบู
หรือซือแต่ ์ รณ์ก็ใช ้ไม่ได ้

ผูว้ ะกัฟต ้องมีสติสมั ปชัญญะ ดังนั้นการทาวะกัฟของคนวิกลจริต


คนปัญญาอ่อน และในทานองนี ้ ใช ้ไม่ได ้

ต ้องบรรลุนิตภ ิ าวะตามศาสนบัญญัติ ดังนั้นการวะกัฟของเด็ก


ใช ้ไม่ได ้ ไม่ว่าจะรู ้เดียงสาหรือไม่ก็ตาม

เป็ นผูม้ ค ี วามสามารถในการใช ้ทรัพย ์


ี่ ความปราดเปรือง)
(เป็ นผูท้ มี ่
ดังนั้นการวะกัฟของผูท้ ถูี่ กอายัดใช ้ไม่ได ้
(อายัดเพราะสติไม่สมประกอบ หรือล ้มละลาย)

เงือนไขสิ ่
งวะกั


เพือให ่ ฟดาเนิ นอย่างต่อเนื่ อง
้สิงวะกั

ต ้องประกอบด ้วยเงือนไขต่ อไปนี ้
่ กสร ้าง) เช่น อาคาร
ต ้องเป็ นทร ัพย ์สินอสังหาริมทร ัพย ์ (สิงปลู

หรืออืนๆ

เป็ นทร ัพย ์สินทีทราบตั
วตน ปริมาณอย่างชัดเจน

150

เป็ นกรรมสิทธิของผู ่
ว้ ะกัฟ ขณะทีการวะกั

จะต ้องเจาะจงดังนั้นการวะกัฟสิงที
่ ไม่
่ เจาะจงใช ้ไม่ได ้

่ วะกั
สิงที ่ ฟจะต ้องไม่เกียวพั
่ ์
นกับกรรมสิทธิของผู ื่
อ้ น

สามารถใช ้ประโยชน์ได ้ตามปกติวส


ิ ยั
่ ศาสนาอนุ
ใช ้ประโยชน์ในสิงที ่ มต
ั ิ

วิธก ่
ี ารใช ้ประโยชน์จากสิงวะกั


จะเกิดประโยชน์จากสิงวะกั ่
ฟ การใช ้ประโยชน์จากสิงวะกั
ฟ เช่น
บ ้านโดยการอยู่อาศัย พาหนะโดยการขับขี่
่ ไปใช ้ประโยชน์
และสัตว ์โดยการตัดเอาขน นม ไข่ หรืออืนๆ

ความแตกต่างระหว่างวะกัฟและวะศียะฮฺ(พินัยกรรม)
วะกัฟ คือการสงวนไว ้ซึงสิ่ ทธิของทร
์ ัพย ์สินหลัก
และบริจาคผลประโยชน์ (ผลผลิต) ไว ้เป็ นทาน
่ ยะฮฺ(พินัยกรรม)
ขณะทีวะศี
คือการโอนกรรมสิทธิให ์ ้โดยสมัครใจหลังจากทีเจ ่ ้าของเสียชีวต

ไม่ว่าจะเป็ นวัตถุหรือผลประโยชน์ต่างๆ

วะกัฟมีผลบังคับใช ้ทันที

ซึงจะไม่
สามารถกลับคาหรือยกเลิกได ้เลย
(ตามทัศนะของผูร้ ู ้โดยรวม) เนื่ องจากท่านเราะสูล
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวแก่อุมรั วฺ ่า “หากท่านต้องการ

151
์ ้ และนาผลประโยชน์บริจาคเป็ นทาน
(ประสงค ์) ก็จงสงวนสิทธิไว
ท่านจงทาเสีย”

ส่วนพินัยกรรมนั้น จะมีผลบังคับใช ้
และอนุ ญาตให ้เจ ้าของพินัยกรรมกลับคาพูดได้

ไม่ว่าจะทังหมดหรื อบางส่วน
่ วะกั
สิงที ่ ฟจะไม่มผ ์
ี ใู ้ ดถือสิทธิครอบครอง

ส่วนประโยชน์เป็ นสิทธิของผู ่ นัยกรรมนั้น
ร้ บั วะกัฟ ขณะทีพิ

สิทธิและประโยชน์ จะเป็ นของผูร้ ับพินัยกรรม
์ ้ประโยชน์ในสิงวะกั
การให ้สิทธิใช ่ ฟ

จะมีผลขึนขณะผูว้ ะกัฟยังมีชวี ต ิ อยู่และหลังจากเสียชีวติ ไปแล ้ว
ส่วนสิทธิในพิ์ ้
นัยกรรมจะมีผลขึนหลั งจากเจ ้าของพินัยกรรมได ้เสีย
ิ แล ้วเท่านั้น
ชีวต

ในการวะกัฟจะไม่มก ี ารจากัดปริมาณ ส่วนพินัยกรรม


จะต ้องไม่เกินหนึ่ งในสามของมรดก
เว้นแต่ได้รับความยินยอมจากทายาท
และอนุ ญาตให ้วะกัฟแก่ทายาท ส่วนพินัยกรรมนั้น ไม่อนุ ญาต
เว้นแต่ได้รับความยินยอมจากบรรดาทายาทเสียก่อน

พินัยกรรม
นิ ยามของพินัยกรรม
การวะศียะฮฺ หรือพินัยกรรม คือ
่ ้จัดการทร ัพย ์สินหลังจากทีเขาเสี
คาสังให ่ ยชีวต

152
รวมถึงการคืนของฝาก
่ ยวกั
การบริจาคและภาระต่างๆทีเกี ่ บทร ัพย ์สิน
การจัดงานแต่งให ้ลูกสาว การจัดอาบน้าศพพร ้อมละหมาดศพ
การจัดการแจกจ่ายหนึ่ งส่วนสามของทร ัพย ์สิน และอืนๆ

หลักฐานทางบทบัญญัตก
ิ ารทาพินัยกรรม
หลักฐานจาก อัลกุรอาน หะดีษ และมติเอกฉันท ์ของปวงปราชญ ์
อัลลอฮฺได ้ตรัสไว ้ว่า
ۡ َ َ ۡ َّ َ ۡ ً ۡ َ َ َ َ ۡ َ ۡ َ َ َ َ َ َ َ ۡ َۡ َ َ
َٰ
‫صية ل ِلول ِدي ِن‬ِ ‫﴿كتِب عليكم إِذا حضر أحدكم ٱلموت إِن ترك خيرا ٱلو‬
َ ‫َوٱل ۡ َأقۡ َرب‬
َ َّ ۡ َ َ ًّ َ ِ ‫ين بٱل ۡ َم ۡعر‬
]180 :‫﴾ [البقرة‬١٨٠‫وف حقا على ٱلمت ِقين‬ ِ ِ

“การทาพินัยกรรมให ้แก่ผบ ้
ู ้ งั เกิดเกล ้าทังสอง
และบรรดาญาติทใกล ี่ ้ชิดโดยชอบธรรมนั้นได ้ถูกาหนดขึนแก่ ้ พวกเ
่ ่
จ ้าแล ้ว เมือความตายได ้มายังคนหนึ งคนใดในพวกเจ ้า
หากเขาได ้ทิงทร้ ัพย ์สมบัตไิ ว ้ ทังนี
้ เป็
้ นหน้าทีแก่
่ ผย ้
ู ้ าเกรงทังหลาย”
(อัลบะเกาะเราะฮฺ180)

และนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมกล่าวไว ้ว่า



“ไม่บงั ควรแก่มุสลิมคนใดทีเขามี ่ ยโดยทีเขานอนโดย
ภาระต ้องสังเสี ่
ไม่เอาใจใส่ (เผอเรอ) เพียงสองคืน
นอกจากว่าต ้องมีพน ่
ิ ัยกรรมของเขาถูกจารึกไว ้ ณ ทีเขา”

พินัยกรรมมีผลบังคับใช ้โดย
วาจา

153
ลายลักษณ์อก
ั ษร

สัญญาณบ่งชีที้ เข
่ ้าใจได้

ลาดับทีหนึ ่ ่ ง วาจา:
นักนิ ตศิ าสตร ์อิสลามมีความเห็นพ้องกันว่าพินัยกรรมมีผลบังคับใช ้
โดยคาพูดทีชั ่ ดถ ้อยชัดคา เช่น สิงนี ่ จะเป็
้ ์
นกรรมสิทธิของคนนั ้น
หรือคาพูดทีเป็ ่ นนัยแต่เข ้าใจได ้ว่าเป็ นพินัยกรรมโดยมีพยานแวดล ้
อมประกอบ เช่น หลังจากฉันตายฉันให ้เขาสิงนั ่ ้นสิงนี
่ ้
หรือจงเป็ นพยานด ้วยว่าฉันสังเสี ่ ยสิงนี ่ แก่
้ คนนั้น ลาดับทีสอง

ลายลักษณ์อก ั ษรจากคนทีไม่ ่ สามารถพูดได ้ เช่นเป็ นใบ ้
หรือผูท้ ลิ ี่ นหนั
้ ี่
กพูดไม่ได ้ หรือผูท้ หมดหวั ่ ด ลาดับทีสาม
งทีจะพู ่
คือสัญญาณทีบ่ ่ งบอกถึงการสังเสี
่ ย และพินัยกรรมของคนเป็ นใบ ้
และคนทีพู ่ ดไม่ได ้มีผลบังคับโดยสัญญาณทีเข ่ ้าใจได ้

โดยมีเงือนไขว่ าเขาไม่สามารถพูด และหมดหวังทีจะพู ่ ดได ้


ข ้อชีขาดทางบทบั
ญญัติ
่ ถู
พินัยกรรมเป็ นคาสังที ่ กบัญญัตไิ ว ้ในอัลกุรอาน
َ ‫ِين َء َامنوا َش َهَٰ َدة بَيۡن ِك ۡم إ َذا َح َض َر أَ َح َدكم ٱل ۡ َم ۡوت ح‬ َ َ
‫ِين‬ َ ‫يأ ُّي َها ٱلَّذ‬
َٰٓ ﴿
ِ
]106 :‫﴾ [المائدة‬... ‫ان‬
َ ۡ َّ ‫ٱل ۡ َو‬
ِ ‫صيةِ ٱثن‬ ِ

“โอ ้ผูศ้ ร ัทธาทังหลาย!การเป็ ่
นพยานระหว่างพวกเจ ้าเมือความตา
ยได ้มายังคนหนึ่ งคนใดในพวกเจ ้าขณะมีการทาพินัยกรรมนั้นคือส
องคน” (อัลมาอิดะฮฺ 106)

154
ประเภทของพินัยกรรม
พินัยกรรมภาคบังคับ (วาญิบ) ผูท้ มี ี่ หนี สิ
้ น
ี่ ภาระต ้องร ับผิดชอบและมีพน
ผูท้ มี ั ธะสัญญา
จาเป็ นต้องทาพินัยกรรมให ้ชัดเจน โดยทาเป็ นลายลักษณ์อก ั ษร
้ ้ ่ ้ ่
ระบุหนี สิน จะเป็ นหนี ทีด่วน หรือหนี ทีจ่ายตามระยะ
และระบุให ้ชัดเจนเกียวกั ่ บพันธะสัญญาต่างๆทีอยู ่ ่ในความร ับผิดชอ

่ นทีประจั
เพือเป็ ่ กษ ์แก่ทายาทในการจัดการให ้ดาเนิ นตามพินัยกรร
ม พินัยกรรมภาคสมัครใจ (ส่งเสริมให ้ปฏิบต ั )ิ
คือการทาพินัยกรรมแก่บุคคลทีไม่ ่ ใช่ทายาท
โดยอัตราหนึ่ งในสามของทร ัพย ์สิน หรือน้อยกว่านั้น
และทาพินัยกรรมในด้านการกุศล
ไม่ว่าจะเป็ นการกุศลทีจ่ ากัดเฉพาะ เช่น ให ้แก่ญาติ หรือคนอืนๆ ่
หรือแก่องค ์กรใดเป็ นการเฉพาะ เช่น มัสญิดนั้นๆ
หรือแก่องค ์กรการกุศลสาธารณะ เช่น มัสญิดต่างๆ โรงเรียน
้ ย โรงพยาบาล และอืนๆ
หอสมุด ค่ายลีภั ่

อัตราทรัพย ์สินในการทาพินัยกรรม
ไม่อนุ ญาตให ้ทาพินัยกรรมเกินกว่าหนึ่ งในสามของทร ัพย ์สิน
เนื่ องจากหะดีษของสะอัด บิน อบี วักกอศ ทีได่ ้ถามท่านเราะสูล
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ว่า
ี่ นจะทาพินัยกรรมบริจาคทร ัพย ์สินของฉันทังหมด
“ได ้หรือไม่ทฉั ้ ?
่ ่ งล่ะ?”
ท่านเราะสูลตอบว่า “ไม่” สะอัด ก็กล่าวว่า “ครึงหนึ
ท่านเราะสูลตอบว่า “ไม่ได ้” สะอัดก็กล่าวว่า “หนึ่ งในสามล่ะ?”

155
ท่านเราะสูลก็ตอบว่า “ได ้ และหนึ่ งในสามนั้นก็มากแล ้ว”
(บันทึกโดยอัล-บุคอรีย ์ และมุสลิม)

และไม่อนุ ญาตให ้ทาพินัยกรรมให ้กับทายาทผูม้ ส ี ท ์


ิ ธิในกองมรดก
ี่ ใช่ทายาท ในอัตรามากกว่าหนึ่ งในสาม
หรือผูท้ ไม่

เว ้นแต่ได ้ร ับความยินยอมจากทายาทคนอืนๆผู มี้ สท ์
ิ ธิในกองมรดก

พินัยกรรมจะสมบูรณ์โดย
พินัยกรรมต้องมีความชอบธรรม คือมีความเป็ นธรรม

ต้องสอดคล ้องกับบทบัญญัติ

เจ ้าของพินัยกรรมต ้องกระทาอย่างบริสุทธิใจเพื ่ ลลอฮฺ
ออั

และตังใจว่ าพินัยกรรมดังกล่าวขอให ้เป็ นการกระทาความดีและการ
กุศล

เงือนไขผู ท้ าพินัยกรรม (เจ ้าของพินัยกรรม)
ี่ ่ในวิสยั บริจาคได ้ (มีสติสม
เป็ นผูท้ อยู ั ปชัญญะ ไม่เป็ นทาส
บรรลุนิตภ ิ าวะตามศาสนบัญญัต)ิ

เป็ นผูค้ รอบครองกรรมสิทธิโดยสมบู รณ์

ยินยอมและสมัครใจ (ไม่ถูกบังคับ)

เงือนไขผู ร้ บั พินัยกรรม
่ ดี
ร ับพินัยกรรมไปใช ้ในสิงที ่ หรืออนุ มต
ั ิ

156
ผูร้ ับพินัยกรรมต้องมีชวี ต
ิ ขณะทาพินัยกรรม
คือมีอยูจ่ ริงหรือโดยการคาดการณ์ (เช่นเด็กในครรภ ์)

และตามเงือนไขนี ้ สามารถทาพินัยกรรมแก่ผท ี่ อยู่ได ้เช่นกัน
ู ้ ไม่

ระบุผูร้ ับอย่างชัดเจน

ี่
เป็ นผูท้ ครอบครองสิ ์ ้ (เช่น ไม่ใช่ญน
ทธิได ิ สัตว ์ หรือคนตาย)

จะต้องไม่เป็ นฆาตกรฆ่าเจ ้าของพินัยกรรม

ิ ธิร์ ับมรดก
มิใช่ทายาทผูมี้ สท

เงือนไขสาระแห่ ่ เป็
งพินัยกรรม (สิงที ่ นพินัยกรรม)
่ นมรดกได ้
เป็ นทร ัพย ์สินทีเป็

ทร ัพย ์สินนั้น สามารถประเมินมูลค่าได ้ตามนิ ยามของบทบัญญัติ



เป็ นทร ัพย ์สินทีสามารถโอนกรรมสิ ์ ้
ทธิได
แม้มันยังไม่ปรากฏอยูข ่ ณะทาพินัยกรรมก็ตาม

เป็ นกรรมสิทธิของเจ ้าของพินัยกรรมขณะทาพินัยกรรม
่ เป็
ทร ับพย ์หรือสิงที ่ นพินัยกรรมนั้น ไม่เป็ นสิงต
่ ้องห ้าม
หรือฝ่ าฝื นบทบัญญัติ

การยืนยันพินัยกรรม
่ มติเอกฉันท ์ว่าควรเขียนพินัยกรรม(ส่งเสริมให ้ปฏิบ ั
เป็ นประเด็นทีมี
่ ้วยบัสมะละฮฺ และการสรรเสริญอัลลอฮฺ
ติ) โดยเริมด

157
และเศาะละวาตนบี

และกล่าวคาปฏิญาณทังสองโดยวาจาหรื
อลายลักษณ์อก
ั ษรก็ได ้

ผูร้ บั ผิดชอบพินัยกรรม (หรือผูจ้ ด


ั การพินัยกรรม)
ผูร้ ับผิดชอบพินัยกรรมมี 3 ประเภท

ผูป้ กครองร ัฐ หรือเจ ้าหน้าที่

ผูพ
้ พ
ิ ากษา

สามัญชน
่ ท
สิงที ่ าให ้พินัยกรรมเป็ นโมฆะ
การกลับคา หรือ ยกเลิกพินัยกรรม โดยวาจา
หรือพยานแวดล ้อม

พินัยกรรมถูกวางเงือนไขไว ่ ยั
้กับสิงที ่ งไม่เกิดขึน้

ไม่มม ่
ี รดกหลงเหลือเพือให ้ดาเนิ นตามพินัยกรรม

ลักษณะการสินสภาพผู เ้ ป็ นเจ ้าของพินัยกรรม
หรือการทาพินัยกรรมเป็ นโมฆะ

เจ ้าของพินัยกรรมสินสภาพจากการเป็ นมุสลิม
(ตามทัศนะของบางส่วน)

ผูร้ ับพินัยกรรมปฏิเสธไม่ยอมร ับพินัยกรรม (ส่งคืน)

158
ผูร้ ับพินัยกรรมเสียชีวต
ิ ก่อนเจ ้าของพินัยกรรม

ผูร้ ับพินัยกรรมเป็ นฆาตกรฆ่าเจ ้าของพินัยกรรม


่ กระบุในพินัยกรรมเกิดชารุด
ทร ัพย ์ทีถู

หรือถูกโอนเป็ นกรรมสิทธิของผู ื่
อ้ นไปเสี
ยแล ้ว

ทาพินัยกรรมแก่ทายาทโดยไม่ได ้รับความยินยอมจากทายาททุก
ๆ คน

หมวดที่ 3

กฎหมายครอบครัว

ข ้อชีขาดและเงื ่
อนไขของการนิ กาหฺ(การแต่งงาน)

159
หมวดที่ 3 กฎหมายครอบคร ัว
การนิ กาหฺ(การแต่งงาน)
เหตุผลบัญญัตก ิ ารนิ กาหฺ(การสมรส) การนิ กาหฺ(การแต่งงาน)
เป็ นวิถข ่ ส่
ี องอิสลาม เป็ นสิงที ่ งเสริมให ้ปฏิบต
ั ิ ท่านเราะสูล
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า “โอ ้คนหนุ่ มทังหลาย ้ คนใด
ในหมู่พวกเจ ้ามีความสามารถในค่าสินสอดและการอุปการะเลียงดู ้
เขาจงแต่งงานเถิด เพราะการแต่งงานนั้นจะช่วยยับยัง้ (ลด) สายตา
จากการมองสิงต ่ ้องห ้าม (หะรอม) เป็ นอย่างยิง่ และช่วยรักษา
อวัยวะสืบพันธุ ์ให ้บริสุทธิยิ์ ง่ (จากการผิดประเวณี ) หากคนใดไม่มี
ความสามารถ เขาจงถือศีลอด เพราะการถือศีลอดจะลดกาหนัด
ของเขา” (บันทึกโดย ญามาอะฮฺ)

ส่วนหนึ่ งจากเหตุผลของการแต่งงาน
การแต่งงานเป็ นการสร ้างบรรยากาศทีดี ่
สร ้างความสัมพันธ ์ระหว่างครอบครัว มอบความรักแก่กน ั
ิ มีความบริสุทธิ ์ และป้ องกันจากสิงที
ทาให ้ชีวต ่ ต ่ ้องห ้าม (เช่น
่ ้องห ้ามหรือผิดประเวณี )
มองสิงต
่ ส้ บ
การแต่งงานเป็ นปัจจัยในการกาเนิ ดบุตร และเพิมผู ื ทายาท

พร ้อมกับร ักษาไว ้ซึงวงศ ์ตระกูล

การแต่งงานเป็ นปัจจัยทีดี่ ยงในการขจั


ิ่ ่
ดอารมณ์ทางเพศทีอาจนา
่ ้องห ้าม
ไปสู่การกระทาทีต
พร ้อมกับปลอดภัยจากโรคทีเกิ ่ ดจากการมีเพศสัมพันธ ์
160
ึ ้ นลา
การแต่งงานจะเติมเต็มความเป็ นพ่อหรือแม่ให ้สมบูรณ์ขนเป็
กับ ด้วยกับการมีบุตรหลายๆคน

และการแต่งงานจะทาให ้จิตใจสงบสุข มีสมาธิ มีความบริสุทธิ ์


่ ้องหา้ ม
และปกป้ องร ักษาสามีภรรยาจากสิงต

ความหมายของการนิ กาหฺตามหลักภาษาและตามบทบัญ
ญัติ
การนิ กาหฺตามหลักภาษา
่ ้ด ้วยกัน
การมีเพศสัมพันธ ์ และการรวมสองสิงไว
และจะใช ้กับการทาสัญญาหรือข ้อตกลงการสมรส

การนิ กาหฺตามบทบัญญัติ การทาข ้อตกลง


่ ดบรรทัดฐานคาว่า นิ กาหฺ หรือสมรส เป็ นเกณฑ ์
ซึงยึ

ซึงตกลงกันในการหาประโยชน์ในการเสพสุข
ในการใช ้ชีวต
ิ คู่หรือยู่รว่ มกัน

ข ้อชีขาดทางบทบั
ญญัติ
ส่งเสริมให ้ปฏิบต ั (ิ สุนนะฮฺ)
สาหร ับผูท้ มี ่
ี ความรู ้สึกในอารมณ์ทางเพศ
และไม่กลัวว่าจะเกิดการผิดประเวณี และเป็ นภาคบังคับ (วาญิบ)
ี่
สาหร ับผูท้ เกรงว่ าจะเกิดการผิดประเวณี (หากไม่แต่งงาน)

และเป็ นทีอนุ มต ี ่ มอ
ั ิ สาหร ับผูท้ ไม่ ี ารมณ์ทางเพศ เช่น
คนชราและผูท้ อวั ี่ ยวะสืบพันธุ ์อ่อนแอ และเป็ นสิงต
่ ้องห ้าม (หะรอม)

161
ขณะทีอยู่ ใ่ นประเทศคู่สงคราม โดยไม่มค
ี วามจาเป็ น
(ไม่อยู่ในภาวะคับขัน)

ถ ้อยคาในการนิ กาหฺ
การนิ กาหฺจะมีผลโดยทุกถ ้อยคาทีบ่ ่ งบอกถึงการแต่งงาน
จะเป็ นภาษาใดก็ได้ เช่น ฉันแต่งงาน ฉันสมรส
ฉันตอบร ับการสมรสนี ้ ฉันร ับนางเป็ นภรรยา หรือฉันพึงพอใจ
และควรใช ้ภาษาอาหร ับ ส่วนคนทีไม่่ รู ้ภาษาอาหร ับ
ก็ให ้ใช ้ภาษาของตัวเอง

องค ์ประกอบหลักของการนิ กาหฺ


มีสององค ์ประกอบหลักด้วยกัน

อัลอีญาบ (คาเสนอ)คือถ้อยคาของผูปกครองฝ่้ ายหญิง


หรือผูท้ าหน้าทีแทน ่ โดยใช ้คาว่า อินกาหฺ หรือ ตัซวีจญ ์ (แต่งงาน)
สาหร ับผูท้ รูี่ ้ภาษาอาหร ับ เพราะสองคานี มี
้ ระบุในอัลกุรอาน
อัลลอฮฺได ้ตรัสไว ้ว่า
ٓ َ َ َ َ َ َ
]3 :‫﴾ [النساء‬... ‫كحوا ما طاب لكم م َِن ٱلنِسا ِء‬
ِ ‫ فٱن‬...﴿

"แล ้วจงแต่งงานกับผูห้ ญิงอืนจากพวกนาง ่ ๆสาหร ับพวกเจ ้า"
ทีดี
(อันนิ สาอ ์ 3)

อัลเกาะบูล (คาสนอง)คือ ถ ้อยคาตอบรับของฝ่ ายชาย


หรือตัวแทน

162
เช่น ฉันตอบร ับ หรือฉันพึงพอใจการสมรสนี ้
หรือจะใช ้เพียงคาว่า ฉันตอบรับ ก็ใช ้ได ้
คาเสนอต ้องอยู่กอ่ นคาสนอง
นอกจากจะมีพยานแวดล ้อมทีบ่ ่ งชีให
้ ้เข ้าใจ
ก็สามารถเอาคาสนองขึนก่ ้ อนได ้


เงือนไขที
ท ่ าใหก้ ารนิ กาหฺสมบูรณ์ 4 ข ้อ คือ
ต้องระบุคู่สมรสให ้ชัดเจน

ความพึงพอใจ (ยินยอม) จากคู่สมรส ดังนั้น


ไม่อนุ ญาตให ้มีการบังคับแก่ฝ่ายใด
ต้องขอความยินยอมจากสาวพรหมจันทร ์และหญิงหม้าย
การยินยอมของสาวพรหมจันทร ์คือ การนิ่ งเฉย ส่วนหญิงหม้ายนั้น

ต ้องมีการเปล่งวาจาและเงือนไขนี ้
จะไม่
ใช ้กับคนวิกลจริต
่ ปัญญาไม่สมประกอบ
และคนทีสติ

ผูป้ กครองของฝ่ ายหญิง โดยมีเงือนไขต่ ่ อไปนี ้ ต ้องเป็ นชาย


ไม่เป็ นทาส มีสติสมั ปชัญญะ ปราดเปรือง ่
บรรลุนิตภ ิ าวะตามศาสนบัญต ั ิ
เป็ นผูม้ ค ี ุณธรรมศาสนาเดียวกันกับเจ ้าสาว
และผูท้ มี ่
ี สท ์
ิ ธิจะเป็ นผูปกครอง
้ ให ้เรียงตามลาดับต่อไปนี ้ พ่อ
ผูร้ ับหน้าทีตามพิ ่ นัยกรรม (ตามคาสังเสี ่ ยของพ่อ) ปู่
(พ่อของพ่อแม้ว่าจะลาดับสูงขึนไปก็ ้ ตาม) ลูกชาย หลานชาย

(แม้ว่าจะตาลงไปก็ตาม โดยสืบสายโลหิตทางฝ่ ายชาย)
่ องชายทีร่่ วมพ่อแม่เดียวกัน พีน้
พีน้ ่ องชายทีร่่ วมพ่อเดียวกัน

163
่ องชายพ่อแม่เดียวกัน
ลูกชายของพีน้
ลูกชายของพีน้่ องชายทีร่่ วมพ่อ
่ องชายของพ่อ(ลุงหรืออา)ร่วมพ่อแม่เดียวกัน
พีน้
่ องชายของพ่อทีร่่ วมพ่อเดียวกัน
พีน้
ลูกชายของพีน้ ่ องชายของพ่อร่วมพ่อแม่เดียวกัน(ลูกชายของลุงหรื
ออา)
ลูกชายของพีน้ ่ องชายของพ่อทีร่่ วมพ่อ(ลูกชายของลุงหรืออา)
เครือญาติใกล ้ชิดทีร่ ับมรดกส่วนเหลือร่วมกับนาง
และสุลต่านหรืออัลหากิม (ผูน ้ าหรือผูปกครองรัฐ)

พยานชายสองคนทีมี ่ คุณธรรม (คือ เป็ นมุสลิม บรรลุศาสนภาวะ


่ ท
ไม่ทาบาปใหญ่ ไม่กระทาในสิงที ่ าให ้เสือมเสี
่ ยบุคลิกภาพ)

คู่สมรสต ้องปราศจากอุปสรรคทีท ่ าให ้การสมรสเป็ นโมฆะ (เช่น


ผูห้ ญิงเป็ นภรรยาของผูอื้ น่ หรืออยู่ในอิดดะฮฺ
หรือฝ่ ายชายเป็ นต่างศาสนิ ก ขณะทีฝ่่ ายหญิงเป็ นมุสลิม
หรือฝ่ ายชายมีภรรยาอยูส ี่ เหล่านี เป็
่ คน ้ นต ้น )


สิงควรปฏิ
บตั แิ ละห ้ามปฏิบต
ั ใิ นการแต่งงาน
ี่
ผูท้ เกรงว่ าจะไม่มค
ี วามยุตธิ รรมระหว่างภรรยาหลายๆคน
ก็ควรจะมีภรรยาเพียงคนเดียว ควรหาผูห้ ญิงทีเคร่่ งคร ัดศาสนา
ไม่เป็ นเครือญาติ ควรแต่งกับสาวพรหมจันทร ์ เผ่าพันธุ ์ลูกดก
และสวยหน้าตาดี

ควรมองผูห้ ญิงทีจะไปสู
ข ่ ใช่เอาเราะฮฺ
่ อ โดยมองส่วนทีไม่
่ ้องปกปิ ดตามหลักศาสนา)
(ส่วนทีต

164
และมองในสิงที่ ดึ
่ งดูดเขาเพือการแต่
่ งงาน โดยไม่อยู่กน
ั ตามลาพัง
(มีผป ่
ู ้ กครองอยู่ด ้วย) เพือให ้ประจักษ ์ชัด
และผูห้ ญิงก็ควรมองฝ่ ายชายด้วยเช่นกัน

หากฝ่ ายชายไม่สะดวกทีจะมองด ่ ้วยตนเอง


่ ความน่ าเชือถื
ก็ให ้ส่งผูห้ ญิงทีมี ่ อไปดูแทน
แล ้วนางคอยบอกลักษณะรูปลักษณ์ให ้เขา(ภายใต้กรอบศาสนา)

ไม่อนุ ญาตให ้ผูใ้ ดไปสูข ่ ผช


่ อทาบทามผูห้ ญิงทีมี ้
ู ้ ายหมันไว ้แล ้ว
จนกว่าเขาจะบอกเลิกนาง(ถอนหมัน) ้
หรือได้รับอนุ ญาตจากเขาเอง

อนุ ญาตให ้ใช ้ถ ้อยคาทีชั ่ ดเจน หรือถ ้อยคาทีเป็


่ นนัยยะ
ในการสู่ขอผูหญิ ่ ่ในอิดดะฮฺ( อิดดะฮฺ
้ งทีอยู
คือระยะเวลาทีต ่ ้องรอเพือการคื
่ นดีหรือแต่งงานใหม่ )
ี าขาดกับนาง แต่ยงั ไม่ครบสามครง้ั

สาหร ับสามีทหย่
่ ดเจน
ห ้ามใช ้ถ ้อยคาทีชั
หรือถ ้อยคาทีเป็ ่ นนัยยะในการทาบทามสูข ่ กหย่าแต่ยงั อ
่ อผูห้ ญิงทีถู
ยู่ในระยะเวลาทีสามี่ สามารถคืนดีได ้(ยังอยู่ในอิดดะฮฺ)

ส่งเสริมให ้ทาพิธนี ิ กาหฺในบ่ายวันศุกร ์


เนื่ องจากเป็ นช่วงเวลาทีการวิ
่ งวอนขอจากพระองค ์อัลลอฮฺจะถูกตอ
บรับ และหากมีความสะดวกควรทาพิธใี นมัสญิด

หมวดที่ 4

บทบัญญัตเิ กียวกั
บสตรีมุสลีมะฮ ์

165
หมวดที่ 4 บทบัญญัตเิ กียวกั
่ บสตรีมุสลีมะฮ ์

คานา
่ งบทบัญญัตแิ ก่ผป
คาสังแห่ ู ้ ฏิบต
ั ม
ิ ส
ี าม ประเภท
่ ยวข
ประเภททีเกี ่ ้องกับผูชายเป็
้ นการเฉพาะ
่ ยวข
ประเภททีเกี ่ ้องกับสตรีเป็ นการเฉพาะ
่ ยวพั
ประเภททีเกี ่ ้ ช
นทังผู ้ ายและผูห้ ญิง
่ ้ระบุไว ้ในสามหมวดแรกทีผ่
ตามทีได ่ านมา
ส่วนมากจะเป็ นบทบัญญัตท ี่ ยวพั
ิ เกี ่ ้ ช
นทังผู ้ ายและผูห้ ญิง
่ อจากนี ไปจะเป็
ซึงต่ ้ นการอธิบายบทบัญญัตท ี่ ยวกั
ิ เกี ่ บสตรีเป็ นการเ
ฉพาะ
้ นข ้อๆ
แล ้วจะแบ่งประเด็นเหล่านี เป็

ประเด็นสาหรับสตรีโดยเฉพาะ

ประเด็นสาหรับสตรีโดยเฉพาะ
่ ่ ง การลูบหรือเช็ดบน(ขณะอาบน้าละหมาด)
ประเด็นทีหนึ
บนผมปลอม ทีอนุ ่ โลมให ้สวมใส่ในกรณี ทมี
่ี ความจาเป็ น
่ ห้ ญิงมีความจาเป็ นต้องสวมใส่ผมปลอม
เมือผู

ไม่อนุ โลมให ้ลูบหรือเช็ดบนผมปลอมขณะอาบนาละหมาด
เพราะไม่ใช่ผา้ คลุม

166
และไม่อยู่ในขอบข่ายหรือข ้อบัญญัตข
ิ องผ้าคลุม
และจาเป็ นต ้องเช็ดบนศีรษะโดยตรง หรือบนผมแท ้เท่านั้น

ประเด็นทีสอง ทาเล็บ
ย้อมเล็บ :ผูห้ ญิงบางคนย้อมเล็บด ้วยผลิตภัณฑ ์ทีห ่ ้ามมิให ้น้าเ
่ นสิงที
ข ้าถึงผิวหนัง ซึงเป็ ่ ไม่
่ อนุ ญาต
เว ้นแต่จะมีน้าละหมาดอยู่แล ้ว
และจาเป็ นต ้องขจัดออกขณะอาบน้าละหมาดทุกครง้ั
ประเด็นทีสาม ่ อัลหัยฎุ (เลือดประจาเดือน) :คือ

เลือดทีออกจากมดลู กของสตรี ขณะทีมี ่ สข
ุ ภาพดี ไม่เจ็บป่ วย

และมิใช่เลือดทีออกมาเนื ่ องจากการคลอดบุตรและบาดแผล

ผูร้ ู ้ส่วนมากมีความเห็นว่า

เลือดประจาเดือนจะเริมมาเมื ่
ออายุ ครบเก ้าขวบ
ดังนั้นเมือเห็่ นเลือดก่อนเก ้าขวบ ก็ไม่ใช่เลือดประจาเดือน
แต่เป็ นเลือดเนื่ องจากเจ็บป่ วยหรือเลือดเสีย และจะมีจนถึงวัยชรา
โดยทีส่ ่ วนมากจะหมดเลือดประจาเดือนตอนอายุห ้าสิบปี

และเลือดประจาเดือนมี 6 ประเภท สีดา สีแดง


สีเหลืองขุ่นคล ้ายสีน้าหนอง สีน้าขุ่นออกสีน้าตาล
สีน้าขุ่นออกสีเขียว และสีดน

่ นและน้
ระยะเวลาของเลือดประจาเดือนทีสั ้ ่ ด
อยทีสุ
คือ1วันกับ1คืน ระยะเวลาปานกลางคือ 5 วัน

167

และระยะเวลาทีมากที
สุ่ ดคือ15 วัน แต่โดยส่วนใหญ่แล ้ว จะอยู่ที่ 6
วันถึง 7 วัน
้ั
ระยะเวลาระหว่างรอบเลือดประจาเดือนครงแรกกั ้ั สองนั
บครงที ่ ้น
่ ด คือ13 วัน (โดยส่วนมาก)
อย่างน้อยทีสุ
และบางทีอาจจะน้อยกว่าหรือมากกว่านั้นก็เป็ นได ้

ี่ เลือดประจาเดือนคือ ห ้ามละหมาด
ข ้อห ้ามสาหร ับผูท้ มี
ห ้ามถือศีลอด ห ้ามเข ้ามัสญิด ห้ามอ่านอัลกุรอานโดยสัมผัสคัมภีร ์
ห ้ามทาการเฏาะวาฟ ห ้ามมีเพศสัมพันธ ์
และการมีเลือดประจาเดือนนั้น
เป็ นสัญญลักษณ์บ่งบอกถึงการบรรลุนิตภ ิ าวะของสตรีตามศาสนบั
ญญัติ
่ ่ นิ ฟาส (เลือดหลังคลอดบุตร) คือ
ประเด็นทีสี

เลือดทีออกจากมดลู ก หลังจากการคลอด
หรือแท ้งลูกทีมี่ อวัยะวะครบสมบูรณ์แล ้ว

ระยะเวลาของนิ ฟาส โดยมาก 40 วัน


่ ดนั้นไม่มเี วลาทีแน่
ส่วนจานวนวันน้อยทีสุ ่ นอน หากคลอดลูกแฝด
ให ้นับระยะจากการคลอดคนแรกเป็ นเกณฑ ์

ข ้อห ้ามสาหรับนิ ฟาส ก็เช่นเดียวกับข ้อห ้ามของเลือดประจาเดือน


เช่นละหมาด การถือศีลอด และอืนๆ ่

168
ประเด็นทีห ่ ้า อัลอิสติหาเฎาะฮฺ(เลือดเสีย): อัลอิสติหาเฎาะฮฺ คือ

เลือดทีออกมาจากมดลู กในช่วงระยะเวลาทีไม่ ่ ใช่เวลาของเลือ
ดประจาเดือนและเลือดหลังการคลอดบุตร ดังนั้น

เลือดทีเลยระยะเวลา
หรือน้อยกว่าระยะเวลาทีน้ ่ อยสุดของเลือดประจาเดือน
หรือนิ ฟาส หรือก่อนอายุเก ้าขวบ คือ เลือดเสีย

และข ้อชีขาดทางบทบั ญญัตผ ิ ท ี่ เลือดเสียนี ้
ู ้ มี
คือเป็ นผูม้ ห ่ เป็ นอุปสรรคหักห ้ามการละหมาด
ี ะดัษประจาซึงไม่
และการถือศีลอด
ี่ เลือดเสีย ต ้องอาบน้าละหมาดทุกๆ ครงก่
ผูท้ มี ั้ อนละหมาด
และสามีสามารถมีเพศสัมพันธ ์กับนางได ้
่ าลังตังครรภ
เลือดของหญิงทีก ้ ์นับว่าเป็ นเลือดเสีย

169
ประเด็นทีหก่ ไม่อนุ ญาตให ้สตรีโกนผมของนาง
เว ้นแต่ในกรณี จาเป็ น และไม่อนุ ญาตให ้โกนขนคิว้ สัก
ต่อผมปลอม ดัดฟันใหห้ ่างกัน
เนื่ องจากท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวไว ้ว่า
่ี
“แท ้จริงท่านเราะสูลสาปแช่งผูท้ กระท า และผูร้ ับกระทา”
บันทึกโดยนักบันทึกทังเจ็ ้ ด คือ อัลบุคอรีย ์,
มุสลิม,อัตติรมิซยี ์,อบู ดาวูด, อันนะสาอีย ์, อิบนุ มาญะฮฺ
และอะหมัด)

การถอนขนคิว:การก ้ งหมด
าจัดขนคิวทั ้ หรือทาใหมันบางลง
่ วหนังให ้หยดเลือดแล ้วเติมสี
และกาสักรอยสัก: คือการใช ้เข็มทิมผิ
และการดัดฟันให ้แยกกัน คือการจัดฟันให ้ดูอายุนอ้ ย และสวยงาม

และไม่อนุ ญาตให ้สตรีใส่น้าหอม นอกจากเพือสามี



่ ่กบั ผูห้ ญิงด ้วยกัน
และระหว่างทีอยู
่ ด
ประเด็นทีเจ็
่ ้องปกปิ ด)ของผูห้ ญิง คือ
เอาเราะฮฺ(ส่วนเรือนร่างทีต
ทุกส่วนของร่างกาย
ขณะทีอยู่ ่พร ้อมกับผูช ่ ใช่มะห ์รอม(ผูท้ แต่
้ ายทีไม่ ี่ งงานด ้วยไม่ได ้)
ดังนั้นนางต ้องสวมใส่หญ ิ าบ
และเช่นเดียวกันไม่อนุ ญาตให ้อยู่ตามลาพังกับผูชายที้ ่ ใช่มะห ์รอ
ไม่

170
่ มม
และไม่อนุ ญาตให ้นางเดินทางโดยทีไม่ ี ะห ์รอม นั่นคือ
ผูช ่
้ ายทีนางแต่ งงานด ้วยไม่ได ้ตลอดไป เนื่ องจากเป็ นเครือญาติ

การเกียวดอง(แต่ งงาน)และการร่วมแม่นม

และเวลาละหมาดนางจะต้องปกปิ ดทุกส่วนของร่างกาย
นอกจากใบหน้า มือทังสอง ้ ้
และเท ้าทังสอง
แต่จาเป็ นต ้องปกปิ ดทุกส่วน หากอยู่ต่อหน้าผูช ่ ใช่มะห ์รอม
้ ายทีไม่

และส่งเสริมให ้ปกปิ ดมือและเท ้าทังสองในทุ กๆกรณี

ี่
อาภรณ์ทสวมใส่ จะต ้องหนา ไม่ลอกเลียนแบบบุรุษเพศ
ไม่ดงึ ดูดสายตา ไม่เลียนแบบเหมือนต่างศาสนิ ก

และไม่เป็ นทีโดดเด่ ี่ ้อดัง
นหรือมียห

ประเด็นทีแปด:เครื ่
องประดั บของผูห้ ญิง

เครืองประดั บของผูห้ ญิงมีสองประเภท
่ ญาตและต ้องห ้าม ส่วนทีอนุ
คือทีอนุ ่ ญาตเช่น น้าหอม ทองคา
เงิน ผ้าไหม และผ้าย้อมสีเหลืองหรือแสด
และทีห ่ ้ามคืออาภรณ์ทใส่
ี่ เพือให
่ ่
้เป็ นทีโดดเด่ นและโอ ้อวด
้ ่ ่
และดึงดูดสายตาของผูค้ น และนาหอมทีกลินฟุ้ งกระจาย
และเปิ ดเผยต่อหน้าผูช ่ ใช่มะห ์รอม
้ ายทีไม่

171
ประเด็นทีเก ่ ้า:เสียงผูห้ ญิง เสียงของผูห้ ญิงมิใช่เอาเราะฮฺ
่ ต
(สิงที ่ ้องปกปิ ด) ถ ้าหากว่านางไม่พยายามพูดอ่อนโยน
และยั่วยวนผูค้ น และเลยขอบเขตของการอ่อนโยน
ส่วนการขับร ้องเพลง เป็ นสิงต ่ ้องห ้าม
ผูค้ นส่วนมากในสมัยนี ได ้ ้หลงใหลในเสียงเพลง
และยึดเอาเป็ นอาชีพหรือช่องทางในการแสวงหารายได ้
และการขับร ้องเพลง เป็ นสิงต ่ ้องห ้ามสาหร ับผูช
้ าย
่ า
ส่วนผูห้ ญิงก็ต ้องห ้ามมากยิงกว่
แล ้วจะอนุ โลมให ้นางในโอกาสงานรืนเริ ่ งต่างๆ
และในวันอีดและอยู่ท่ามกลางผูห้ ญิงเท่านั้น
้ ้องทีไม่
และด ้วยเนื อร ่ ขด ั หลักศาสนาปราศจากเสียงดนตรี
่ บ อนุ ญาตให ้ผูห้ ญิงอาบน้าศพให ้สามี
ประเด็นทีสิ
และลูกชายทียั ่ งเล็ก
และเช่นกันอนุ ญาตใหล้ ะหมาดศพเช่นเดียวกับผูช ้ าย
แต่ไม่อนุ ญาตให ้ตามไปส่งศพทีสุ ่ สาน

และไม่อนุ ญาตให ้เยียมสุ ่
สาน และไม่อนุ ญาตให ้ร ้องคราครวญ
ตบหน้า ฉี กผ้า ถอนผม
เพราะนั่นเป็ นวิถปี ฏิบตั ข
ิ องยุคก่อนอิสลาม(ญาฮิลยี ะฮฺ)
และเป็ นบาปใหญ่
และไม่อนุ ญาตให ้ไว ้ทุกข ์เกินสามวันในกรณี ทไม่ ี่ ใช่สามี
ส่วนในกรณี สามีเสียชีวต ิ นั้น นางต ้องไว ้ทุกข ์สีเดื
่ อนกับสิบวัน

172

และต้องพานักอยู่ในบ ้านทีเคยอยู ่กบ
ั สามี

และต ้องเลียงการใส่ ่ บและน้าหอม
เครืองประดั
และการไว ้ทุกข ์นั้นไม่มอ
ี าภรณ์เป็ นการเฉพาะ
่ บเอ็ด การใส่เครืองประดั
ประเด็นทีสิ ่ บทองคา และเงิน
ตามปกติวส ิ ยั นั้น เป็ นทีอนุ
่ โลมแก่สตรี

และจะต ้องหลีกเลียงการฟุ่ มเฟื อย และการโออ้ วด

เครืองประดั ่ ห้ ญิงสวมใส่ตามปกติประจาวัน
บทองและเงินทีผู
หรือตามโอกาสต่างๆไม่ต ้องจ่ายซะกาต

173
ประเด็นทีสิ ่ บสอง
อนุ ญาตให ้ผูห้ ญิงบริจาคทานจากทร ัพย ์สินของสามีตามจารีต
(ปกติวส ิ ยั )โดยไม่ต ้องขออนุ ญาต หากรู ้ว่าสามียน ิ ยอม
และอนุ ญาตให ้นางจ่ายซะกาตของนาง (ทานบังคับ) แก่สามี
หากเขาเป็ นผูม้ ส ิ ธิร์ ับซะกาต และหากสามีเป็ นคนตระหนี่
ี ท
ไม่จา่ ยค่าอุปการะเลียงดู ้ ทจ่ี าเป็ น
นางสามารถเอาจากทร ัพย ์สินของสามีได ้ตามจานวนทีเพี ่ ยงพ
อกับการใช ้จ่ายของนางและลูก โดยมิต ้องขออนุ ญาต
ประเด็นทีสิ ่ บสาม

อนุ โลมให ้ผูห้ ญิงตังครรภ ์และผูห้ ญิงให ้นมบุตร(หรือร ับจ ้างให ้น
มบุตร)ละศีลอดได ้
หากเกรงว่าจะเกิดอันตรายต่อตัวเองและเด็ก
หรือเกรงจะเกิดอันตรายต่อตัวทังสองกรณี ้ นี้
ให ้ถือศีลอดชดเชโดยไม่ต ้องจ่ายฟิ ดยะฮฺ
แต่หากเกรงว่าจะเกิดอันตรายต่อเด็กเท่านั้น
ก็ต ้องถือศีลอดชดเชยพร ้อมจ่ายฟิ ดยะฮฺ นี่ สาหร ับคนตังครรภ ้ ์
่ี ้นมบุตร หากเด็กดืมนมของหญิ
ส่วนผูท้ ให ่ ่
งอืนได ้
และสามารถจ่ายค่าจ ้าง หรือมีทร ัพย ์สินทีจะจ ่ ้างได ้
ก็ไม่อนุ โลมให ้ละศีลอด
และแม่นมก็ใช ้บทบัญญัตเิ ดียวกับผูเ้ ป็ นแม่
่ าวมาแล ้วข ้างต ้น
ดังทีกล่

174
ภรรยาไม่มส ิ ธิถื์ อศีลอดภาคสมัครใจ (สุนนะฮฺ)
ี ท
โดยไม่ได ้ร ับอนุ ญาตจากสามี ขณะทีสามี่ อยูบ
่ า้ น

ประเด็นทีสิ ่ บสี่
สามีไม่มส ี ท ิ ธิที์ จะหั
่ กห ้ามภรรยามิให ้ประกอบพิธห ่ นภา
ี จั ญ ์ทีเป็
คบังคับ และเมือนางขออนุ ่ ญาต จาเป็ นต ้องอนุ ญาตให ้แก่นาง
และให ้การสนับสนุ นตามความสามารถ
ส่วนการประกอบพิธห ี จั ญ ์ภาคสมัครใจ
สามีมส ี ท
ิ ธิหั ์ กห ้ามนางได ้หากว่ามันมีผลเสียต่อสามีและลูกๆ
ประเด็นทีสิ ่ บห ้า ขณะอยู่ในพิธห ี จั ญ ์และอุมเราะฮฺ
จะสวมใส่อาภรณ์ใดๆก็ได ้ นอกจาก
้ าทีเปื
เสือผ้ ่ ้อนหรือโดนน้าหอม ถุงมือ ผ้าปิ ดหน้า
ผ้าทีย่ ้อมสีเหลืองหรือสีแสด
(ย้อมด ้วยพืชชนิ ดหนึ่ งซึงมี ่ กลินหอม)
่ ่ บหก
ประเด็นทีสิ
่ี เลือดประจาเดือน และเลือดหลังคลอดบุตร
ผูท้ มี
จะอาบน้าชาระร่างกาย เข ้าพิธห ี จั ญ ์และอุมเราะฮฺ
และปฏิบต ั ท ิ ุกพิธก ี รรมในทุกขันตอน ้ ยกเว ้นการทาเฏาะวาฟ
ต ้องรอจนกว่าจะสะอาดเสียก่อนถึงจะทาการเฏาะวาฟได ้
่ บเจ็ด
ประเด็นทีสิ

ผูห้ ญิงกล่าวคาตัลบียะฮฺด ้วยเสียงเบาๆ


ขณะทีผู่ ช
้ ายส่งเสริมให ้กล่าวเสียงดัง
และสาหร ับผูห้ ญิงไม่มก ่
ี ารวิงเหยาะๆในการเฏาะวาฟ
175
และในการสะแอ ไม่อ่านดุอาอ ์ด้วยเสียงดัง
่ นๆ
ไม่แทรกเข ้าไปอยู่อย่างแออัดในมุมหินดา และทีอื ่

ประเด็นทีสิ ่ บแปด
การโกนศีรษะหรือตัดผมเป็ นองค ์ประกอบหลักในการประกอบ
พิธหี จั ญ ์และอุมเราะฮฺ
แต่สาหร ับผูห้ ญิงนั้นจะไม่มก
ี ารโกนศีรษะ
แต่จะมีการตัดผมแทน

ซึงผลบู ญของนางจะอยู่ในสถานะเดียวกับการโกนศีรษะของผู ้
ชาย
และการตัดผมของนาง

ให ้ตัดผมสันขนาดข ้ ยวจากปุ่ มมัดผมทุกปุ่ ม
้อนิวเดี
หรือว่ารวบรวมผมทีเดียวแล ้วตัดตามขนาดข ้างต้น

176
ประเด็นทีสิ ่ บเก ้า ผูห้ ญิงควรรีบในการเฏาะวาฟอิฟาเฎาะฮฺ
(เฏาะวาฟหัจญ ์) ในวันทีสิ ่ บซุลหิจญะฮฺ
หากเกรงว่าเลือดประจาเดือนมาเร็ว ดังทีท่ ่ านหญิงอาอิชะฮฺ
่ ้ทาเช่นนั้น
ได ้สังให
เพราะเกรงว่าเลือดประจาเดือนจะมาเสียก่อน

เมือเฏาะวาฟอิ ฟาเฎาะฮฺแล ้วผูท้ มี่ี เลือดประจาเดือนไม่ต ้องเฏาะ
วาฟอาลา หากออกจากมักกะฮฺในสภาพทีมี ่ ประจาเดือน
ประเด็นทียี ่ สิ
่ บ ไม่อนุ ญาตให ้แต่งงานกับชายต่างศาสนิ ก
ไม่ว่าศาสนาใดก็ตาม
เนื่ องจากสามีมส ี ท ์ อภรรยาและภรรยาต ้องเชือฟั
ิ ธิเหนื ่ ง
นี่ คือแก่นแท ้ของการปกครอง
ดังนั้นผูป้ ฏิเสธศร ัทธาไม่มส ิ ธิที์ จะเป็
ี ท ่ นผูป้ กครอง
และมีอานาจเหนื อผูศ้ ร ัทธาทีได ่ ้กล่าวคาปฏิญาณทังสอง ้
ประเด็นทียี ่ สิ
่ บเอ็ด อัล-ฮาฎอนะหฺ
คือการเลืยงดู ้ บุตรทียั ่ งเยาว ์วัย หรือสติไม่สมประกอบ
ทียั่ งไร ้เดียงสา

หน้าทีของแม่ ้ บุตรทียั
ต ้องเลียงดู ่ งเยาว ์วัย หากนางปฏิเสธ
ต ้องมีการบังคับนาง จากนั้นเป็ นหน้าทีของบุ
่ ้
คคลเหล่านี ตามลาดับ
แม่ของนาง แม่ของแม่ ตามลาดับความใกล ้ชิด พ่อ แม่ของพ่อ
(ตามลาดับความใกล ้ชิด) พ่อของพ่อ (ปู่ ) จากนั้นแม่ของปู่
(ตามลาดับความใกล ้ชิดเช่นเดียวกัน) พีน้ ่ องสาวพ่อแม่เดียวกัน
่ องสาวร่วมแม่ พีน้
พีน้ ่ องสาวร่วมพ่อ พีน้
่ องสาวของพ่อ

177
่ องสาวของแม่ ป้ าหรือน้าของแม่ ป้ าหรือน้าของพ่อ
พีน้
ลูกสาวของพีน้ ่ อง ลูกสาวของลุงและป้ า
ลูกสาวของลุงและป้ าของพ่อ
ี่ สท
ผูท้ มี ิ ธิร์ ับมรดกในส่วนเหลือตามเครือญาติของเขา
เครือญาติทไม่ ี ่ มส ี ท ์
ิ ธิในมรดกของเขา อัลหากิม
(ผูม้ อี านาจการปกครองรัฐ)

และผูเ้ ป็ นพ่อต ้องจ่ายค่าจ ้างในการเลียงดู ้ แก่ผท ี่


ู ้ ขอค่ าจ ้าง

และเงือนไขผู ี่ ยงดู
ท้ เลี ้ ต ้องบรรลุนิตภ
ิ าวะ มีสติสมั ปชัญญะ
มีความสามารถในการอบรมสังสอน ่ มีความร ับผิดชอบต่อหน้าที่
มารยาทดี เป็ นมุสลิม ยังไม่แต่งงานคนใหม่
หากนางได ้แต่งงานคนใหม่แล ้ว หน้าทีการเลี ่ ้ บุตรก็จะตกไป
ยงดู
่ กมีอายุครบเจ็ดปี บริบูรณ์ ให ้เขาเลือกว่าจะอยู่กบั พ่อหรือแม่
เมือเด็
(ในกรณี หย่าร ้าง) ส่วนเด็กผูห้ ญิงนั้น หลังจากเจ็ดปี
พ่อจะมีสท ์ ยงดู
ิ ธิเลี ้ มากกว่า จนกว่านางจะแต่งงานมีสามีใหม่

178
ประเด็นทียี ่ สิ
่ บสอง
บรรดาปราชญ ์ผูรู้ ้ในทุกมัซฮับมีความเห็นพ้องกันว่า
จาเป็ นต ้องปกปิ ดทุกส่วนของร่างกายจากชายทีไม่ ่ ใช่มะห ์รอม(
่ี งงานด ้วยไม่ได ้)
ผูท้ แต่
แม้กระทั่งผูที ่ ทศ
้ มี ้
ั นะว่าใบหน้าและฝ่ ามือทังสองของผู ห้ ญิงไม่ใ
ช่เอาเราะฮฺ(ส่วนเรือนร่างทีต ่ ้องปกปิ ด)ก็ตาม
เนื่ องจากยุคนี มี ้ ผคู ้ นส่วนมากมีความวิบต ั ิ ไม่เคร่งคร ัด
ไม่ยบ ้
ั ยังการมองในสิ ่ ต
งที ่ ้องห ้าม

นี่ คือสิงที
่ ข ่ ้าพเจ ้ามีความสามารถจะรวบรวมและเรียบเรียงไว ้ในโอ
้ างรีบเร่ง ซึงขอพรต่
กาสนี อย่ ่ ออัลลอฮฺผส
ู ้ ูงส่ง
และปรีชาสามารถให ้ทรงอานวยประโยชน์จากผลงานชินนี ้ ด้ ้วยเถิด
พระองค ์นั้นอยู่เบืองหลั
้ งทุกเจตนา
และทรงเป็ นผูช ี้
้ ทางสู ่ ยงตรง
่ทางทีเที ่

ดร.ศอลิหฺ บิน ฆอนิ ม อัส-สัดลาน

อาจารย ์สาขาฟิ กฮฺ(นิ ตศ


ิ าสตร ์อิสลาม) คณะชะรีอะฮฺ กรุงริยาด

เสร็จสินจากการเรี ่ ้นเดือนซุลหิจญะฮฺ ณ มัสยิดอัล-
ยบเรียงเมือต
หะรอม ปี ฮ.ศ.1413

179

เนื อหา
ฟิ กฮฺ อ ย่ า งง่ า ย ............................................................................................. 2
บทนา ............................................................................................................. 3
สถานะและข ้อพิเศษของมรดกนิ ตศ
ิ าสตร ์อิสลาม .............................................. 5
หมวดที่ 1 ...................................................................................................... 14

สิงแรกที
ส ่ าคญในอิสลามคือการรักษาความสะอาด ........................................ 14

ประเภทของการทาความสะอาด ............................................................... 16
บทว่าด ้วยภาชนะ ....................................................................................... 17
ความหมายของภาชนะ ........................................................................... 17
ประเภทของภาชนะ................................................................................. 17

บทบัญญัตเิ กียวกั
บภาชนะ ...................................................................... 17
ภาชนะของต่างศาสนิ ก ........................................................................... 18
บทว่าด ้วยมารยาทในการขับถ่ายและการทาความสะอาด ................................ 19
บทว่าด ้วยหลักปฏิบต
ั ท ี่ นธรรมชาติ (ฟิ ฏเราะฮฺ) ........................................... 21
ิ เป็
่ เป็
สิงที ่ นฟิ ฏเราะฮฺ ................................................................................... 21

การอาบน้าละหมาด .................................................................................... 22
ความหมายของการอาบน้าละหมาด ......................................................... 22
ความประเสริฐของการอาบน้าละหมาด ..................................................... 22
่ ) ของการอาบน้าละหมาด ...................................... 23
องค ์ประกอบหลัก (รุกน
่ ควรปฏิ
สิงที ่ บตั ใิ นการอาบน้าละหมาด ....................................................... 24
่ ควรปฏิบต
สิงไม่ ั ิ (มักรูฮฺ) ในการอาบน้าละหมาด ......................................... 25

180
่ ท
สิงที ่ าให้เสียน้าละหมาด ........................................................................ 25

การอาบน้าชาระร่างกาย ............................................................................. 26
ความหมายเชิงภาษาและเชิงวิชาการ ........................................................ 26
่ จ่ าเป็ นต ้องอาบน้ายกหะดัษ................................................................ 26
สิงที
การอาบน้าทีส่
่ งเสริมให้ปฏิบต
ั ิ.................................................................. 27

เงือนไขของการอาบน ้ายกหะดัษ .............................................................. 28
่ ต
สิงที ่ ้องปฏิบต
ั ิ (วาญิบ) ของการอาบน้ายกหะดัษ....................................... 28
่ ) ของการอาบน้ายกหะดัษ............................................. 29
องค ์ประกอบ (รุกน
ข ้อควรปฏิบต ิ องการอาบน้ายกหะดัษ...................................................... 29
ั ข
่ ไม่
สิงที ่ ควรปฏิบต ิ องการอาบน้า (มักรูฮ)ฺ ................................................. 30
ั ข
่ี หะดัษใหญ่ ................................................................ 30
ข ้อห้ามสาหรับผูท้ มี

บทบัญญัตเิ กียวกั ่
บนะญิส (สิงปฏิ
กูล) ........................................................... 30
ชนิ ดของนะญิส ...................................................................................... 31
ประเภทของนะญิส .................................................................................. 31
่ ้รับการยกเว ้นหรืออนุ โลม......................................................... 33
นะญิสทีได
วิธก
ี ารทาความสะอาดนะญิส ................................................................... 33
การทาตะยัมมุม.......................................................................................... 34
คานิ ยามเชิงภาษาและเชิงวิชาการ ............................................................ 34
่ี โลมให้ทาตะยัมมุมได ้..................................................................... 34
ผูท้ อนุ

เงือนไขที
ต ่ ้องทาตะยัมมุม ........................................................................ 35

เงือนไขที
ท ่ าให้การตะยัมมุมสมบูรณ์ ........................................................ 35
่ ต
สิงที ่ ้องปฏิบต
ั ข
ิ องการทาตะยัมมุม (องค ์ประกอบ) ..................................... 35

181
่ ควรปฏิ
สิงที ่ บตั ข
ิ องการตะยัมมุม ............................................................... 36
่ ท
สิงที ่ าให้ตะยัมมุมเป็ นโมฆะ .................................................................... 36

วิธก
ี ารตะยัมมุม ...................................................................................... 36
การตะยัมมุมบนเฝื อกและบาดแผล ........................................................... 37
การลูบบนรองเท้าหนังและเฝื อก ................................................................... 37

การทาละหมาดเป็ นองค ์ประกอบหรือโครงสร ้างหลักข ้อทีสองของอิ
สลาม .......... 39
ความหมายเชิงภาษาและวิชาการ ............................................................. 39
การบัญญัตล
ิ ะหมาด ............................................................................... 40
เหตุผลการบัญญัตล
ิ ะหมาด ..................................................................... 40

บทบัญญัตเิ กียวกั
บการละหมาดและจานวนของมัน .................................... 41

การสังใช ้ผูเ้ ยาว ์ให้ละหมาด ..................................................................... 43

บทบัญญัตเิ กียวกั ่ี เสธว่าการละหมาดเป็ นบัญญัตภ
บผูท้ ปฏิ ิ าคบังคับ ............. 43
รุกน
่ (องค ์ประกอบหลัก) ของการละหมาด.................................................. 44
่ เป็
สิงที ่ นวาญิบของการละหมาด ............................................................... 45

เงือนไขของการละหมาด ......................................................................... 46
เวลาละหมาด 5 เวลา .............................................................................. 46
การละหมาดญะมาอะฮฺ ............................................................................ 51
การละหมาดย่อ ...................................................................................... 53
การละหมาดรวม .................................................................................... 54
การสุญด
ู สะฮฺวย
ี .....................................................................................
์ 55
การละหมาดตะเฏาวุอฺ ( ภาคสมัครใจ ) ...................................................... 56
การละหมาดวันศุกร................................................................................
์ 61

182

การละหมาดอีดทังสอง ............................................................................ 63
ละหมาดขอฝน....................................................................................... 66
ละหมาดสุรยิ ะคราสและจันทรคราส ........................................................... 67
การจัดการศพ ....................................................................................... 69
การจ่ายซะกาต .......................................................................................... 74
นิ ยามซะกาต ......................................................................................... 75
สถานะของซะกาตในอิสลาม.................................................................... 76

บทบัญญัตเิ กียวกั
บซะกาต ...................................................................... 76
่ ้องจ่ายซะกาต ...................................................................... 77
ทรัพย ์สินทีต
ปศุสต
ั ว ์คือ อูฐ วัว แพะหรือแกะ ................................................................. 78
่ งอกเงยจากดิ
สิงที ่ น (พืชผล) .................................................................... 80
สินทรัพย ์ในการค ้าขาย........................................................................... 81
การจ่ายซะกาต ...................................................................................... 82
ผูม้ ส
ี ท
ิ ธิรบั ซะกาต ................................................................................... 83
ซะกาตตุลฟิ ฏรฺ ....................................................................................... 85
การถือศีลอดเป็ นองค ์ประกอบหรือโครงสร ้างหลักข ้อทีสี ่ ของอิ
่ สลาม
ถือศีลอดเดือนเราะมะฎอน........................................................................... 86
นิ ยามและประวัตก
ิ ารบัญญัตก
ิ ารถือศีลอด ................................................. 86
ประโยชน์ของการถือศีลอด ..................................................................... 87
การกาหนดเดือนเราะมะฎอน ................................................................... 88
วาญิบต ้องถือศีลอดในเดือนเราะมะฎอน .................................................... 90
องค ์ประกอบ (รุกน
่ ) ของการถือศีลอด ...................................................... 91

183

เงือนไขที ่
วาญิบต ้องถือศีลอด .................................................................. 91
่ ควรปฏิ
สิงที ่ บตั ข
ิ ณะถือศีลอด................................................................... 91
่ ารังเกียจในขณะถือศีลอด ................................................... 92
การกระทาทีน่
ข ้อผ่อนปรนในการละศีลอด .................................................................... 93
่ ท
สิงที ่ าให้การถือศีลอดเสีย...................................................................... 94

หมายเหตุ .............................................................................................. 95
่ นสุนัต มักรูฮฺ (น่ ารังเกียจ) และหะรอม (ต ้องห้าม) ............... 96
การถือศีลอดทีเป็
่ ้องห้าม .......................................................................... 97
การถือศีลอดทีต
การอิอต
ฺ ก
ิ าฟ ......................................................................................... 98
่ า ทีอยู
หลักการข ้อทีห้ ่ ่ในหลักอิสลามคือ การประกอบพิธห
ี จั ญ ์ ...................... 102
ความหมายของคาว่า หัจญ ์................................................................... 102
บทบัญญัตข
ิ องการประกอบพิธห
ี จั ญ ์ ...................................................... 103
การประกอบพิธอี ม
ุ เราะฮฺ ....................................................................... 103

เหตุผลเกียวกั
บการบัญญัตก
ิ ารประกอบพิธห
ี จั ญ ์และอุมเราะฮฺ ................... 104
่ จ่ าเป็ นในการประกอบพิธห
เงือนไขที ี จั ญ ์และอุมเราะฮฺ ............................... 104
ประเภทของการประกอบพิธห
ี จั ญ ์และอุมเราะฮฺ ......................................... 105
องค ์ประกอบหลัก (รุกน
่ ) ของการประกอบพิธห
ี จั ญ ์และอุมเราะฮฺ ................. 107
่ เป็
สิงที ่ นวาญิบ(ต ้องปฏิบต
ั )ิ ในการอิห ์รอม ............................................... 108
ประการวาญิบของการประกอบพิธห
ี จั ญ..................................................
์ 114
ประการวาญิบของประกอบพิธอี ุมเราะฮฺ ................................................... 115
่ ้องห้ามของการครองอิห ์รอม ............................................................ 115
สิงต
มีกอต (เขตกาหนด) ............................................................................. 120

184
การทากรุบานและอะกีเกาะฮฺ ...................................................................... 123
อัลอุฎหิยะฮฺ (กุรบาน) ............................................................................ 123
อัลอะกีเกาะฮฺ ....................................................................................... 124
การญิฮาด ............................................................................................... 125
นิ ยาม.................................................................................................. 125
ประโยชน์ของการบัญญัตก
ิ ารญิฮาด ...................................................... 125

ข ้อชีขาดทางบทบั ่ บการญิฮาด ............................................ 126
ญญัตเิ กียวกั

เงือนไขของผู ท้ าการญิฮาด ................................................................... 126
ประเภทของการญิฮาด.......................................................................... 126
หลักปฏิบต
ั ใิ นการทาสงคราม ................................................................ 127
บรรดาเชลยศึก .................................................................................... 128

หน้าทีของทหารต่ อผูน้ า(แม่ทพ
ั ) ............................................................ 129
หมวดที่ 2 การทาธุรกรรม.............................................................................. 130

การซือขาย ............................................................................................. 130

ความหมายของการซือขายตามหลั
กภาษาและตามบทบัญญัติ .................. 130
เหตุผลจากการอนุ มต
ั ก ้
ิ ารซือขาย .......................................................... 130

องค ์ประกอบหลักของการซือขาย ........................................................... 131

สานวนการซือขาย ............................................................................... 131

เงือนในการซื ้
อขาย .............................................................................. 132
่ ้องห้าม ........................................................................... 133
การค ้าขายทีต
นิ ยามของดอกเบีย้ ............................................................................... 135
อัลอิญาเราะฮฺ หมายถึง ......................................................................... 141

185
่ เป็
การวะกัฟ(สิงที ่ นสาธารณะประโยชน์) ...................................................... 145

นิ ยามวะกัฟเชิงภาษาและวิชาการ ........................................................... 145


หลักฐานการทาวะกัฟ ........................................................................... 145
เหตุผลการบัญญัตก
ิ ารทาวะกัฟ ............................................................. 146
ถ ้อยคาการทาวะกัฟ ............................................................................. 147
ประเภทของการทาวะกัฟ ....................................................................... 148
่ ท
สิงที ่ าวะกัฟ ........................................................................................ 149

เงือนไขผู ่ี าการวะกัฟ ..................................................................... 150
ท้ จะท

เงือนไขสิ ่
งวะกั
ฟ ................................................................................... 150
วิธก ่
ี ารใช ้ประโยชน์จากสิงวะกั
ฟ ............................................................. 151
ความแตกต่างระหว่างวะกัฟและวะศียะฮฺ(พินัยกรรม) ................................. 151
พินัยกรรม ............................................................................................... 152
นิ ยามของพินัยกรรม............................................................................. 152
หลักฐานทางบทบัญญัตก
ิ ารทาพินัยกรรม ............................................... 153
พินัยกรรมมีผลบังคับใช ้โดย .................................................................. 153

ข ้อชีขาดทางบทบั
ญญัติ ....................................................................... 154
ประเภทของพินัยกรรม .......................................................................... 155
อัตราทรัพย ์สินในการทาพินัยกรรม ........................................................ 155
พินัยกรรมจะสมบูรณ์โดย ...................................................................... 156

เงือนไขผู ท้ าพินัยกรรม (เจ ้าของพินัยกรรม) ............................................ 156

เงือนไขผู ร้ บั พินัยกรรม.......................................................................... 156

เงือนไขสาระแห่ ่ เป็
งพินัยกรรม (สิงที ่ นพินัยกรรม) ..................................... 157

186
ผูร้ บั ผิดชอบพินัยกรรม (หรือผูจั้ ดการพินัยกรรม) .................................... 158
่ ท
สิงที ่ าให้พน
ิ ัยกรรมเป็ นโมฆะ................................................................ 158
หมวดที่ 3 กฎหมายครอบครัว การนิ กาหฺ(การแต่งงาน)..................................... 160
ส่วนหนึ่ งจากเหตุผลของการแต่งงาน ...................................................... 160
ความหมายของการนิ กาหฺตามหลักภาษาและตามบทบัญญัติ .................... 161

ข ้อชีขาดทางบทบั
ญญัติ ....................................................................... 161
ถ ้อยคาในการนิกาหฺ ............................................................................. 162
องค ์ประกอบหลักของการนิ กาหฺ ............................................................. 162

เงือนไขที
ท ่ าให้การนิ กาหฺสมบูรณ์ 4 ข ้อ คือ ............................................ 163

สิงควรปฏิ
บตั แิ ละห้ามปฏิบต
ั ใิ นการแต่งงาน ............................................. 164
หมวดที่ 4 บทบัญญัตเิ กียวกั
่ บสตรีมส
ุ ลีมะฮ ์ ..................................................... 166
คานา ...................................................................................................... 166
ประเด็นสาหรับสตรีโดยเฉพาะ ............................................................... 166

187
188

You might also like