You are on page 1of 56

สิทธิ

ไชย ณ พล
สิทธิ
โดย
ไชย ณ พล

ผู้อํานวยการ : สุดาทิพย์ เจียรวงศ์

บรรณาธิการบริหาร : นวภัสร์ ปัญญาสกุลวงศ์

พิสูจน์อักษร : ณัฏฐา เจียรวงศ์, ณัตยาภรณ์ เจียรวงศ์

ประกาศธรรมสู่โลกกว้าง : นิตินาถ ชาติศิรวิ ัฒนา

จัดทําโดย : มูลนิธอ
ิ ุทยานธรรม

สงวนลิขสิทธิธ์ตามกฎหมาย
© มูลนิธอ
ิ ุทยานธรรม
www.uttayarndham.org
สารบัญ
กําเนิดสิทธิ 1

เกณฑ์การบริหารสิทธิ 12

ระบบบริหารสิทธิ 16

การบริหารมนุษย์นานาพฤติกรรมแห่งนานาสิทธิ 23

ธ่องด้วยสิทธิ
การป้องกันปัญหาทัธ้งปวงอันเนื 42

อิสรภาพเหนือระบบสิทธิอันไร้ศานติ 48
1

ถาม
อาจารย์ครับ ผมสังเกตเห็นในสังคมปั จจุบนั
ไม่วา่ จะเป็ นระดับประเทศ องค์กร บริ ษัท ครอบครัว
แม้ กระทังC วัด จะมีกลุม่ คนทีCไม่มีสทิ ธิ ออกมาเรี ยก
ร้ องสิทธิ น่าแปลกทีCคนมีสทิ ธิกลับไม่คอ่ ยออกมา
เรี ยกร้ องอะไร เราจะบริ หารคนเหล่านี Gอย่างไรครับ

ไชย ณ พล ตอบ
โอ.. ปั ญหานี Gเป็ นปั ญหาจักรวาลเลยนะ ระบบ
กรรมมีไว้ เพืCอบริ หารความชอบธรรม ความเป็ นธรรม
ศีลธรรมแห่งสิทธิทงหลายนี
ัG Cแหละ ในโลกก็มีหลาย
ระบบถูกพัฒนาขึ GนมาเพืCอบริ หารสิทธิหน้ าทีCของ
ประชากรโลก ทังระบอบการเมื
G อง ระบบเศรษฐกิจ
ระบบกฎหมาย ระบบศาลสถิตยุตธิ รรม ระบบการ
บริ หาร ระบบวัฒนธรรม แม้ กระทังC จารี ตทางสังคม
เนืCองจากเป็ นประเด็นทีCใหญ่มาก ดังนันG ค่อย ๆ
พิจารณาไปนะ
กําเนิด
สิทธิ
3

กําเนิดสิทธิ

ก่อนอื&นเราต้ องรู้ก่อนว่า สิทธิมาจากไหนบ้ าง?


4

สิทธิโดยธรรมชาติ เช่น ทุกชีวิตทีCเกิดมามีสทิ ธิทีC


จะดํารงอยู่ ใครไปทําลายการดํารงอยูข่ องชีวิต คือ
ไปฆ่าให้ ตายเป็ นการทําลายสิทธิ หรื อชีวิตทีCดํารงอยู่
แล้ วย่อมมีสทิ ธิทีCจะตายเมืCอร่างกายทํางานไม่ไหว
แล้ ว ใครไปยับยังการตายก็
G เป็ นการละเมิดสิทธิ
เช่นกัน ชีวิตทีCเกิดมาในโลกนี Gย่อมมีสทิ ธิทีCจะเลือก
อยูท่ ีCใดก็ได้ ในโลกกว้ าง เหมือนนกทังหลายบิ
G นไป
อยูห่ ลายทีCในโลกแม้ ในป่ า แม้ ในเมือง แม้ บนหลังคา
บ้ าน แม้ มดและแมลงต่าง ๆ ก็เช่นกัน อยูท่ กุ ทีCใน
โลก การไปกีดกันสิทธิธรรมชาติจดั เป็ นการกีดกัน
สิทธิ แต่ถ้าปล่อยให้ ทกุ ชีวิตทําตามอําเภอใจ ความ
ยุง่ เหยิงโกลาหลเกิดขึ Gนได้ มาก จึงมีการสมมติสทิ ธิ
ครอบครองขึ Gน
5

สิทธิโดยสมมติ เช่น ทีCดนิ ในโลกนี Gไม่ได้ เป็ นของ


ชีวิตใดชีวิตหนึงC เลย แต่มนุษย์ได้ ขีดเส้ นแบ่งเขต
ครอบครองกัน เมืCอครอบครองแล้ ว ผู้ครอบครองก็มี
สิทธิเหนือทีCดนิ นันG นันC เป็ นสิทธิโดยสมมติ ไม่ใช่สทิ ธิ
โดยธรรมชาติ

หรื อการทีCประชาชนสมมติแต่งตังบุ
G คคลให้ ทํา
หน้ าทีCแทนตนในฐานะนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี
สมาชิกสภา ผู้แทนราษฎรออกกฎหมาย ศาล
ยุตธิ รรม และแม้ แต่ตวั แทนดําเนินการใด ๆ แทนตน
นันC เป็ นสิทธิโดยสมมติ

หรื อการทีCกฎหมายสมมติให้ บคุ คลผู้เข้ าเกณฑ์


มีสทิ ธิทีCจะได้ รับสวัสดิการชุดหนึงC ๆ นันC ก็เป็ นสิทธิ
ตามสมมติ
6

สิทธิโดยหน้าที่ เช่น พ่อแม่ให้ กําเนิดลูกมาย่อมมี


สิทธิโดยหน้ าทีCทีCจะรัก เลี GยงดูอบรมสังC สอนบุตรบุตรี
ของตน บุตรบุตรี มีสทิ ธิโดยหน้ าทีCทีCจะรัก ผูกพัน
เชืCอฟั ง และตอบแทนคุณพ่อแม่

เมืCอบุตรเติบโต กล้ าสามารถดูแลตัวเองได้ ดี


แล้ ว สิทธิโดยธรรมชาติก็เข้ ามาทําหน้ าทีC บุตรจึงมี
สิทธิทีCจะเลือกวิถีความเป็ นอยูข่ องตนด้ วยตัวเองได้
กระนันG พ่อแม่เป็ นฐานะตลอดชีพ พ่อแม่จงึ มีสทิ ธิ
แสดงความห่วงใยแนะนําได้ ตามหน้ าทีCไปจนตาย
แต่ชีวิตเป็ นของลูกเอง ทีCลกู มีหน้ าทีCต้องดูแลตัวเอง
ไปจนตาย แม้ ไม่มีพอ่ แม่อยูแ่ ล้ ว ลูกจึงมีสทิ ธิทีCจะ
ตัดสินใจเองแม้ ไม่ตรงกับคําแนะนําของพ่อแม่ก็ตาม
พ่อแม่ลกู ทีCเข้ าใจกลไกนี G ยอมรับความจริ ง ก็จะอยู่
กันด้ วยความแช่มชืCน เข้ าอกเข้ าใจ ให้ เกียรติกนั
พ่อแม่ลกู ทีCไม่เข้ าใจกลไกนี G ไม่ยอมรับความจริ ง
ก็จะมีปัญหาระหว่างกันเนือง ๆ
7

หรื อเช่น คนสามสิบห้ าคนได้ รับการแต่งตังG


สมมติขึ Gนให้ เป็ นคณะรัฐบาลบริ หารประเทศ แท้ จริ ง
ประเทศเป็ นของประชาชนทุกคน แต่เมืCอคณะ
รัฐบาลได้ รับการสมมติโดยชอบธรรม ก็ได้ รับสิทธิ
โดยหน้ าทีCทีCจะวางแผน ตัดสินใจ ปฏิบตั กิ ารแทนคน
หลายล้ านคน เพืCอความผาสุกของประชาชน
และความเจริ ญของประเทศ

หากรัฐบาลไม่ทําหน้ าทีC หรื อทําในสิงC ทีCไม่


ชอบธรรมตามหน้ าทีC หรื อทําแล้ วไม่ได้ ผลดี
ประชาชนเจ้ าของประเทศก็มีสทิ ธิทีCจะยกเลิกการ
สมมติ ยึดสิทธิโดยหน้ าทีCคืน แล้ วสมมติคณะอืCนมา
ทําหน้ าทีCตามวาระหรื อลัดวาระตามความจําเป็ น
เป็ นต้ น
8

สิทธิโดยกรรม กรรมสร้ างสิทธิแห่งวิบาก


ทังหลาย
G เช่น คนให้ ทานอุดมย่อมมีสทิ ธิทีCจะ
รํC ารวย คนทรงศีลอุดมย่อมมีสทิ ธิทีCจะสวยงาม
คนภาวนาอุดมย่อมมีสทิ ธิทีCจะมีปัญญาดี
คนอุดมด้ วยความอ่อนน้ อมย่อมมีสทิ ธิทีCจะเป็ น
ทีCรักทีCยอมรับ ได้ รับการยกย่องให้ เป็ นใหญ่
คนขวนขวายในกิจผู้อืCนมากย่อมมีสทิ ธิทีCจะมีมิตร
มาก คนฟั งความเป็ นจริ งมากย่อมมีสทิ ธิทีCจะรอบรู้
คนแสดงสัจธรรมมากย่อมมีสทิ ธิทีCจะแตกฉาน
คนอุทิศส่วนกุศลมากย่อมมีสทิ ธิทีCจะได้ สทิ ธิพิเศษ
คนอนุโมทนาส่วนกุศลมากย่อมมีสทิ ธิทีCจะได้ รับ
ขบวนติดตาม คนปรับความเห็นให้ ตรงสัจจะมาก
ย่อมมีสทิ ธิทีCจะบรรลุธรรม

ในขณะทีCคนทีCฆา่ สัตว์มากย่อมมีสทิ ธิทีCจะ


เจ็บป่ วยบ่อยและลงนรก คนลักทรัพย์มากย่อมมีสทิ ธิ
9

ทีCจะยากจนและไปเป็ นเปรต คนผิดกามมากย่อมมี


สิทธิทีCจะประสบความเสือC มศรัทธาและลงนรก
คนโกหกมากย่อมมีสทิ ธิทีCจะเสียความน่าเชืCอถือ
เสียมิตรและลงนรก คนส่อเสียดให้ คนเข้ าใจผิดกัน
มากย่อมมีสทิ ธิทีCจะประสบความแตกแยกและลงนรก
คนเพ้ อเจ้ อเหลวไหลมากย่อมมีสทิ ธิทีCจะเหลาะแหละ
ล้ มเหลวและไปเป็ นสัตว์เดรัจฉาน คนเพ่งอยากได้
สิทธิของคนอืCนโดยไม่ชอบโดยมากย่อมมีสทิ ธิทีCจะ
สูญเสียและไปเป็ นเปรต คนผูกโกรธมากย่อมมีสทิ ธิทีC
จะเศร้ าหมองเครี ยดและลงนรก คนหลงผิดเหนียว
แน่นย่อมมีสทิ ธิทีCจะโง่งมและไปเป็ นเดรัจฉานหรื อลง
นรก

เหล่านีค( ือสิ ทธิ พืน( ฐานแห่งวิ บากกรรม


นอกจากนัน( ยังมี สิทธิ พิเศษตามการอธิ ษฐาน
เพิ@ มเติ มตามแต่ละกรณี ไป
10

สิทธิโดยธรรม เช่น ผู้ทีCสาํ เร็จอรหันต์แล้ วย่อมมีสทิ ธิ


เต็มบริ บรู ณ์ทีCจะไม่เกิดในจักรวาลอีก ผู้ทีCสาํ เร็จ
อนาคามีแล้ วย่อมมีสทิ ธิเต็มบริ บรู ณ์ทีCจะตรัสรู้ใน
สุทธาวาสพรหมไม่ต้องมาเกิดในโลกอีก ผู้ทีCสาํ เร็ จ
สกทาคามียอ่ มมีสทิ ธิทีCจะเกิดในโลกอีกหนึงC ชาติและมี
สิทธิทีCจะสําเร็จอรหันต์ในชาตินนั G ใครจะมาขวางไม่ให้
เกิดหรื อไม่ให้ สาํ เร็จในชาตินนก็
ั G ไม่ได้ ผู้ทีCสาํ เร็ จ
โสดาบันย่อมมีสทิ ธิทีCจะเกิดในโลกอีกเจ็ดชาติและมี
สิทธิทีCจะสําเร็จอรหันต์ในชาติเหล่านันG ใครจะมายื Gอ
ไม่ให้ เกิดนันไม่
G ได้
11

พระสัมมาสัมพุทธเจ้ าเป็ นผู้มีสทิ ธิในการ


บริ หารศาสนกิจและปกครองคณะสงฆ์โดยธรรม
หากไม่มีพระสัมมาสัมพุทธเจ้ าแล้ ว พระอรหันต์เป็ น
ผู้มีสทิ ธิ หากไม่มีพระอรหันต์ พระอนาคามีจงึ มีสทิ ธิ
หากไม่มีพระอนาคามี พระสกทาคามีจงึ มีสทิ ธิ หาก
ไม่มีพระสกทาคามี พระโสดาบันจึงมีสทิ ธิ หากไม่มี
พระโสดาบัน พระผู้ทรงความรู้ (เปรี ยญปริ ญญา)
จึงมีสทิ ธิ หากไม่มีพระผู้ทรงความรู้ พระปุถชุ นทีCดี
ทีCสดุ เท่าทีCมีอยูจ่ งึ มีสทิ ธิ

นีค@ ือสิ ทธิ โดยธรรมตามลําดับความบริ สทุ ธิI


หากใครพยายามกลับหัวกลับหางก็จะประสบชะตา
กรรมดัง@ พระเทวทัต
เกณฑ์การ
บริหารสิทธิ
13

เกณฑ์
การบริหารสิทธิ

เมืCอระบบสิทธิเกิดขึ Gนแล้ ว ก็ต้องมีหลักเกณฑ์


ในการบริ หารสิทธิ ดังนี G

หลักความชอบธรรม ว่าด้ วยทีCมาของการได้ มา


ซึงC สิทธินนต้
ั G องถูกต้ องโดยธรรม เช่น การเป็ นผู้นํา
ประเทศต้ องได้ รับความเห็นชอบจากประชาชน
การเป็ นผู้แทนของประชาชนต้ องได้ คะแนนมาโดย
สุจริ ตปราศจากการซื Gอเสียง เป็ นต้ น
14

หลักความเป็นธรรม ว่าด้ วยความสมคุณค่า


เช่น สินราคาเป็ นธรรมคือสินค้ าทีCราคาสมคุณค่า
การจัดสรรอํานาจและประโยชน์ในการบริ หารต้ อง
สมคุณค่าแห่งภารกิจบุคคลและผลอันเกิดขึ Gน
การแบ่งมรดกต้ องสมคุณค่าของทายาทแต่ละคน
เป็ นต้ น

หลักศีลธรรม ว่าด้ วยความถูกต้ องตามกฎแห่ง


กรรมทีCบญั ญัตวิ า่ บุคคลจะละเมิดสิทธิผ้ อู ืCนไม่ได้
หากละเมิดก็ต้องชดใช้ หากไม่ชดใช้ ก็จะมีกลไก
วิบากกรรมบังคับให้ ชดใช้ ซึงC ดอกเบี Gยกรรมเป็ น
ดอกเบี GยทีCแพงทีCสดุ ในจักรวาล
15

หลักข้อตกลงโดยสมัครใจ ว่าด้ วยความตกลง


ยินยอมพร้ อมใจในการมอบสิทธิ รับสิทธิ ร่วมสิทธิ
ด้ วยสติสมั ปชัญญะอันบริ บรู ณ์ ปราศจากการ
แทรกแซง การหลอกล่อ ใช้ กลฉ้ อฉล หรื อการข่มขู่
ใด ๆ

นีค@ ือเกณฑ์การบริ หารสิ ทธิ ทงั( หลายอย่าง


ถูกต้อง
16

ระบบบริหารสิทธิ

เมืCอมีเกณฑ์การบริ หารสิทธิอย่างถูกต้ องแล้ ว


ก็ต้องมีระบบการจัดการสิทธิให้ เป็ นไปตามความ
ถูกต้ องนันG จักรวาลและโลกได้ พฒ ั นาสารพัดระบบ
มาเป็ นเครืC องมือในการบริ หารจัดการ ได้ ผลดีบ้าง
ได้ ผลเสียบ้ าง ได้ ทงดี
ั G ทงเสี
ั G ยบ้ าง

ระบบกรรม กฎแห่งกรรมเป็ นกฎหมายจักรวาล


มีความเทีCยงธรรมสูงสุด เพราะระบบกรรมไม่เอา
ฐานะสมมติมาประกอบการพิจารณา ไม่วา่ จะเป็ น
เลขาธิการสหประชาชาติ ประธานาธิบดี พระราชา
มหากษัตริ ย์ ผู้พิพากษา นักบวช หรื อบุคคลใด ๆ
หากทําดีก็ไปสวรรค์เดียวกับนักบุญเช่นกัน หากทํา
บาปก็ลงนรกเดียวกับโจรเช่นกัน
17

ระบบเศรษฐกิจ เช่น ระบบคอมมิวนิสต์ (ไม่ให้


ประชาชนครอบครองสมบัติ สมบัตทิ งหมดเป็ ัG นของ
รัฐ ประชาชนต้ องอาศัยรัฐอยู่ หรื อเช่ารัฐอยู่ ทุกคน
ต้ องทํางานสร้ างผลผลิตจึงมีสทิ ธิตา่ ง ๆ ในสังคม)
ระบบเสรี ทนุ นิยม (ให้ ทนุ เป็ นเกณฑ์หลักในการ
ครอบครองสิทธิ ประชาชนมีสทิ ธิแสวงหาทุนโดยเสรี
ใช้ ทนุ แลกเปลียC นสิทธิตา่ ง ๆ ตามปรารถนา) ระบบ
รัฐสวัสดิการ (ให้ รัฐเป็ นตัวการในการปรับเกลียC สิทธิ
ให้ เท่าเทียมทัวC ถึง แม้ ทนุ จะไม่เท่าเทียมกันก็ตาม)

ระบอบการปกครอง เช่น ระบอบ


สมบูรณาญาสิทธิราชย์ (กษัตริ ย์เป็ นใหญ่) ระบอบ
เสรี ประชาธิปไตย (ประชาชนเป็ นใหญ่) ระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ย์เป็ นประมุข
(ประชาชนเป็ นใหญ่กษัตริ ย์เป็ นประมุข) ระบอบ
สังคมนิยม (สังคมเป็ นใหญ่ บริ หารโดยคณะบุคคล
จากภาคส่วนต่าง ๆ ในสังคม)
18

ระบบกฎหมาย เช่น กฎหมายบัญญัตโิ ดยผู้นํา


กฎหมายบัญญัตโิ ดยตัวแทนของประชาชน
กฎหมายบัญญัตโิ ดยตุลาการ กฎหมายบัญญัตโิ ดย
ข้ าราชการ ไม่วา่ จะอยูใ่ นรูปของรัฐธรรมนูญ
พระราชบัญญัติ พระราชกําหนด พระราชกฤษฎีกา
ประกาศคณะปฏิวตั ิ กฎกระทรวง ระเบียบปฏิบตั ิ
ข้ อบังคับของศาล และอืCนใดก็ตาม ถูกบัญญัตขิ ึ Gนมา
เพืCอควบคุมพฤติกรรมชนหมูใ่ หญ่

หน้ าทีCของผู้บญ
ั ญัตแิ ละผู้ปฏิบตั ติ ามจะต้ อง
พิจารณาเสมอ คือ กฎเหล่านันG ชอบธรรม เป็ นธรรม
ถูกศีลธรรม หรื อและเป็ นข้ อตกลงโดยสมัครใจ
หรื อไม่ ในประเทศทีCเจริ ญแล้ ว หากกฎหมายไม่เป็ น
ธรรม เมืCอมีกรณีไปสูศ่ าล ศาลจะสังC ให้ ยกฟ้องไป
ไม่ใช่เพราะไม่ชอบด้ วยกฎหมาย แต่เพราะกฎหมาย
นันไม่
G ชอบธรรม หรื อการปฏิบตั ขิ องเจ้ าหน้ าทีCไม่เป็ น
ธรรม
19

ระบบบริหาร เช่น การบริ หารรัฐกิจเพืCอความ


ผาสุกของประชาชน การบริ หารธุรกิจเพืCอความเป็ น
ธรรมต่อลูกค้ า บริ ษัท และผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย
ทังหมด
G

ระบบวัฒนธรรม เช่น การส่งเสริ มสิงC ดี ๆ ในสังคม


ให้ คงอยูย่ าวนาน การป้องปรามสิงC ไม่ดีทีCเป็ นภัยต่อ
สังคม

ระบบครอบครัว เช่น การบริ หารครอบครัวเพืCอ


ความสุขความเจริ ญของสมาชิกทุกคนในครอบครัว

ระบบความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เช่น
ประเทศทีCปรารถนามีสมั พันธไมตรี อนั แน่นแฟ้น
ระหว่างกัน ต่างยอมยกดินแดนแปลงหนึงC ให้
ประเทศพันธมิตรมาสร้ างอาณาจักรน้ อยในประเทศ
ของกันและกัน เรี ยกว่าสถานทูต สถานทูตมีเอกสิทธิb
20

ทางการทูตเทียบเท่าประเทศคูม่ ิตรภาพ ประเทศเจ้ า


บ้ านจะรุกลํ Gาสถานทูตไม่ได้ การรุกลํ Gาสถานทูต
เทียบเท่าการรุกรานประเทศ จะนํามาซึงC ความ
ขัดแย้ งใหญ่หรื อสงครามตามมาแล้ วแต่กรณี

ระบบศาสนา เช่น สังคมให้ สทิ ธิแก่นกั บวชให้


บําเพ็ญเพียรแสวงหาความหลุดพ้ น โดยไม่ต้องทํา
การงานอืCน ประชาชนจะบริ จาคปั จจัยเลี Gยงดูเอง
โดยมีกติกาว่า นักบวชต้ องปฏิบตั ติ นให้ หมดจดตาม
ศีลธรรม ปฏิบตั ธิ รรมจริ งจัง เมืCอพ้ นทุกข์แล้ วก็มี
หน้ าทีCพาประชาชนผู้เลี Gยงดูให้ พ้นทุกข์

นักบวชจึงมีหน้ าทีCปฏิบตั ธิ รรมและปฏิบตั ิ


ธรรมเท่านันG จะไปปฏิบตั กิ ิจทางโลก มุง่ หาลาภ
สักการะไม่ได้ ขืนทําก็จะพลัดไปรับสิทธิตามกรรม
คือ ต้ องไปเป็ นสัตว์ใช้ แรงทํางานทดแทน
scholarship ทีCได้ จากสังคมไป
21

ระบบวิวัฒนาการ ปุถชุ นผู้ไม่ศกึ ษาสัจธรรม ไม่


ปฏิบตั ธิ รรม ไม่สนใจบรรลุธรรม ก็มีสทิ ธิทีCจะเกิด
ตายในวัฏฏะตามอัธยาศัย บ้ างก็เลี Gยงกิเลสไว้ ดเู ล่น
บ้ างก็เลี Gยงกิเลสไว้ กดั กัน บ้ างก็เลี Gยงกิเลสไว้ ดิ Gนรน
อยูร่ อด บ้ างก็เลี Gยงกิเลสไว้ โชว์ บ้ างก็เลี Gยงกิเลสไว้
ทําวิจยั บ้ างก็เลี Gยงกิเลสไว้ บม่ เพาะความเบืCอหน่าย
เมืCอเบืCอได้ ทีCแล้ วก็จะขวนขวายปฏิบตั เิ พืCอบรรลุธรรม
บ้ าง ซึงC ก็เป็ นสิทธิแห่งการเรี ยนรู้พฒ ั นาไต่ระดับ
วิวฒั นาการของทุกชีวิตในจักรวาล
22

ไม่วา่ มนุษย์จะบัญญัตอิ ะไรออกมา สิงC ซึงC พึง


สังวรไว้ ตลอดเวลาคือกฎหมายของมนุษย์จะขัดแย้ ง
กับกฎแห่งกรรมอันเป็ นกฎหมายจักรวาลไม่ได้
ในทํานองเดียวกันกับข้ อบังคับของจังหวัดจะขัดแย้ ง
กับกฎหมายของประเทศไม่ได้

ดังนัน% หน้ าที,ของทุกท่ านคือ ต้ อง


พิจารณาเสมอว่ า กฎ ระบบ และการปฏิบตั ิ
ตามกฎและระบบนัน% ชอบธรรม เป็ นธรรม
ถูกศีลธรรม หรื อและเป็ นข้ อตกลงโดยสมัครใจ
ของทุกคนที,เกี,ยวข้ องเฉพาะกรณีนัน% ๆ หรื อไม่
การบริหารมนุษย์
นานาพฤติกรรม
แห่งนานาสิทธิ
24

การบริหารมนุษย์
นานาพฤติกรรม
แห่งนานาสิทธิ
เมืCอมีระบบสิทธิในจักรวาล ชีวิตทังหลายที
G C
ปฏิสมั พันธ์กนั ด้ วยสิทธิ มักจะมีพฤติกรรมต่อสิทธิ
ของกันและกันนานาประการ คือ

การมอบสิทธิ เช่น การมอบอํานาจทังหลายเป็


G น
การมอบสิทธิให้ ดําเนินการแทนตน หรื อพ่อแม่มอบ
มรดกเป็ นการมอบสิทธิในการครอบครองทรัพย์
ประชาชนเลือกตังผู
G ้ แทนเป็ นการมอบสิทธิให้ มี
อํานาจดําเนินการแทนประชาชน
25

การยอมรับสิทธิ เช่น ผู้แทนทีCยอมรับผลการ


เลือกตังเข้
G ารายงานตัวต่อรัฐสภา เป็ นการยอมรับ
สิทธิของประชาชนไปดูแลให้ เกิดประโยชน์สขุ แก่
ประชาชนทีCเลือกตนเข้ ามา หรื อการทีCบคุ คลเข้ าไป
ใช้ โปรแกรมซอฟต์แวร์ ของบุคคลอืCนหรื อบริ ษัท
ต่าง ๆ จะมีสว่ นทีCให้ ยอมรับข้ อตกลงในการให้
บริ การ ซึงC เป็ นการรักษาสิทธิของเจ้ าของโปรแกรม
เป็ นหลัก หากยอมรับสิทธินนก็ ั G กด “ยอมรับ” จึง
สามารถเข้ าใช้ โปรแกรมได้

การร่วมสิทธิ เช่น การทีCบา่ วสาวมาแต่งงานกัน


เป็ นทังการมอบสิ
G ทธิของตนไปแชร์ กบั คนอืCน
และเป็ นการยอมรับสิทธิของคนอืCนมาอยูใ่ นความ
รับผิดชอบของตน เกิดการร่วมสิทธิในหลายเรืC อง
แห่งชีวิต
26

ดังนันG ก่อนแต่งต้ องประเมินให้ ดีวา่ การทีCเรา


จะเอาสิทธินานาประดามีไปลงทุนร่วมชีวิตกับ
บุคคลอืCนนันG ความลงตัวโดยเกณฑ์ตา่ ง ๆ
เหมาะสมแค่ไหน ผลโดยรวมจะดีกว่าดูแลสิทธิคน
เดียวเพียงใด หากไม่ค้ มุ อยูค่ นเดียวดีกว่า หากคุ้ม
ทังคู
G ่ ร่วมสิทธิกนั ดีกว่า

การละเมิดสิทธิ คือ การใช้ สอยทรัพย์สทิ ธิหรื อ


บุคคลสิทธิของผู้อืCนโดยทีCเจ้ าของมิได้ ยินยอม
อนุญาต

การทับสิทธิ เช่น การทีCอทุ ยานแห่งชาติขีดเส้ น


แนวอุทยานทับแนวทีCดนิ ในครอบครองของประชาชน
แต่เดิม เป็ นการทับสิทธิ และก่อให้ เกิดปั ญหาขัดแย้ ง
กันหลายแห่ง ในทีCสดุ ก็อะลุม่ อล่วยโดยให้ ประชาชน
และทายาททีCถือครองแต่เดิมอยูอ่ าศัยไปตลอดชีวิต
แต่ไม่อนุญาตให้ รายใหม่เข้ ามาถือครอง เป็ นต้ น
27

การล้ำสิทธิ เช่น การทีCต้นไม้ เป็ นทีCอยูแ่ ละอาหาร


ของสรรพสัตว์ แต่มนุษย์ไปตัดต้ นไม้ โดยไม่ได้ รับ
อนุญาตจากสรรพสัตว์ นันC เป็ นการลํ Gาสิทธิ หรื อการ
ทีCประชาชนเข้ าไปหาของป่ าในเขตป่ าสงวนและ
อุทยานโดยผิดกฎหมาย นันC ก็เป็ นการลํ Gาสิทธิ
หรื อการทีCประชาชนปลูกบ้ านลํ Gาเขตแม่นํ Gาลําคลอง
สาธารณะ นันC ก็เป็ นการลํ Gาสิทธิ หรื อการทีCทางการ
ถมคลองสาธารณะทําถนนโดยไม่ทําทางนํ Gาลอดให้
นันC ก็เป็ นการลํ Gาสิทธิชมุ ชน

การสวมสิทธิ หรื อการโอนสิ ทธิ เช่น การทีCบคุ คลมี


สิทธิในสิงC ใดสิงC หนึงC ทีCต้องจดทะเบียนตามกฎหมาย
หรื อไม่ต้องจดทะเบียนตามกฎหมายได้ ขายโอนสิทธิ
นันให้
G แก่ผ้ รู ับโอนสิทธิ ซึงC ผู้รับโอนสิทธิสามารถสวม
สิทธิในการจดทะเบียนตามกฎหมายแทนผู้ถือสิทธิ
เดิมได้ (ซึงC ปรากฏมากในวงการอสังหาริ มทรัพย์)
หรื อสวมสิทธิในการใช้ สอยสิทธิแทนผู้ถือสิทธิเดิม
28

การดูดายสิทธิ เช่น บุคคลทีCไม่ไปเลือกตังผู G ้ แทน


ของตนทังG ๆ ทีCมีสทิ ธิ หรื อบุคคลมีสทิ ธิในสิงC ใดสิงC
หนึงC อยูแ่ ต่ไม่ร้ ูจะทําอย่างไร จึงดูดายทอดทิ Gงสิทธิ
นันไป
G

การไม่เคารพสิทธิ เช่น บุคคลทีCรังเกียจผู้อืCนด้ วย


เหตุแห่งความต่างเพศ ต่างวัย ต่างการศึกษา
ต่างฐานะ ต่างอาชีพ ต่างความคิด ต่างอุดมการณ์
ต่างพรรคพวก ต่างภาพลักษณ์ ต่างอุปนิสยั
ต่างอัตลักษณ์ ต่างเป้าหมาย ต่างกลยุทธ์
ต่างเชื Gอชาติ ต่างภาษา ต่างศาสนา ต่างวัฒนธรรม
ต่างวิวฒ ั นาการ และอืCน ๆ ประดามี นันC คือการไม่
เคารพสิทธิทีCจะแตกต่างของบุคคล
29

การซือ้ ขายสิทธิ เช่น เมืCอบุคคลมีกรรมสิทธิใน


ทีCดนิ ก็สามารถขายแก่ผ้ ปู รารถนาสิทธินนได้
ั G ตาม
ราคาทีCพงึ พอใจ และเห็นชอบทังสองฝ่
G าย

แล้ วการซือ% สิทธิขายเสียงเลือกตัง% ล่ ะ

ต้ องทําความเข้ าใจก่อนว่า สิทธิการเลือกตังถื G อเป็ น


สิทธิเฉพาะบุคคล จะมอบ โอน หรื อยกให้ ผ้ อู ืCนทํา
แทนไม่ได้ ต้ องใช้ ด้วยตนเองเท่านันG ดังนันG สิทธิ
ประเภทนี Gจึงไม่สามารถขายได้ เป็ นสิทธิสมมติทีC
ให้ กบั พลเมืองของประเทศหนึงC ซึงC หากใช้ สทิ ธิโดย
ผิดต่อความชอบธรรมตามหน้ าทีCพลเมือง สิทธินนก็ ัG
จะถูกถือเป็ นโมฆะ และส่งผลให้ ผ้ ซู ื Gอสิทธิขาด
ความชอบธรรมในการได้ มาซึงC ตําแหน่ง จึงถูกศาล
สังC ริ บสิทธิ
30

การเพิกถอนสิทธิหรือริบสิทธิ เช่น นักการเมือง


ทีCได้ ตําแหน่งมาโดยไม่ชอบธรรม หรื อใช้ ตําแหน่ง
โดยไม่เป็ นธรรม หรื อนักบวชปาราชิก หรื อบุคคลทีC
ออกเอกสารสิทธิในทีCดนิ และทรัพย์สนิ โดยไม่ถกู ต้ อง
เมืCอการวินิจฉัยโดยธรรมถึงทีCสดุ ก็จะถูกเพิกถอน
สิทธิ หรื อริ บสิทธิ

การโมเมสิทธิ เช่น มนุษย์โมเมว่าสัตว์ทงหลาย


ัG
เป็ นอาหารของมนุษย์ จึงฆ่าสัตว์มาเป็ นอาหาร
ครันG แบคทีเรี ยและไวรัสโมเมกลับบ้ างว่ามนุษย์ก็
เป็ นอาหารของแบคทีเรี ยไวรัสเช่นกัน มนุษย์กลับไม่
ยอม หาทางต่อสู้ทกุ ทาง สู้อย่างไรก็ตายไปเป็ น
จํานวนมาก ตราบทีCยงั ไม่เลิกโมเม

การแย่งสิทธิ เช่น การปฏิวตั ริ ัฐประหารในแต่ละ


ประเทศเป็ นการแย่งสิทธิการปกครองจากผู้นําและ
รัฐบาลชุดเดิมเพืCอทําการบริ หารแทน
31

การปล้นสิทธิ เช่น ประเทศทีCต้องการทรัพยากรของ


ประเทศอืCน ก็เอากองเรื อ กองบิน ไปล่าอาณานิคม
เพืCอปล้ นสิทธิในทรัพยากรของประเทศนันG ทังG ๆ ทีC
ตนไม่มีสทิ ธิ หรื อการทีCไปเอาทรัพย์สนิ ทางปั ญญาของ
ผู้อืCนมาแปลงเป็ นของตนเอง ก็เป็ นการปล้ นสิทธิ

การข่มขืนสิทธิ เช่น การกระทําชําเราทางเพศ


ทังหลาย
G หรื อการทีCประเทศทีCตงตนเป็
ัG นใหญ่ เอา
กําลังทหารอาวุธยุทโธปกรณ์ไปถล่มประเทศอืCนเพืCอ
โค่นล้ มการปกครองเดิม ยึดอํานาจ จัดระบบการ
ปกครองใหม่ตามปรารถนาของตน เมืCอถล่มจนพินาศ
ยึดอํานาจได้ แล้ ว ก็เรี ยกเก็บค่าปฏิกรณ์สงครามจาก
ประเทศทีCถกู ถล่ม เป็ นค่าอาวุธยุทโธปกรณ์ ค่าจ้ าง
ทหาร และอืCน ๆ ทีCใช้ ในการถล่มประเทศนันG ซึงC ผิด
ระบบกรรมโดยสิ Gนเชิง เพราะโดยระบบกรรมคนทีCไป
ทําให้ ผ้ อู ืCนเสียหายจะต้ องชดใช้ แต่นีCไปบังคับให้
ประเทศทีCเสียหายต้ องชดใช้
32

นันC เป็ นการข่มขืนสิทธิ หากสหประชาชาติไม่


ล้ างธรรมเนียมนี Gออกไปจากโลก โลกจะไม่มีวนั สงบได้
เลย เพราะจะยังมีประเทศทีCทําธุรกิจสงครามไม่ร้ ูสิ Gน

การแก้ ไขปรากฏการณ์นี G สมัชชาความมันC คง


สหประชาชาติต้องออกกฎบัตรสหประชาชาติใหม่
ว่า ประเทศใดไปถล่มประเทศอืCนไม่วา่ กรณีใด ๆ
ประเทศทีCไปถล่มต้ องรับผิดชอบความเสียหาย
ทังหมดที
G Cเกิดขึ Gน ทังชี
G วิตทหารประชาชนทีCตายและ
บาดเจ็บ การบูรณะเมือง การพัฒนาระบบ และ
อืCน ๆ เช่นนี Gจึงเป็ นธรรม และป้องกันการข่มขืนสิทธิ
ระดับโลกได้

การเรียกร้องสิทธิที่พึงได้ เช่น เจ้ าของประเทศ


เดิมทีCถกู กดขีC ลิดรอนสิทธิออกมาเรี ยกร้ องสิทธิใน
เสรี ภาพ และทรัพย์สนิ อันเป็ นของเขาแต่เดิม นันC
เป็ นการเรี ยกร้ องสิทธิอนั พึงได้
33

การต่อสู้เพื่อสิทธิ หากเรี ยกร้ องสิทธิอนั พึงได้


แล้ วไม่ได้ สทิ ธินนั G มนุษย์จะอึดอัดทนความไม่เป็ น
ธรรมได้ ไม่นานก็จะออกมาต่อสู้เพืCอสิทธิ ดังC ทีCทา่ น
มหาตมะคานธีพาชาวอินเดียออกมาอารยะขัดขืน
ต่อสู้เพืCอสิทธิของเขาเองโดยชอบ อเมริ กาทําสงคราม
ประกาศอิสรภาพจากยุโรป อาหรับหัวรุนแรงทําการ
ก่อการร้ ายปลดแอกอเมริ กา เป็ นอาทิ

การเรียกร้องสิทธิที่ไม่มีแต่ควรจะมี
เช่น กฎหมายทีCไม่ชอบธรรมและไม่เป็ นธรรม
ลิดรอนสิทธิของประชาชนบางกลุม่ ในการเลือกผู้นํา
ประเทศหรื อรับสวัสดิการ แม้ ประชาชนจะไม่มีสทิ ธิ
ตามกฎหมาย แต่มีสทิ ธิโดยธรรม จึงออกมา
เรี ยกร้ อง นีCคือการเรี ยกร้ องสิทธิทีCไม่มีตามกฎหมาย
แต่ควรมีโดยธรรม
34

การเรียกร้องเกินสิทธิ เช่น พ่อแม่มีสทิ ธิเลี Gยงดู


อบรมสังC และสอนบุตร แต่เมืCอทําจนเคยชินพ่อแม่
บางคนเรี ยกร้ องแถมบังคับให้ ลกู ปฏิบตั ติ ามความ
ต้ องการของตนเท่านันG จะทําตามความต้ องการของ
ลูกไม่ได้ เลย ทําตัวเลยเถิดพยายามเป็ นเจ้ าชีวิตของ
ลูก ซึงC โดยธรรมชาติและโดยธรรมเป็ นไม่ได้ เพราะ
มนุษย์ทกุ คนเป็ นเจ้ าของชีวิตตนเอง แม้ พอ่ แม่ให้
ชีวิตมา แต่เมืCอให้ แล้ ว ชีวิตก็เป็ นของลูกแล้ ว
ช่วงเด็กเขาต้ องพึงC พ่อแม่ยงั พึงC ตนไม่ได้ ก็ทําตาม
ความต้ องการของพ่อแม่ แต่เมืCอบุตรเริC มพึงC ตนได้
ก็พยายามจะใช้ ชีวิตของตนไม่ต้องเป็ นภาระของ
พ่อแม่ตลอดไป พ่อแม่ทีCไม่เข้ าใจหรื อไม่ยอมรับ
ธรรมชาตินี Gก็จะปวดใจมีปัญหากับลูกเป็ นประจํา

หรื อพระราชา ถูกแต่งตังขึ


G GนมาเพืCอรักษา
ความเป็ นธรรม บําบัดทุกข์บํารุงสุขแก่ประชาชน
จึงมีสทิ ธิทีCจะจัดระเบียบสังคม กําหนดมาตรฐาน
35

พฤติกรรมกลางของประชาชน แต่ในสมัยโบราณ
พระราชาจํานวนหนึงC พยายามทําตัวเป็ นเจ้ าชีวิตบง
การประชาชน ประชาชนคนใดขัดคําสังC หรื อขัด
พระทัยให้ ไม่พอใจก็ประหารตามอําเภอใจ จนต้ อง
ถูกเปลียC นระบอบการปกครองไป เพราะเป็ นการ
เรี ยกร้ องและกระทําเกินสิทธิ เกินความชอบธรรม

การเรียกร้องสิทธิที่ไม่มีและไม่ควรจะมี
นีCคือคําตอบต่อคําถามทีCถามมา คือการทีCบคุ คลไม่มี
สิทธิอยูแ่ ล้ วตังแต่
G ต้น และไม่วา่ โดยหลักอะไรก็ไม่
ควรจะมีสทิ ธิ แต่ออกมาเรี ยกร้ องต้ องการสิทธิทีCไม่มี
และไม่ควรจะมี ซึงC เกิดได้ จากหลายการปรุงแต่ง
เช่น ความอยากก็ทําให้ มนุษย์เรี ยกร้ องในสิงC ทีCตนไม่
มีสทิ ธิ มนุษย์จํานวนหนึงC เผลอคิดไปว่าคนอืCนต้ อง
ทําตามความอยากของตน จึงเอาความอยากมา
เรี ยกร้ องให้ คนอืCนปฏิบตั ติ ามทังG ๆ ทีCไม่มีสทิ ธิ
ด้ วยเทคนิคนานา เช่น การหลอกล่อ การอ้ อนวอน
36

การกดดัน การกรรโชก การข่มขู่ ซึงC ผิดศีลธรรมและผิด


กฎหมายโดยตรง ต้ องผิดหวัง และมีปัญหาตามมารํC าไป

การไม่รู้จักประมาณฐานะ เช่น บุคคลบริ จาคเงิน


ให้ วดั แล้ วไปเรี ยกร้ องสิทธิเป็ นเจ้ าของวัด ทังG ๆ ทีCวดั
เป็ นของสงฆ์มีภารกิจคือให้ ศกึ ษา ปฏิบตั ิ และบรรลุ
ธรรม ไม่อาจยกสิทธิให้ ใครได้ รวมทังองค์ G กร
สาธารณกุศล มูลนิธิ สมาคมต่าง ๆ ก็เช่นกัน
เป็ นส่วนกลางเพืCอกอปรภารกิจแห่งการก่อตังองค์ G กร
นันG ภารกิจเป็ นเจ้ าขององค์กร ผู้ทําบุญกับองค์กร
เหล่านี Gก็จะมีสทิ ธิในอานิสงส์ แต่จะไปเรี ยกร้ องสิทธิ
ในการเป็ นเจ้ าของไม่ได้ เพราะฐานะความเป็ น
เจ้ าของ กับฐานะผู้รับอานิสงส์บญ ุ เป็ นคนละฐานะ
กัน ยกเว้ นเสียแต่วา่ ร่วมกอปรภารกิจให้ สมั ฤทธิbผล
จึงมีสทิ ธิเข้ าร่วมบริ หารวัดหรื อองค์กรนันG ๆ ได้
37

ความหลงกาล เช่น หากบุคคลระลึกชาติได้ วา่ ตน


เคยเป็ นพระราชา สร้ างพระราชวังนันG ๆ ขึ Gนมา จึงไป
เรี ยกร้ องสิทธิในพระราชวังคืนจากพระราชาองค์
ปั จจุบนั นันC เป็ นการเรี ยกร้ องเพราะหลงกาล อดีต
ไม่ใช่ปัจจุบนั ปั จจุบนั ไม่ใช่อดีต สิทธิการครอบครอง
ได้ เปลียC นไปแล้ ว เพราะกรรมสิทธิในสมบัตเิ ป็ น
เพียงสิทธิสมมติชวัC กาลหนึงC เมืCอตายไปแล้ วก็เป็ น
อันหมดสิทธิ สิทธิก็ตกเป็ นของคนอืCนไป แม้ ตนเป็ น
ผู้สร้ างแต่การเรี ยกร้ องก็จะทําให้ ถกู วินิจฉัยว่า “บ้ า”
ยกเว้ นในสังคมทีCยดึ ถือระบบสิทธิข้ามภพชาติ เช่น
ธิเบต การพิสจู น์ความจริ งเพืCอเรี ยกร้ องสิทธิใน
สมบัตแิ ละฐานะแต่ชาติปางก่อนสามารถทําได้ โดย
ถูกวัฒนธรรม
38

ความหลงผิด เช่นการทีCเจ้ าลัทธิทงหกในอิ ัG นเดีย


ยึดถือมิจฉาทิฐิ เมืCอพระพุทธเจ้ าประกาศสัจธรรม ก็
ไม่ยอมรับ เรี ยกร้ องให้ พระพุทธองค์เคารพนับถือตน
และสิงC ทีCตนยึดถือ เมืCอพระพุทธเจ้ าไม่ยอม ก็กลันC
แกล้ งว่าร้ ายบ่อนทําลายพระพุทธองค์นานา ในทีCสดุ
ก็ลงนรกหมด หรื อทีCเจ้ าลัทธิเดิมในเยรูซาเล็มทีC
กระทําต่อพระเยซูจนจับพระเยซูตรึงกางเขน และ
เจ้ าลัทธิในอาหรับเดิมกระทําต่อท่านโมฮัมหมัดจน
เกิดสงครามความเชืCอต่อเนืCองก็เช่นกัน นันC เป็ นการ
เรี ยกร้ องข่มขูบ่ งั คับผู้อืCนพราะความหลงผิดของตน

การยึดถือระบบที่ผิด เช่นทีCวาติกนั ในยุคกลาง


ปฏิเสธการค้ นพบของกาลิเลโอทีCพบว่าโลกกลม
ไม่ใช่แบน และสุริยะจักรวาลมีดวงอาทิตย์เป็ น
ศูนย์กลาง ไม่ใช่โลกเป็ นศูนย์กลางตามความเชืCอ
ดังเดิ
G ม แล้ วเรี ยกร้ องให้ กาลิเลโอถอนคําพูด เลิก
สอน กาลิเลโอไม่ยอม วาติกนั จึงใช้ โอกาสทีCทางการ
39

อยูใ่ นโอวาทของตน ไปขอร้ องให้ ทางการกักกันตัว


กาลิเลโอให้ อยูแ่ ต่ในบ้ านไม่ให้ ออกไปไหน
จนกระทังC ตาย ซึงC ต่อมาโลกก็พิสจู น์วา่ กาลิเลโอถูก
วาติกนั ยุคนันผิ
G ด ทําให้ วาติกนั ในยุคต่อมาต้ อง
ออกมาขอโทษกาลิเลโออย่างเป็ นทางการ และเป็ น
การเริC มต้ นยุคใหม่ทีCมนุษย์สามารถแสวงหาความ
เป็ นจริ งนอกเหนือความเชืCอดังเดิG มได้ นันC เป็ นการ
เรี ยกร้ องเพราะการยึดถือทีCผิด

การปรุงสิทธิมายาแห่งเสน่หา พฤติกรรมเช่นนี G
มักเกิดในหมูค่ นล่ารัก โดยการปรุงเสน่หาให้ เกิดขึ Gน
เมืCอเป็ นทีCเสน่หาแล้ ว ก็เรี ยกร้ องสิทธิทีCตนไม่มีให้ มี
แม้ จะเบียดเบียนสิทธิของผู้อืCน
40

การบริหารที่ผิดพลาด เช่น การบริ หารด้ วยวิธี


ปรนเปรอกิเลสสนองความต้ องการจนทําให้ คนทีC
ไม่มีสทิ ธิเข้ าใจว่าตนมีสทิ ธิ จึงเรี ยกร้ องสิทธินานา
สร้ างความไม่พอใจหรื อถึงขันรั G งเกียจแก่ผ้ มู ีสทิ ธิตวั
จริ งทังหลาย
G ในบรรยากาศเช่นนันจะเสี G ยการ
ปกครอง การบริ หารจะพัง ถึงไม่พงั ก็ไม่เจริ ญ
มีสงครามประสาทเกิดขึ Gนให้ แก้ ไขรายวัน

การยืนยันในสิทธิ เช่น การพิสจู น์พยานหลักฐาน


ในชันศาลเพราะต่
G างพยายามยืนยันในสิทธิของตน

การตัง้ มั่นในสิทธิ ได้ แก่ ผู้ทีCมีสทิ ธิมนัC คงแน่นอน


ถาวรแล้ ว ย่อมตังมั
G นC ในสิทธิ ไม่ออกไปเรี ยกร้ อง
อะไร เช่นคนทําบุญย่อมได้ อานิสงส์บญ ุ โดยไม่ต้อง
เรี ยกร้ อง คนทําบาปย่อมได้ วิบากบาปโดยไม่ต้อง
เรี ยกร้ อง
41

การทวงสิทธิโดยเจ้ากรรม เช่น เมืCอบุคคลใดถูก


กระทําโดยไม่ชอบธรรมก็ได้ ชืCอว่าเป็ นเจ้ ากรรมตาม
ระบบกรรม หรื อเจ้ าทุกข์ตามระบบกฎหมาย และมี
สิทธิทีCจะทวงสิทธิคืนตามความชอบธรรมเพืCอความ
เป็ นธรรมได้

การปรับเกลี่ยสิทธิโดยนายเวร นายเวรคือคน
ปรับเกลียC ความเป็ นธรรมในจักรวาล มีหน้ าทีCจดั สรร
คิวเจ้ ากรรมให้ มาพบลูกกรรมเพืCอทวงสิทธิคืน
และกําหนดวาระอันเหมาะสมให้ เช่นเดียวกับทีC
ผู้พิพากษาในโลกนี Gพยายามเจรจาหาข้ อตกลงให้ กบั
คูก่ รณีเช่นกัน ซึงC มักจะมีฝ่ายใดฝ่ ายหนึงC ต้ อง
เจ็บปวด
การป้องกัน
ปัญหาทั้งปวง
อันเนื่องด้วยสิทธิ
43

การป้องกัน
ปัญหาทัท้งปวง
ท่องด้วยสิทธิ
อันเนื

แท้ จริ งแล้ วระบบกรรมทังปวงมี


G หน้ าทีCปอ้ งกัน
ปั ญหาอันว่าด้ วยสิทธิ หากมีปัญหาก็จดั การให้ เป็ น
ธรรม หัวใจของศีลจึงเป็ นระบบเคารพสิทธิซงึC กันและ
กัน หัวใจของกฎแห่งกรรมคือความเป็ นธรรม นีCคือหลัก
แห่งกฎหมายจักรวาล

ทุกระบบในโลกต้ องถูกต้ องตามกฎแห่งกรรม


บุคคลใดจะจัดระบบทีCขดั แย้ งกับกฎแห่งกรรมไม่ได้
หากระบบใดขัดแย้ งกับกฎแห่งกรรม ระบบนันใช้G ไม่ได้
44

ขืนใช้ ผู้เกีCยวข้ องทังหมดต้


G องรับกรรมอย่างไม่อาจหลีก
เลียC งได้ นันC หมายความว่าทุกระบบ ทังการปกครอง
G
เศรษฐกิจ กฎหมาย การบริ หาร วัฒนธรรม ธรรมเนียม
ต้ องเป็ นไปเพืCอความเคารพสิทธิซงึC กันและกัน

หากมีการละเมิดสิทธิก็ต้องมีกระบวนการ
จัดการให้ เป็ นธรรม หากมนุษย์ไม่ยอมจัด เจ้ ากรรม
นายเวรจะจัดให้ ภายหลัง ดังนันดี
G ทีCสดุ มนุษย์ควรอยู่
กันโดยธรรม มีความเป็ นธรรมต่อกัน จะผาสุก
มีสนั ติภาพ และปลอดภัยทีCสดุ เช่น เพืCอสันติภาพและ
ความเป็ นธรรมในระดับโลก สหประชาชาติพงึ ห้ ามทุก
ประเทศพัฒนากองกําลังและอาวุธยุทโธปกรณ์ แล้ ว
สหประชาชาติทําหน้ าทีCดงั กล่าวแทนเพืCอรักษาความ
สงบเรี ยบร้ อยระหว่างประเทศ ซึงC จะเกิดผลดีหลาย
ประการ คือ
45

1. เป็ นการยกระดับสหประชาชาติจากเสือกระดาษ
มาเป็ นผู้บริ หารจัดการควบคุมสันติภาพโลกตาม
ปณิธานในการก่อตังสหประชาชาติ
G อย่างแท้ จริ ง
2. ประเทศต่าง ๆ จะประหยัดงบกลาโหมได้ มาก
ซึงC ปกติใช้ จา่ ยราว 1-14% ของ GDP (ต่างกันตาม
ภาวะสันติภาพและสงครามของแต่ละประเทศ)
และสามารถนํางบดังกล่าวมาสร้ างเศรษฐกิจให้
เจริ ญ สร้ างสังคมให้ สงบสุขได้ มากขึ Gน
3. ยุตริ ะบบประเทศจ้ าวโลกทําตัวครอบงําหรื อ
พยายามครอบครองประเทศอืCน ซึงC ก่อให้ เกิดความ
ไม่เป็ นธรรมและสงครามย่อยตามมามาก
4. ยุตริ ะบบขัวอํ
G านาจในโลก เพราะไม่วา่ จะมีกีCขวั G
ก็ยอ่ มมีความขัดแย้ งและการหาพวกบ่อนทําลายกัน
เสมอ เมืCอยุตขิ วอํ
ั G านาจได้ โลกจะได้ เข้ าสูย่ คุ เจริ ญ
อย่างสงบสุข
46

อารยธรรมแห่งการเคารพสิทธิคือการป้องกัน
ปั ญหา ระบบความเป็ นธรรมคือการจัดการกับปั ญหา
ให้ กลับมาเป็ นธรรมบนฐานของความเคารพสิทธิซงึC กัน
และกัน ซึงC เป็ นความรับผิดชอบของทุกคน ทุก
ครอบครัว ทุกบริ ษัท ทุกองค์กร ทุกรัฐบาล ทุกภูมิภาค
ทุกองค์กรประชาคมโลก เพราะทุกคนอยูใ่ นจักรวาล
เดียวกันภายใต้ กฎแห่งกรรมสากล

แม้ จะมีหลักการว่ าด้ วยสิทธิสัมพันธ์


การจัดระบบสิทธิ ระบบระบอบการบริหารสิทธิ
เทคนิควิธีการจัดการสิทธิ ระบบป้ องกันปั ญหา
อันเนื,องด้ วยสิทธิอย่ างเที,ยงธรรมอย่ างดี
เพียงไร ปั ญหาสิทธิกไ็ ม่ เคยหมดไปจากโลก
และจักรวาล เพราะสิทธิมาพร้ อมภาระหน้ าที,
ภาระหน้ าที,ทาํ ให้ เกิดการครอบครอง การ
ครอบครองทําให้ เกิดความรั บผิดชอบ ความ
รั บผิดชอบทําให้ เกิดความอยากความไม่ อยาก
47

ความอยากความไม่ อยากที,ไม่ ตรงกันทําให้ เกิด


ความไม่ ลงตัวกัน ความไม่ ลงตัวทําให้ เกิดการ
กระทบกระทั,ง การกระทบกระทั,งทําให้ เกิด
ความขัดแย้ ง ความขัดแย้ งทําให้ เกิดความ
บาดหมาง ความบาดหมางทําให้ เกิดความต่ าง
พวก ความต่ างพวกทําให้ เกิดการแข่ งดีตกี ัน
การแข่ งดีตกี ันนํามาซึ,งสงครามนานารู ปแบบ
สงครามนํามาซึ,งความพินาศ ความพินาศนํามา
ซึ,งการเพิ,มระบบใหม่ โปะเข้ าไปในระบบเดิม
จนกลายเป็ นระบบซ้ อนระบบ

ชีวติ ที,ง่ายๆ ตามธรรมชาติกลายเป็ น


ชีวติ ที,ย่ ุงยาก ความสัมพันธ์ ย่ ุงเหยิง หมู่มนุษย์
ที,มีชีวติ ที,ย่ ุงยาก อยู่กันด้ วยความสัมพันธ์ ย่ ุง
เหยิง จะอมทุกข์ ขังตนไว้ ในความเครี ยดตลอด
เวลา เป็ นวัฏฏะอันน่ าสงสาร
อิสรภาพเหนือ
ระบบสิทธิ
อันไร้ศานติ
49

อิสรภาพเหนือ
ระบบสิทธิอันไร้ศานติ
เมืCอระบบสิทธิสร้ างความวุน่ วายยุง่ เหยิง
โกลาหล แม้ จะจัดระบบมากีCระบอบก็ไม่เคยทําให้
สงบลงตัวได้ สกั ที จึงมีผ้ ปู รารถนาอิสรภาพจาก
ระบบสิทธิทีCวนุ่ วายทังหลาย
G นํามาซึงC การสละสิทธิ

สละสิทธิโดยธรรมชาติ เช่น ความตายบังคับให้


ทุกคนสละสิทธิโดยธรรมชาติ เมืCอตายแล้ วจะมา
เรี ยกร้ องสิทธิใด ๆ ไม่ได้ ดังนันG หากไม่อยากหมด
สิทธิก็ควรจัดสรรสิทธิของตนให้ เรี ยบร้ อยก่อนตาย
50

สละสิทธิโดยสำนึกรับผิดชอบ เช่น พ่อแม่สละ


สิทธิในทรัพย์เพืCอมอบเป็ นมรดกแก่บตุ รบุตรี อย่าง
เป็ นธรรม ผู้นําผู้บริ หารสละสิทธิในตําแหน่งและ
อํานาจเพืCอมอบให้ แก่ผ้ มู ีความเหมาะสมคน
ต่อ ๆ ไป

สละสิทธิด้วยเจตจำนงหมดจดยิ่งใหญ่ เช่น
ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี สร้ างพระเชตวันถวาย
พระพุทธเจ้ า โดยปกติบญ ุ ใหญ่เพียงนันย่
G อมมี
อานิสงส์มากมาย แต่ทา่ นไม่เคยเรี ยกร้ อง
ความสําคัญหรื อใส่ใจอานิสงส์นนเลย
ัG ท่านสละออก
เพืCอถวายอย่างหมดจดด้ วยเจตจํานงยิCงใหญ่ การ
สละนันจึ G ง transform บุญเป็ นบารมี ความต่าง
ระหว่างบุญกับบารมีคือ บุญสร้ างอานิสงส์ภายนอก
ใช้ แล้ วหมดไปเมืCอครบทุกวาระ บารมีสร้ างอํานาจ
ภายในใจ ใช้ ไม่มีวนั หมด มีแต่งอกงามยิCงขึ Gน
51

สละสิทธิด้วยมหากรุณา เช่น พระพุทธเจ้ าหลวง


ปิ ยมหาราชเมืCอขึ Gนครองราชย์ทรงเป็ นเจ้ าแผ่นดิน
ซึงC ยุคนันหมายถึ
G งเป็ นเจ้ าของประเทศ สิทธิในบุคคล
และไพร่ฟา้ ข้ าทาสทังหมด
G และมีพระราชอํานาจ
ตัดสินใจเด็ดขาดแต่ผ้ เู ดียว แต่ด้วยพระมหากรุณา
พระองค์ทรงสละสิทธิเหล่านันจํ G านวนมากโดย
1) ทรงเลิกทาส 2) ทรงยกเลิกระบบเจ้ าขุนมูลนาย
3) ทรงแต่งตังคณะ
G Committee ในการบริ หาร
ราชการแผ่นดิน นันC คือการสละสิทธิด้วยมหากรุณา
เป็ นต้ น

สละสิทธิด้วยมหาปัญญา เช่น พระโพธิสตั ว์


รัชทายาทเห็นความเกิดแก่เจ็บตายและความทุกข์
ของมวลมนุษย์ จึงสละสิทธิในราชบัลลังก์ออกบวช
แสวงหาอมตภาพ เพืCอนําจิตใจสรรพสัตว์ทงหลาย
ัG
ไปสูค่ วามอมตะ เป็ นต้ น
52

สละสิทธิด้วยความบริสุทธิ์ เช่น พระอริ ยะ


ทังหลายสละสิ
G ทธิในกรรมทีCจะทําให้ ทอ่ งอบาย
พระอรหันต์ทงหลายสละสิ
ัG ทธิในบุญทังหมดที
G Cได้ ทํา
มาแล้ ว เพืCอเข้ าพระนิพพาน เป็ นต้ น

ท่านทีCสละสิทธิด้วยมหากรุณา มหาปั ญญา


และความบริ สทุ ธิb เมืCอสละสิทธิในโลก ในกรรมแล้ ว
ท่านย่อมได้ สทิ ธิโดยธรรมในระบบธรรมซึงC หมดจด
ศานติสขุ ปราศจากการยื Gอแย่ง และเป็ นอมตะ

รู้ คาํ ตอบแล้ ว เลือกเอาว่ าจะเป็ นพวก


ไหน จะบริหารพฤติกรรมของตนและหมู่คณะ
อย่ างไรให้ เกิดประโยชน์ สุขสูงสุดอย่ างยั,งยืน
ยาวนาน

You might also like