You are on page 1of 18

2012

 จุดสาคัญและข้ อปฏิบัตขิ องพุทธระเบียบด้ านจริยพิธีการ


 พุทธระเบียบและพิธีการเฉพาะกาล

Vithidham
3/12/2012
จุดสาคัญและข้ อปฏิบัติของพุทธระเบียบด้ านจริยพิธีการ
1. คานา
๑.๑ กล่าวถึงนักธรรมที่กา้ วเข้าการศึกษาธรรมในอาณาจักรธรรม (พุทธจริ ยพิธี)แม้จะแสดงออกถึงว่าเป็ น
สิ่ งบังคับ แต่ความเป็ นจริ งนั้นคือเป็ นการเจียระไน ปลูกฝังด้านมหาญาณ วิถีจิตแก่ผทู้ ี่มุ่งมัน่ ในด้านการบําเพ็ญ
การดํารงรักษาก็คือการแสดงของธรรมะและข้อปฏิบตั ิของธรรมะ
๑.๒ พระพุทธศาสนาจะมี ไตรสรณะ ศีล ๕
ศาสนาปราชญ์จะมี ซันกัง-อู่ชัง , ซันฉง-ซื่อ , อู่หลุน-ปาเต๋อ
(ซันกังคือหลักปกครอง ๓ บิดาเป็ นหลักแก่ลูก ประมุขเป็ นหลักแก่ขนุ นาง สามีเป็ นหลักแก่
ภรรยา)
(อู่ชังคือคุณธรรม ๕ คือ เหยินคือเมตตา อี้คือมโนธรรม หลี่คือจริ ยธรรม จื้อคือปัญญาธรรม ซิ่ นคือ
สัตยธรรม)
(ซันฉงคือหลักเชื่อฟังสามของสตรี ในระบบศักดินาได้แด่ ยังไม่ออกเรื อนให้เชื่อฟังบิดามารดา
ยามออกเรื อนให้เชื่อฟังสามี ยามสามีจากไปให้เชื่อฟังบุตร)
(ซื่อเต๋อคือคุณธรรมสี่ ของกุลสตรี ได้แก่ ศีลธรรม ท่วงทํานองการพูด กิริยามารยาท ศิลปะในงาน
ฝี มือ)
(อู่หลุนคือคุณสัมพันธ์ห้าประการ ได้แก่ คุณสัมพันธ์ระหว่างประมุขกับขุนนาง คุณสัมพันธ์
ระหว่างพ่อกับลูก คุณสัมพันธ์ระหว่างสามีภรรยา คุณสัมพันธ์ระหว่างพี่กบั น้อง คุณสัมพันธ์ระหว่างเพื่อ
กับเพื่อน)
(ปาเต๋อคือคุณธรรมแปดประการ ได้แก่ เซี่ ยวคือกตัญํู ที่คือพี่นอ้ งปรองดอง จงคือซื่ อสัตย์ต่อ
หน้าที่ ซิ่ นคือสัจจะวาจา หลี่คือจริ ยธรรม อี้คือมโนธรรม เหลียนคือสุจริ ตธรรม ฉื อคือละอายต่อบาป)
ศาสนาเต๋ าจะมีหลัก ซันฮวา-อู่ชี่ ซันชิง-อู่สิง
ที่กล่าวมานี้ลว้ นเป็ นมาตรฐานหรื อบรรทัดฐานของการเป็ นผูบ้ าํ เพ็ญธรรม
การบําเพ็ญธรรมคือการบําเพ็ญที่จิต คือการแก้ไขจิตที่ฟุ้งซ่านวุ่นวาย ความอยากของจิตตาม
อารมณ์เจ็ด ตัญหาหก หากก้าวแรกหากขาดการขอร้องบังคับด้านพุทธระเบียบแล้ว หากกลายเป็ นความ
เคยชินจนเป็ นนิสยั แล้วจะสามารถรักษาแก้ไขจิตได้อย่างไร?
๑.๓ กฎใช้บงั คับควบคุมบุคคลที่ ไม่รักษากฎ กฎหมายเป็ นมาตรฐานให้ผคู้ นได้เกรงกลัวในกฎหมาย ด้วย
เหตุที่คนไม่คิดเรื่ องบาปกรรมก็จะขาดความเกรงกลัวข้อบังคับกฎระเบียบ ส่วนคนที่สาํ รวจใจตน เรื่ องระเบียบก็
จะเป็ นความชินจนเป็ นพื้นฐานการดํารงชีวิตในประจําวัน
๑.๔ ความหมายของพุทธระเบียบด้านจริ ยพิธิที่แท้จริ ง ไม่ใช่เป็ นรู ปแบบภายนอกหรื อการกราบไหว้
เท่านั้น การศรัทธาจริ งใจจึงจะเป็ นเรื่ องที่สาํ คัญ หากเข้าใจในพุทธระเบียบที่แท้จริ งก็จะกลายเป็ นแรงหนุนช่วย
ผลักดัน ทั้งเรื่ องชีวิตเรื่ องการบําเพ็ญปฏิบตั ิงานธรรมก็จะยิ่งอิสรเสรี
2. ความสาคัญของพุทธระเบียบและจริยพิธี
๑.ความสาคัญของพุทธระเบียบและจริยพิธีการ
- ด้านภายนอก
ฝอกุย(พุทธระเบียบ) คือศีล คือระเบียบ คือกฎเกณฑ์ ของบําเพ็ญธรรมะ องค์ฝ่าลวี่จู่ตรัสไว้ว่า “ฝอ
กุยคือกฎเกณฑ์ คือระเบียบวินยั ซึ่ งเป็ นบรรทัดฐานของการบรรลุพุทธะ”
หลี่เจ๋ (จริ ยพิธี) คือหลักการและมาตรฐานของการเป็ นคนที่รู้ว่าเรื่ องใดที่ควรก้าวหรื อถอย การ
บําเพ็ญธรรมหากไม่มีขอบังคับและการนําพาด้วยศีลข้อห้าม ก็จะทําให้เวไนยนั้นจะควบคุมความอยาก
(ตัญหา)ได้ยาก และก็จะยิ่งยากที่จะสามารถต้านทานต่อสิ่ งเย้ายวนของโลกีย ์ จนไหลไปตามกระแส การ
บรรลุพุทธะก็จะเป็ นเรื่ องที่เป็ นไปไม่ได้ จริ ยพิธี(หลี่เจ๋ )นั้นคือพื้นฐานของการบําเพ็ญของทุกคนบนโลก
บําเพ็ญจนสําเร็ จผลเป็ นแบบให้แก่เวไนยสัตว์ จําเป็ นอย่างยิ่งว่าทั้งการพูดการกระทําในชีวิตประจําวัน
ของเรามาแสดงออกถึงธรรมะ ในที่สุดวิถีแห่งธรรมก็มิได้ไกลห่างไปจากการปฏิบตั ิในชีวิตประจําวันเลย
- ด้านภายใน
ฝอกุย คือบันได คือแรงนําหนุนให้เวไนยได้บรรลุพทุ ธะ
หลี่เจ๋ (จริ ยพิธี) คือภาระหน้าที่และนํามันหล่อลื่นของชีวิตได้สมบูรณ์ จิตเดิมแท้ของเวไนยสัตว์เดิม
ทีคือจิตพุทธะ นําจิตแห่งพุทธะมาปฏิบตั ิให้ปรากฏออกมาให้เป็ นเรื่ องทําจนเป็ นเรื่ องปกตินิสยั หากฝอกุย
ก็คือแรงหนุนนําช่วยหนุนให้เวไนยได้ฟ้ื นฟูพุทธจิตธรรมญาณแต่เดิมทีให้ฟ้ื นคืนที
- ก่อนการบรรลุหลักธรรมของพุทธะ บําเพ็ญธรรมจะต้องเริ่ มต้นจากมนุษยธรรม ปฏิบตั ิมนุษยธรรมดี
พร้อม จากตนซึ่ งเป็ นจุดเล็กจนถึงการอยูร่ ่ วมกันกับผูค้ นอีกมากมาย จะพบว่าเวไนยที่ต่างกันการพูด
ปฏิบตั ิต่อก็ต่างกัน นี่คือแรงช่วยการบําเพ็ญธรรมที่วา่ บําเพ็ญที่จิต ทําให้จิตใจรู้ให้อภัยโอบอุม้ ได้บ่ม
เพาะคุณธรรมก็จะบรรลุผลเป็ นแน่
- ฝอกุย หลี่เจ๋ น้ นั ได้อาศัยรอยบาทกาดําเนินต่างๆ ของพุทธะอริ ยะมากําหนดหรื อบัญญัติข้ ึน ซึ่ งเป็ นดัง่
เข็มทิศศีลบัญญัติในการดําเนินปฏิบตั ิของการบําเพ็ญ เฉกเช่นการเดินเรื อจําต้องมีหางเสื อ มิอย่างนั้นก็
คงศูนย์เสี ยการควบคุม ทิ้งห่างเป้ าหมาย เหนื่อยแรงเปล่า บําเพ็ญไม่เกิดผล คําโบราณกล่าวว่า “ห่าง
ดาวโหล่ ปู่ ก็แพ้ความฉลาดของลูก ไม่มีระเบียบเป็ นสิ่ งนําพาก็มิอาจจะสมบูรณ์ได้ทวั่ สารทิศ ผูเ้ ป็ น
อาจารย์ฉลาดลํ้าไม่นาํ หลัดตัวโน๊ตลิ่วก็มิอาจฟังเสี ยงตัวโน๊ตอู่ได้เที่ยงตรง (คล้าย ด ร ม ฟ ซ...)
ธรรมะของท่านกษัตริ ยเ์ หยา-ซุ่น ไม่ปฏิบตั ิดว้ ยเมตตาธรรม ก็มิอาจปกครองประชาราษฎร์ ให้สงบสุข”
วิถีอนุตตรธรรมคือหลักดํารงแห่งสรรพสิ่ง จะไร้ซ่ ึ งระเบียบที่แน่นอนได้อย่างไร?
- คัมภีร์หลุนอวี่ ตอน(กษัตริ ย)์ เหยาเยวเพียน กล่าวว่า “ไม่รู้ชีวิต ไม่อาจเป็ นปราชญ์ ไม่รู้จริ ยาไม่มีหลัก
ไม่รู้วาจาไม่อาจรู้ใครเขา” ตอนเอี๋ยนเอวี๋ยนเพียน “ศึกษาด้วยอักษร ปรึ กษาด้วยจริ ยา ก็จะไม่ทรยศ
แล้ว” ท่านเอี๋ยนจื่อเซิ่ งเสว๋ “ธรรมะ คุณธรรม เมตตาธรรม มโนธรรม หากขาดจริ ยาจะมิอาจสําเร็ จผล
ปฏิบตั ิมาประเพณี ถา้ ขาดด้วยจริ ยาจะไม่สมบูรณ์พร้อม การโต้เถียงไม่มีจริ ยาจะไม่ทาํ ดําเนิน ขุนนาง
น้อยใหญ่ พ่อแม่พี่นอ้ ง หากขาดจริ ยาก็ไร้การเคารพต่อกัน ปราชญ์ต่างเคารพถอยให้ผมู้ ีจริ ยา” “คน
หากมีจริ ยาจะสงบสุข ขาดจริ ยาจะวุ่นวาย ดังนั้น จริ ยาไม่ศึกษาไม่ได้

๒.ความหมายที่แท้ จริงของฝอกุยหลี่เจ๋
1. ฝอกุยหลี่เจ๋ คือความถูตอ้ ง และเหมาะสมต่อการดํารงชีวิต
บําเพ็ญธรรมบําเพ็ญจิต การบําเพ็ญ คือแก้ไข การปฏิบตั ิ แก้ใจคน ปฏิบตั ิดว้ ยใจธรรม อัน
การบําเพ็ญธรรมะเริ่ มแรกจะต้อง(เป็ นคนที่ถูกต้อง)ก่อน ปราชญ์กล่าวว่า “อันความทรามของคน
ต่างมี ไม่แตกต่างกัน” การเป็ นคนที่แท้จริ งจะต้องเข้าใจถึงความหมายและคุณค่าของการเป็ นคน
สามารถทําหน้าที่ของการเป็ นคนดีได้ท้งั หมด แสดงว่าก้าวเข้าสู่การเป็ นพุทธะได้ใกล้มาก
ขึ้น ดัง่ คํากล่าวว่า “เข้าใกล้มนุษยธรรม เพื่อบรรลุอนุตตรธรรม” การเข้าใกล้มนุษยธรรมนัน่ คือ
การฝึ กดํารงชีวิตการเป็ นคนที่ควรทํา ความถูกต้องเหมาะสมกับการดํารงชีวิต ท่าทางนั้น
สอดคล้องกับพุทธระเบียบ ชีวิตประจําวันที่คนุ้ เคยต่อจริ ยพิธีการส่งผ้าเช็ดมือ การชันฉื อเจี้ย และ
จําเป็ นต้องมีความเคารพในพิธีการ อาวุโส ไปมาบอกกล่าวนัน่ เอง
ท่านเอี่ยนหุยเรี ยนถามท่านข่งจื่อว่า อย่ างไรจึงกล่ าวได้ ว่าเป็ นเมธีที่เมตตาธรรม? ข่งจื่อ
ตอบว่า “ควบคุมในจริ ยาของตน และ ๔ อย่า” ควบคุมตนคือควบคุมความอยากของตน หยุดเรื่ อง
ที่ไม่มีเมตตาธรรม การฟื้ นฟูจริยาคือการรี บปฏิบตั ิในสิ่ งที่ถูกต้อง และกระทําในเรื่ องที่เหมาะสม
ต่อเมตตาธรรม
2.เป็ นบันไดสําคัญในการบรรลุพุทธะ
ธรรมญาณมาจากฟ้ า จึงต้องหวนคืนสู่ที่เดิม มนุษยชาติเป็ นเวไนยที่ใกล้พุทธะมากที่สุด
เมื่อเกิดมาเป็ นคนแล้วนอกจากต้องบรรลุเป็ นพุทธะแล้วเป้ าหมายอื่นไม่มี ที่มนุษยชาติอุบตั ิเกิด
กายเพื่อมาพัฒนาธรรมญาณ สร้างความสมดุลแก่ฟ้าดินเพิ่มเติมให้สรรพสิ่ งให้เหมาะสมได้
สัดส่วน แต่เรามาเวียนว่านหลายหมื่นปี วันนี้ได้เกิดกายเป็ นคนซึ่ งเป็ นวาระที่เข้าใกล้พระพุทธะ
ที่สุด เราจะหันหน้าหนี (จากธรรมะ)ไม่ได้ ดัง่ ได้มายุคนี้แต่ก็เปล่าประโยชน์ เวลานี้จะต้อง
กระจ่างถึงหนึ่งก้ าวใกล้ ประตูธรรม เราควรรู้แนวปฏิบตั ิ การการบรรลุธรรมของพุทธะต้องปฏิบตั ิ
ธรรมของมนุษย์ให้สมบูรณ์ พุทธะระเบียบคือ แรงสนับสนุนการบรรลุพุทธะ จริ ยพิธีคือหน้าที่
การเป็ นมนุษย์ ต่างต้องบําเพ็ญกายจิตเที่ยงตรงต่อวิถีมหายาน
การกราบ โคว่โส่ ว คนหนึ่งกราบเรี ยกว่าชีวิต (อักษรภาษาจีน) เป็ นการกราบไหว้จิตพุทธะ
ปัญญาธรรมแห่งตน เป็ นการกราบชีวิตอันเป็ นสติปัญญาญาณ สองเข่าคุกลง งอเอว ก้มศีรษะ คือ
“การน้อมจิตใจกําราบความฟุ้ งซ่าน กราบเบญจางคประดิษฐ์ดว้ ยความสํานึกพระคุณ พิจารณา
ความผิดบาปตน ย้อนส่องภาวะแต่เดิมที(จิตพุทธะ) หยูไหล
คัมภีร์ ซิ นจิง “กวนจื้อไจ้ผซู ่า มองยังพระโพธิสตั ว์แห่งตน” ดูว่าพระโพธิสตั ว์แห่งตนทั้ง
ในและนอก จะมองอย่างไร คือการหวนยังจิตทารก ย้อนมองส่องตนจึงจะพบเจอได้
การจั้วอี๋ คือ มาจากที่ไหน จะกลับยังที่ใด นิพพานอันสง่า หยุดมืดก่อบุญ รักษาสว่าง
ควบคุมมืด
อุม้ ลัญจกร คือ คัมภีร์หมีเล่อฯ (องค์มารดาประทานหนทางสู่ฟ้า อยู่ ณ เบื้องหน้าเขาไร้เงา
อุม้ ลัญจกร เหลาหมู่เจี้งยเซี่ ยทงเทียนเชี่ยว อู่อิ่งซันเซียนตุย้ เหอถง) คือให้เวไนยได้ร่วมกันคืนสู่ฟ้า
ดิน ใช้จกั ษุของพุทธะมองส่องเวไนย โอบอุม้ จิตเวไนยไว้ในมือ บังเกิดมหาเมตตา และจิตมหา
กรุ ณา
พระวิสุทธิอาจารย์ถ่ายทอดลัญจกรไม่ใช่แค่รูปลักษณ์ แต่เป็ นวิถีมหายานการบําเพ็ญจิต
นัน่ คือการฟื้ นฟูจิตอันไร้เดียงสา,การบําเพ็ญมีตน้ มีปลายและเป็ นวิถีในการนําสู่รวมหนึ่งกับฟ้ าดิน
3.พุทธระเบียบ ๑๕ ข้อ เป็ นแสงปัญญานําทางสู่การบรรลุพุทธะ
๓. เป็ นระเบียบแบบแผนแก่ นอาณาจักรธรรม
1. อาณาจักรธรรมเป็ นนาวาธรรมที่ให้คนได้บาํ เพ็ญ ได้ปฏิบตั ิ และที่ฉุดช่วยผูค้ น คน
บําเพ็ญแม้จะเป็ นคนสามัญ ต่างมีอุปนิสยั ต่าง อารมณ์มากมาย หากขาดศีลข้อบังคับภายนอกมา
ควบคุมแล้วล่ะก็ จะทําให้สร้างบาปกรรมโดยไม่รู้ตวั ไม่อาจสํารวจและแก้ไขตน ใช้ใจคนในการ
ดําเนิน นินทาไม่หยุดหย่อน อาณาจักรธรรมยากจะสง่างาม ยากที่จะสมัคสมานร่ วมใจ ไม่อาจเป็ น
แบบอย่างแก่เวไนย แล้วจะต้อนรับผูม้ ีบุญให้เขาเชื่อมัน่ ศรัทธาได้อย่างไรล่ะ?
ตัวอย่างเช่น........... สามชัดเจนสี่ เที่ยงตรง เคารพอาจารย์เทิดทูลธรรมะ สนองบัญชา
อาวุโสนําพาผูน้ อ้ ย พุทธระเบียบสิ บห้าข้อ พุทธระเบียบ๒๔แห่งพุทธสถาน....
2. พุทธระเบียบไม่เพียงแค่รักษาในอาณาจักรธรรมเท่านั้น ด้วยเวไนยต้องบรรลุพทุ ธะ การ
บรรลุพุทธะไม่ได้กาํ หนดสถานที่เวลา “อันธรรมะ มิอาจจะหนีห่างได้แม้ชวั่ พริ บตา” “ปราชญ์จะ
ระวังสํารวมแม่อยูล่ าํ พัง” “ธรรมอยูช่ ีวิตอันปกติ” นี่คือความหมาย พุทธะไร้การกําหนดควบคุม
เวไนยก็เช่นกัน พุทธระเบียบจะห่างไม่ได้เช่นกัน
3. กาลนี้เป็ นช่วงคิดบัญชีชาํ ระบาปบุญครั้งยิ่งใหญ่ หนี้กรรเร่ งรี บสะสาง เพื่อเลือกส่วนที่ดี
เบื้องบนจึงทดสอบใหญ่ จะสามารถผ่านพ้นการทดสอบได้หรื อไม่น้ นั จึงต้องรู้รักษาพุทธระเบียบ
อยูเ่ สมอและเข้าใจในความหมายอันแท้จริ งของพุทธระเบียบ และจะมีเป้ าหมายที่โคลงเคลงเข้าใจ
ในหลักธรรมอย่างงงงวยไม่ได้แล้ว
4. ระเบียนประเพณี ทางสังคมโลกนั้นเพื่อบังคบให้ผคู้ นรู้ระวังยําเกรงต่อกฎหมาย ส่วน
พุทธระเบียบเป็ นแนวทางนําพาเวไนยให้บรรลุพุทธะ และเป็ นกรรมวิธีช่วยหล่อหลอมจิตญาณ
5. “เหนือศีรษะ ๓ นิ้วมีสิ่งศักดิ์สิทธิ์” “สายตาสิ่ งศักดิ์สิทธิ์เร็ วดุจฟ้ าแล็บ” “เสี ยงกระซิ บคน
บนโลก ดังสะเทือนดุจฟ้ าฝ่ าที่เบื้องบน”
๓. ข้ อปฏิบัติของพุทธระเบียบและจริยะพิธีการ
๑. ฝึ กฝนพุทธระเบียบภายนอก
- อาศัยพุทธระเบียบภายนอกมาฝึ กฝนกานอ่อนน้อมถ่อมตน ดัง่ คํากล่าวว่า “อ่อนน้อมนั้นเป็ นวิถี
แห่งธรรม” “กล้ายอมรับความผิด ถ่อมตนยามได้ความดี”
- เวลาไหว้พระ สํารวมจิตญาณ อุล้ ญั จกร ปล่อยวางภายนอก พาจิ ตพ้นคืน ฟื้ นสู่พุทธะ เวลากราบ
ไหว้ใช้ตรัยรัตน์ควบคุมจิตฟุ้ งซ่านวุ่นวาย แก้อุนิสยั กําจัดอารมณ์ร้าย บําเพ็ญจิตตน ฝึ กฝนอารมณ์ หล่อ
เลี้ยงคุณธรรม
- ฝึ กฝนจิตใจเมื่อเผชิญต่อหน้ากรรมให้มีความอดทนและอดกลั้น อ่อนน้อมจิตใจฝึ กฝนทนต่อ
ความลําบาก
- เคารพฝึ กฝนจิตใจอย่างพุทธะพระโพธิสตั ว์ กราบเบญจางคประดิษฐ์(เคารพถึงที่สุด) สํานึก
พระคุณสํานึกในความผิด สํานึกถึงพระคุณอันยิง่ ใหญ่ของฟ้ าดินบารมีธรรมอันยิ่งใหญ่ของพระบรรพ
จารย์ ความเลิศลํ้าของวิถีธรรม
- รู้จกั ชัน-ฉื อเจี้ย คือการมาไปรู้บอกกล่าว การถวายผลไม้ในวันพระก็เพื่อสํานึกพระคุญและ
แสดงออกถึงการสํานึกในความผิดบาป พิธีท่อนแรกการไหว้พระ(เช้าเย็น)คือการเคารพบูชาสิ่ งศักดิ์สิทธิ์
ท่านที่สองคืออธิฐานสํานึกในความผิดบาป
- การไปมาสถานธรรม ศึกษาเรี ยนรู้ธรรมะในสถานธรรมหรื อขณะฟังธรรม จะต้องพึงระวัง
สังเกต อธิบายให้เข้าใจ....................
- เวลาปกติในชีวิตรู้แสดงออกถึงท่าทางของผูบ้ าํ เพ็ญธรรมะ ไม่ว่าจะ เดิน นัง่ นอน กระทํากิจใด
จะต้องมีแบบอย่างของธรรมะแสดงออกอยูเ่ สมอ (อธิบายยกตัวอย่าง ข้อควรเน้นยํ้าในจรรยามารยาทการดําเนิน
ชีวิตของศิษย์อนุตตรธรรมยุคขาวให้ชดั เจน.......)
๒. ปกป้ องอาณาจักรธรรมด้วยจริ ยาและพุทธระเบียบ
- เคารพอาจารย์เน้นหนักธรรมะ สนองบัญชาอาวุโสนําพาผูน้ อ้ ย เคารพอาวุโสส่งเสริ มผูน้ อ้ ย
ปล่อยวางอัตตาแห่งตนจิตที่เมินเฉย มาใช้ในการกราบไหว้ดุจฟันเฟื องทุกตัวทํางานไม่ติดขัด ก็เป็ นการ
สร้างหลักการจริ ยาให้แก่สงั คมได้สมบูรณ์แบบ ภายในภายนอกของผูบ้ าํ เพ็ญธรรมต้องเหมือนกันไม่ว่าจะ
เป็ นอาณาจักรธรรมหรื อครอบครัวหรื อสังคมจะต่างจากนี้ ในอาณาจักรธรรมสามารถศรัทธาจริ งเคารพ
อาวุโสให้เกียรติเมธี ไม่แก่งแย่งชิงดี เช่นนี้จึงเป็ นการแสดงออกถึงธรรมได้ดีที่สุด สามารถนําธรรมะใช้
ในการดํารงชีวิตที่แท้จริ ง
- คัมภีร์เว่ยหล่าง “พบความผิดตนเป็ นนิจ เช่นนี้ก็ไม่ต่างไปจากธรรมะ” “มอบความดีแก่ผคู้ น ตน
ยอมรับความผิด” เช่นนี้เป็ นการสร้างอาณาจักรธรรมที่สมานฉันท์ได้อย่างสําคัญยิ่ง “หากแก่งแย่งความดี
โยนผิดร้ายแด่คนอื่น”จะเป็ นการฉุดรั้งสังคมทําให้สงั คมวุ่นวายก่อความอันตรายเป็ นอย่างยิง่
- หากอาณาจักรธรรมไร้จริ ยาไร้หลักการคุณธรรมที่ไม่ชดั เจน นาวาธรรมอันตราย เวไนยจะ
ลําบาก ตนจะเป็ นทุกข์ เช่นนี้แล้วการบําเพ็ญปฏิบตั ิธรรมก็เป็ นแค่เพียงการหลอกลวงผูค้ นเท่านั้น
๓. บําเพ็ญบรรลุคุณธรรมภายใน
- บรรลุภายใน ปฏิบตั ิสู่ภายนอก คัมภีร์จงยง “ไร้ศรัทธาไม่อาจเกิดผล” คัมภีร์ตา้ เสวีย “ความรู้มา
จากความศรัทธา” คือ การบําเพ็ญตนนั้น เป็ นการนําสู่ครอบครัว ปกครองประเทศชาติ เป็ นรากฐานแห่ง
ความสงบสุขของประชาราษฎร พระบรรพจารย์ชายเมตตาไว้ว่า “ภายในศรัทธา ภายนอกนําปฏิบตั ิดว้ ย
จริ ยา ใจตรงบําเพ็ญกาย สําเร็ จที่ตนผูค้ นเที่ยงตรง” “เปลี่ยนแปลงเภทภัยต่างขึ้นอยูท่ ี่อริ ยะ” (คนดีมากสามารถ
เปลี่ยนแปลงภัยได้)
- ย้อนมองสํานึกบาป ย้อนมองที่ตน ย้อนมองส่องตน จะก่อเกิดปัญญา คัมภีร์เว่ยหล่าง “หากคน
บําเพ็ญจริ ง จะไม่เวลาให้พน้ ไปเฉย”
- ไม่ว่าพิธีการในสถานธรรม สามชัดเจนสี่ เที่ยงตรง ศีลห้า พุทธระเบียบสิ บห้าข้อ หรื อข้อบัญญัติ
ต่างๆของผูบ้ าํ เพ็ญต่างเป็ นศีลบัญญัติหรื อเป็ นบันไดการบรรลุพุทธะ
๔. สรุป
๑. พุทธระเบียบภายนอกเป็ นวัตถุประสงค์เป็ นรู ปแบบ เป็ นแบบอย่างที่ดีดา้ นกาย วาจา ใจของผูบ้ าํ เพ็ญ
ธรรมะ เข้มงวดหลักจริ ยาการปกครองของอาณาจักรธรรม และเพื่ออาศัยมาซักล้างชําระกายใจ ให้จิตพุทธะเดิม
ได้สาํ แดง ให้ตนได้บรรลุ บังเกิดความลํ้าค่าของธรรมะได้อย่างชัดเจน
๒. การบัญญัติพุทธระเบียบของซื อจุน เริ่ มที่ หลักธรรมะของกษัตริ ยไ์ ด้สดับ จิตตรงบําเพ็ญกายเป็ น
พื้นฐาน คําสัง่ สอนของอริ ยาใช้จริ ยานําพาดําเนิ นเป็ นประการแรก........
๓. พุทธระเบียบและพิธีการ เปลี่ยนแปลภายในแล้ว ดํารงรักษา ยกระดับคุณธรรมการบําเพ็ญของผู้
บําเพ็ญธรรมะ กาลเวลายิง่ ผ่านให้ปฏิบตั ิจนเป็ นลักษณะนิสยั ในชีวิต เข้าใจถึงว่าพุทธระเบียบคือพื้นฐานของการ
ดํารงชีวิตของมนุษย์ เมื่อทดสอบจึงจะผ่านได้อย่างง่ายดาย
๔. ท่านกวนอู ตรัสว่า “พุทธระเบียบคือบทบัญญัติของเบื้องบน ใช้พุทธระเบียบเป็ นแนวทางในการ
บําเพ็ญ หารบําเพ็ญไม่รักษาดําเนินตามพุทธระเบียบ แล้วจะอาศัยการบําเพ็ญอย่างไรเป็ นบันไดในการบําเพ็ญ?
พุทธระเบียบและพิธีการเฉพาะกาล
ความหมายของพิธีการกราบไหว้ พิธีการที่ทางพุทธสถานใช้ บ่อยๆ ความหมายของการชั่ นหุ่ย
๑. คานา
พุทธระเบียบและพิธีการเฉาะกาล ใช้ครอบคลุมตั้งแต่ถนั จู่ ญาติธรรมชายหญิงมาถึงสถานธรรม ขณะฟัง
ธรรมศึกษาคัมภีร์ และการสร้างบุญ ทั้งสี่ ประการ ซึ่งพระบรรพจารย์ชายได้บญั ญัติไว้ กําหนดพุทธระเบียบเฉพาะ
กาลนี้ เพื่อเหมาะสมกับเจตนาในกาลปัจจุบนั เพื่อเก็บจิตที่ฟุ้งซ่านหรื อการกระทําที่ผิดเพี้ยนไปให้คืนมาถูกต้อง
๒. พิธีการกราบไหว้พระ
1. ความหมาย
- เข้าใจในชีวิต(มิ่ง) คือ คน ๑ กราบ เรี ยกว่า ชีวิต ภาษาจีน เหยิน อี๋โค่ว อาศัยการบําเพ็ญเพื่อกระจ่างใน
ชีวิต ตามบุญสัมพันธ์ลดหนีกรรม ไม่สร้างกรรมใหม่ ชดใช้กรรมเก่า
- เคารพและเจริ ญรอยตาม คือ พิธีการจั้วอี๋โค่วโส่ว เป็ นการปฏิบตั ิตามจารี ตประเพณี ยงิ่ ใหญ่ของท่านโจ
วกง เป็ นการแสดงความเคารพนบนอบจริ งใจต่อฟ้ าดิน เจริ ญรอยตามจิตใจของพระพุทธะสิ่ ง
ศักดิ์สิทธิ์ ดัง่ มหาเมตตาของพระศรี อริ ยเมตตรัย พระมหากรุ ณาของพระโพธิสตั ว์กวนอิน ความ
ซื่ อสัตย์ภคั ดีของของท่านกวนอู และพระปัญญาญาณของพระโพธิสตั ว์มญั ชูศรี เป็ นต้น
- พุทธะอยูต่ นเอง คือ การกราบไหว้พระคือการกราบไหว้พุทธจิตธรรมญาณของตน ไม่ใช่การกราบขอ
สิ่ งศักดิ์สิทธิ์ ย้อมมองจิตทุกขณะ เก็บจิต สํารวจตน สํานึกกรรม หวนคืนสู่จิตพุทธะของตน ปัญญา
และเมตตาก็จะบังเกิด
- กําจัดจิตเพิกเฉยทะนงตน คือ พุทธะสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ไม่มีสูงตํ่า ทุกคนเสมอภาค อาศัยยินยอมก้มหัวมา
ศึกษาความอ่อนน้อม เสมอภาค และมาปรับเปลี่ยนความทะนงตน
- ศรัทธาภายใน ปฏิบตั ิสู่ภายนอก คือ ศึกษามารยาทแลจริ ยาจากการฝึ กฝนในขณะก้มลงกราบไหว้ จิต
ภายในศรัทธาจริ งใจ พิธีการก็มาจากความเป็ นธรรมดาไม่ได้บงั คับ พูดและการกระทําตรงกัน อย่างนี้
เรี ยกว่าการแสดงออกมาจากศรัทธาภายใจปฏิบตั ิสู่ภายนอกนั้นเอง
- หลุดพ้นการเกิดตายคืนสู่นิพพาน คือ อาศัยการกราบไหว้เก็บความฟุ้ งซ่าน จากร้อยกราบไปเรื่ อยจน
เป็ นพันกราบ ค่อยๆปล่อยวาง จิตใจจดจ่อ ศรัทธาจริ งใจเสมอต้นปลาย จากหมดใจกราบไหว้จน
สามารถไร้ความความคิดขณะกราบ เวลานั้นเรี ยกว่าความบริ สุทธิ์แห่งจิต ไม่ถูกความฟุ้ งซ่านดึงไป
ไม่ถูกภัยจากการเกิดตายพาให้พวั พัน สามารถเข้าสู่วิสุทธิ์แดน พ้นการเกิดตาย
2. ข้อเน้นยํ้า
- เวลากราบไหว้ ที่ไม่ถูกกันคือมือยกแต่ศีรษะไม่ขยับ หรื อ ศีรษะขยับแต่มือไม่ยก ควรที่จะทั้งศีรษะ
มือและเอว เคลื่อนไหวพร้อมกัน
- เวลากราบไหว้ ควรฟังคํากล่าวของเซี่ ยจื่อหลี่ หนึ่งคําถึงหนึ่งกราบ หากต่างคนต่างทํา จะเป็ นว่าวุ่นวาย
- ซัง่ จื่อหลี่ยงั ไม่ได้กล่าว จั้วอี๋ ก็อย่าเพื่องอุม้ ลัญจกรหรื อทําการจั้วอี๋ไปก่อน จะดูไม่เป็ นระเบียบ
- เวลาจั้วอี๋ จะต้องมองคนรอบด้านจั้วอี๋ให้พร้อมกัน ให้การจั้วอี๋ท้งั กลุ่ม
- ยังไม่กม้ กราบให้ยืนตัวตรง ไม่ควรมองซ้ายแลขวาหรื อพูดคุยกัน
- เวลาคุกเข่า เท้าอย่าได้แยกออกหรื อข้างใดข้างหนึ่งสูงตํ่าไม่เท่ากัน และไม่ควรนัง่ ทับสั้นเท้า ควร
คุกเข่าให้เหยียดตรง
- เวลาก้มลงกราบ สองมืออุม้ เหอถง สองตามรวมจุด ละทิ้งจิตฟุ้ งซ่าน กําจัดใจสาม(จิตใจวุ่นวาย) ให้จิต
หนึ่งใจเดียว เคารพศรัทธาที่สุด กายจิตความคิดรวมเป็ นหนึ่ง จะสมารถเข้าสู่สถานอันแยบยล เป็ นการ
และพบความสราญอย่างแท้จริ ง เมื่อขยันกราบไหว้ ดําเนินอยูเ่ ช่นนี้เสมอๆ วิญญาณธาตุกายธาตุพลัง
ธาตุกลับคืนสู่ฐานเดิม จิตญาณคืนสู่วชั ระกายเช่นเดิม(สภาวะพุทธะเดิม) ละวางส่วนน้อยสร้างสรรค์
ส่วนใหญ่
3. จริยพิธีที่ใช้ บ่อยในพุทธสถาน
- พิธีชัน-ฉือเจีย้
ความหมาย การชันฉื อเจี้ยเป็ นการแสดงออกถึงจริ ยาการไปลามาไหว้แด่พระอนุตตรธรรมมารดา
และเป็ นการแสดงความเคารพในพระโอการสวรรค์ของเตี่ยนฉวนซื อ เคารพอาจารย์เทิดทูนธรรมะ
เมื่อเข้าออกพุทธสถานจําต้องชัน-ฉื อเจี้ย
ข้ อเน้ นย้า
ก่อนการชัย-ฉื อเจี้ยจะต้องทําความสะอาดมือ จัดเครื่ องแต่งกาย
เข้ามาพุทธสถานต้องชันเจี้ย ออกจากพุทธสถานต้องฉื อเจี้ย
เวลาชัน-ฉื อเจี้ย ชายก่อนแล้วค่อยหญิง หากเตี่ยนฉวนซื อร่ วมในพิธีการ ให้เตี่ยนฉวนซื อก่อนและ
ตามด้วยญาติธรรมเพศเดียวกับท่านร่ วมกราบด้วย
เวลาชัน-ฉื อเจี้ย หากเตี่ยนฉวนซื อท่านอยูพ่ ทุ ธสถานนั้นๆ เมื่อชัน-ฉื อเจี้ยเสร็ จก็ให้ยืนขึ้นแล้ว
จั้วอี๋ กุย้
เซี่ ยงเตี่ยนฉวนซื อ ชัน(ฉื อ)เจี้ย อี๋โค่วโส่ว
หากเตี่ยนฉวนซื อท่านมาถึงทีหลังเราหรื อจะกลับไปก่อนเรา เราจะต้อง
จั้วอี๋ กุย้
เซี่ ยงเตี่ยนฉวนซื อ เจ(ซ่ง)เจี้ยง อี๋โค่วโส่ว
เวลาชัน ฉื อ เจ ซ่งเจี้ยจะต้องกล่าวออกเสี ยงทุกครั้ง
เวลาร่ วมกราบชัน ฉื อ เจ ซ่งเจี้ย เมื่อเตี่ยนฉวนซื อใช้การ จั้วอี๋ กุย้ เราก็ตอ้ งทําตามท่าน หากท่านใช้
การคํานับเราก็จะต้องใช้การคํานับเช่นท่าน
ในสถานธรรม หากมีญาติธรรมมากราบไหว้พระโค่วโถ่ว ผูท้ ี่อยู่ ณ บริ เวณจะต้องยืนขึ้น และหัน
หน้ายังห้องพระ เมื่อเสร็ จพิธีการทักทายกันถึงนัง่ ลงได้
อีกกรณี หากในสถานธรรมมีผคู้ นนัง่ อยูห่ รื อฟังธรรมะอยูเ่ ราต้องใช้การคํานับแทนพระทุกคน
จะต้องยืนหมด จะเป็ นการรบกวนการบรรยายหรื อรบกวนญาติธรรมที่กาํ ลังเสวนา
หลังจากชันเจี้ย จะต้องทักทายกับญาติธรรมและจะต้องไปกล่าวรายงานตัวทักทายต่อเตี่ยนฉว
นซื อ หากขณะนั้นเตี่ยนฉวนซื อท่านกําลังปั้นเต้า บรรยายธรรม ส่งเสริ มญาติธรรม ไม่ตอ้ งไปกล่าว
รายงานตัวทักทายต่อท่าน จะเป็ นการรบกวนท่านและญาติธรรม
เวลากล่าวชัน-ฉื อเจี้ยจะต้องพูดออกเสี ยง เมื่อกล่าวถึงเฉี ยนเสียนต้าจ้ง ทุกคน ณ บริ เวณนั้นจะต้อง
หนึ่งคํานับตอบ
หากไม่สะดวกกราบไหว้ สามารถใช้การคํานับแทน แต่ให้พยายามกราบไหว้ให้มากเท่าที่จะทําได้
หากพบว่าญาติธรรมไม่รู้พิธีการจะต้องจัดซัง่ เซี่ ย และอธิบายถึงความหมายการชันฉื อเจี้งและ
บอกกล่าววิธีการกราบไหว้
หากคนที่ผา่ นการประชุมธรรม ๓ วันแล้ว ส่งเสริ มให้เขาสวดท่องบทชัน-ฉื อเจี้ย หรื อไม่ก็ใช้การ
คํานับ ๓ ครั้ง หากเตี่ยฉวนซื ออยู่ ณ ที่สถานธรรมนั้น ก็คาํ นับเพิ่มอีก ๑. คํานับ
หากเตี่ยนฉวนซื อมาถึงก่อน เรามาทีหลังใช้การชันเจี้ย
หากเตี่ยนฉวนซื อมาทีหลัง เรามาก่อน ใช้การเจเจี้ย
หากเตี่ยนฉวนซื อไปทีหลังเราไปก่อน ใช้การฉื อเจี้ย
หากเตี่ยนฉวนซื อไปก่อน เราไปทีหลัง ใช้การซ่งเจี้ย
การจัดไป้ เตี้ยน จะต้องให้ตรง รวดเร็ว เงียบ หากไม่ระวังไปเตะไป้ เตี้ยนอย่าใช้เท้าเขี่ยจะต้องใช้
มือจัดให้เหมือนเดิม เป็ นการแสดงความเคารพ
เวลาเดินอย่าข้ามหรื อเหยียบเบาะกราบ และจะนัง่ บนเบาะกราบไม่ได้ ไป้ เตี้ยนใช้ในกราบไหว้
เท่านั้น
การเข้ าเบาะกราบ
๑ คน เบาะซ้าย
๒ คน อาวุโสเบาะขวา ถัดมาเบาะซ้าย
๓ คน อาวุโสเบาะกลาง ถัดมาขวา และซ้าย
๔ คน อาวุโสเบาะกลาง ถัดมาขวา ซ้าย และเบาะกลางแถวที่สอง
๕ คน ๑ อาวุโสเบาะกลาง ๒ ถัดมาขวา ๓ ซ้าย ๔ เบาะขวาแถวที่สอง และ ๕
เบาะซ้ายแถวที่สอง
๖ คน ๑ อาวุโสเบาะกลาง ๒ ถัดมาขวา ๓ ซ้าย แถวที่สอง ๔ เบาะกลาง ๕เบาะ
ขวา ๖ เบาะซ้าย
กรณี มา ๒ ท่าน หนึ่งในนั้นคือเตี่ยนฉวนซื อ เบาะกลางเตี่ยนฉวนซื อ และเบาะขวา
ญาติธรรม
เข้าที่ให้รวดเร็ว เบาะหน้าว่าง เลื่อนเข้าให้เต็ม อย่างผลักดันคนอื่นเพราะจะเสี ยเวลาและวุ่นวาย
ต่างคนต่างดูคุณสมบัติตนว่าเป็ นเด็กผูใ้ หญ่ อาวุโสเบาะหน้าตามอาวุโส เป็ นการแสดงออกถึงการนบนอบ
ผูอ้ าวุโส เคารพปราชญ์เมธี
- ไหว้พระเช้ าเย็น
ความหมาย
เป็ นการกราบไหว้พระอนุตตรธรรมมารดาทุกวันเช้าเย็น รู้มีจิตเคารพ และยังมีจิตสํานึกขอขมา
ความผิดบาปทุกวันเช้าเย็น สถานธรรมในครัวเรื อนใช้ธูป ๙ ดอก สถานธรรมส่วนรวมใช้ ๑๕ ดอก
สถานธรรมใหญ่(ต้าเมี่ยว)ใช้ ๒๔ ดอก
ข้อเน้นยํ้า
ก่อนการถวายธูปจะต้องเปลี่ยนถ้วยนํ้าชา(เช้า) เช็ดโต๊ะพระ เต็มนํ้ามันตะเกียง จัดองค์ตะเกียงดวง
กลางให้ตรง ปรับขี้เถ้ากระถางธูปให้เรี ยบ เตรี ยมธูป ผ้าเช็ดมือ ทุกอย่างให้พร้อม
ผ้าเช็ดถ้วยนํ้าชาโต๊ะพระแยกกันคนละส่วน
เวลาเกลี่ยขี้ธูปอย่ากดเดี๋ยวแน่น จะปักธูปยาก
การเติมนํ้าอุ่นถวาย ปริ มาณ ๗ใน ๑๐ ถ้วนเหลาหมู่ ถ้วยขวานํ้าอุ่น ถ้วยซ้ายนํ้าอุ่นและใส่ใบชา
ประมาณ ๒ - ๓ ใบ
เวลาเติมนํ้ามันตะเกียงใช้กาในการเต็ม ใช้เคียมหนีบเปิ ดฝาตะเกียงแล้งจึงเต็มนํ้ามันลงไป และจัด
แนวตะเกียงให้ตรงเหมาะสม
เวลาถวายธูปควรใช้สองมือยกขึ้นระดับคิ้ว ใช้มือซ้ายถวายทีละดอก ยกทีละดอกแล้วปักธูป ทํา
เช่นนี้จนหมด
เวลาในการถวายใช้ช่วงเวลา อิ้ง ถึง เหมา (เช้าตีห้าถึงหนึ่งโมงเข้า) เวลาเที่ยง(บ่ายโมงถึงบ่ายสาม
โมง) ช่วงเย็น(ห้าโมงเย็นถึงหนึ่งทุ่ม) .ให้ตรงต่อเวลาทั้งสามฤกษ์ยาม หากมีเหตุจาํ เป็ น อาจจะเป็ น
ช่วงเช้าและเที่ยงหรื อเช้าเย็น หรื อให้ครบทั้งสามฤกษ์ยาม
หากหนึ่งคนให้อยูเ่ บาะกลางเพื่อถวายธูป หากมีสองท่านเบาะกลางเป็ นผูถ้ วายและเป็ นซัง่ เบาะ
ซ้ายเป็ นเซี่ ย
- พิธีเซี่ยนก้ ง
ความหมาย
เป็ นพิธีการสักการบูชาแด่หมื่นพันพระพุทธะพระโพธิสตั ว์ดว้ ยการผลไม้อาหารเจเครื่ อง
สะอาดบริ สุทธิ์ จะต้องน้อมถวายในการไหว้พระ๑-๑๕ คํ่า ฉิ่ งถันปันเต้า ประชุมธรรม วันสําคัญ
ของสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ วันปี ใหม่ การกราบขอสิ่ งศักดิ์สิทธิ์เมตตาประทานโอวาทชี้แนะ และวันเริ่ ม
ฤดูกาลทั้งสี่
ข้ อควรเน้ นย้า
เปลี่ยนล้างถ้วยนํ้าชา เช็ดโต๊ะพระ เติมนํ้ามันตะเกียง จัดตะเกียงให้ตรง ไกล่กระถางธูป
เตรี ยมสามดอก(ธูปผูกบุญสัมพันธ์) จัดผลไม้ เตรี ยมผ้าเช็ดมือของเตี่ยนฉวนซื อ จัดเบาะห้าเบาะ
เปลี่ยนเป็ นชุดเต้าเผา(ชุดนักบวช) และควรจัดเตรี ยมพร้อมเรี ยบร้อยก่อนเริ่ มพิธีการ
ก่อนรุ่ งสางเริ่ มพิธีการควรอธิบายความหมายพิธีการก่อน และเชิญญาติธรรมที่ร่วมพิธีให้
ยืนตรงกิริยาเรี ยบร้อยแสดงความเคารพ หันหน้าไปยังห้องพระ สํารวมจิตใจ เคารพศรัทธาจริ งใจ
ยืนตรงมือแนบลําตัว จึงราบแด่เตี่ยนฉวนซื อถวายธูปผูกบุญสัมพันธ์
ผ้าเช็ดถ้วยนํ้าชาและโต๊ะพระแยกคนละส่วน ผ้าเช็ดผลไม้และผ้าต่างๆไม่ควรใช้แยกเป็ น
สัดส่วนไม่ปะปนกัน
ควรเปลี่ยนนํ้าชาใหม่ท้งั หมด ถ้วยที่เป็ นนํ้าขุ่นให้เต็มใบชา ๒-๓ ใบ เต็มนํ้าอุ่นประมาณ
เจ็ดส่วน
จัดเตรี ยมผ้าและถาดร้องผ้าเช็ดมือของเตี่ยนฉวนซื อให้พร้อม
วิธีการพับผ้า ชักผ้าให้สะอาดก่อน บิดหมาด พับครึ่ ง พับจากบนลงล่างตั้งฉาก พับเข้าใน
สองส่วน ละวางบนถาดวางผ้า
การส่งผ้า ใช้สองมือ นิ้วหัวแม่มือทั้งสองและนิ้วชี้ท้งั สองจับมุมผ้าทั้งสองมุม เดินหน้า
กลาวเรี ยนถาม(อุน้ ห่าว) คํานับ 90 องศา กล่าวว่า ชิ่งจิ้งโส่ว(เชิญเช็ดมือครับ-ค่ะ)
การจัดผลไม้ ถาดกลางให้สูง สองข้างลดตํ่าลง แถวหน้า(ติดโต๊ะพระใหญ่)ให้สูง แถวหลัว
ลดตํ่าลง ซ้ายขวาให้ได้สดั ส่วน
ในการวางผลิตภัณฑ์ จะเป็ นผลไม้ ของหวาน ขนมกรอบ ลูกกวาด อาหารเจสําเร็ จรู ป ไร่
มาตามลําดับ หากผลไม้เยอะสามารถวางไว้ที่โต๊ะ ที่เหลือไม่ว่าจะเป็ นหมี่ซ้ วั (หมี่เพิ่มอายุ=โซ่
วเมี่ยน) ซาลาเปาลูกท้อ(ลูกท้อเพิมอายุ=โซ่วเถา) บัวลอย(สมบูรณ์ทุกประการ) สามารถวางโชว์ที่
โต๊ะพระใหญ่
หากผลไม้สุกงอมเกินไปหรื อไม่สดไม่เหมาะสมที่จะถวาย หากก้านขั้วหรื อขนมที่ห่อควร
วางตั้งชี้ข้ ึน หากมีป้ายราคาควรแกะออก
ถาดผลไม้แต่ละถาดให้จดั ผลไม้ในจํานวนคี่ หากเป็ นองุ่น ลิ้นจี่หรื อผลไม้ลูกเล็กๆไม่
อาจจะนับได้ ก็ให้จดั เป็ นพวงก็ได้
การวางผลไม้ในแต่ละแถวควรวางเป็ นจํานวนคี่ เช่นแถวละ ๑,๓,๕ ถาด
การถวายผลไม้อย่างน้อยสุดต่อครั้งต้องไม่ต่าํ กว่า ๕ ถาด
หากไม่มีการฉิ่ งถันก็ใช้ธูปกําใหญ่ หรื อไม่ก็จดั ธูปไม้หอม
การมัดธูปกําใหญ่ ก็ให้ดูว่าปริ มาณญาติธรรม และสถานที่ว่ามากน้อยเล็กใหญ่ ไม่จาํ เป็ น
ว่าต้อง ๑๐๘ ดอกเสมอไป
ใช้หนังยางมัดธูปให้แน่น แล้วคอยคลายออกเวลาจะถวาย ช่วงระดับหนังยางก็อย่าให้สูง
ตํ่าจนเกินไป จะติดไฟยาก
วิธีการจุดธูปกําใหญ่ กําธูปไว้ก่อน แล้วจุดตรงกลาง แล้วไล่ไปสี่ มุม
ก่อนเริ่ มพิธีถวายผลไม้ ต้องมีการถวายธูปสามดอกก่อน หากมีการฟาหลู่(จุดผงไม้หอม)ที่
จะต้องจัดธูปไม้หอม

- พิธีถวายธูป ๑-๑๕ คา่


ความหมาย
เริ่ มหนึ่งคํ่าตามปฏิทินตามจันทรคติ ความหมายคือ วันขึ้น วันเริ่ มต้น วันก่อเกิด เรี ยกว่าวัน
ข้างแรม คนโบราณจะมีพิธีการเซ่นไหว้ฟ้าดินในวันนี้ เป็ นการแสดงสํานึกพระคุณของผูป้ ระทาน
ให้ สื บสาวถึงที่มาแห่พระคุณ ๑๕ คํ่าตามปฏิทินทางจันทรคติเป็ นวันพระจันทร์เต็มดวง เรี ยกว่า
วันข้างขึ้น ความหมายคือความสมบูรณ์ คนโบราณจะมีการเคารพเป็ นที่สุดต่อหมื่นพันพุทธะพระ
โพธิสตั ว์ในวันนี้ ดังนั้น ๑-๑๕ คํ่า ได้กลับมาไหว้พระถวายธูปยังพุทธสถาน ไดรับพระบารมีจาก
พุทธะ ได้บาํ เพ็ญกายบําเพาะจิตใจด้วยแล้วยังสามารถให้เราได้มีโอกาสเก็บจิตสํารวมกาย คุกเข่า
ขอขมา สํานึกในความผิดบาปของตน และที่สาํ คัญสามารถทําให้เราได้อ่อนน้อม โอบรัก จากญาติ
ธรรมทําให้เราสามารถเรี ยนรู้ฝึกฝนเปลี่ยนแปลงตามโดยไม่รู้ตวั และสามารถผูกบุญสัมพันธ์ได้
อย่างกว้างขวางด้วย
ข้ อควรเน้ นย้า
ขั้นตอน เซี่ ยนก้ง ฉิ่ งถัน(หากมีป้ ันเต้า) กราบไหว้
ก่อนรุ่ งสางเริ่ มงาน ต้องขัดตะเกียง เช็ดโต๊ะพระ เช็ดองค์พระ เปลี่ยนนํ้าชา เติมนํ้ามัน
ตะเกียง จัดแนวตะเกียง ไกล่กระถางธูป จัดผลไม้ เตรี ยมธูปสามดอก ธูปกําใหญ่ ผ้าเช็ดมือ จัด
เบาะกราบ
ถาดผลไม้ สถานธรรมในครัวเรื อนอย่างน้อย ๕ ถาด สถานธรรมส่วนรวม ๑๐-๑๕ ถาด
หากจะฉิ่ งถัน จัดเตรี ยมธูปไม้หอม และฟาหลู
ถวายผลไม้ก่อน แล้วค่อยกราบไหว้ หากฉิ่ งถัน ก็ตอ้ งฉิ่ งถันก่อนการกราลไหว้
พิธีกราบสํานึกฯพระอนุตตรธรรมมารดา ก็จะกราบ ๑๐๐ ๓๐๐ ๕๐๐ หรื อ ๑๐๐๐ กราบ
ก่อนฟาหลู่ตอ้ งผิงหลู่ก่อน(เกลี่ยกระถางธูปใส่ผงธูป) เวลาผิงหลู่อย่ากดแรงเพราะจะปัก
ธูปไม้หอมยาก
วิธีการฟาหลู่(จุดผงไม้หอม) พอเกลี่ยกระถางธูปเรี ยบแล้ว ขุดหลุมลงไปประมาณสองใน
สามความลึกประมาณธูปไม้หอม ตักผงไม้หอมประมาณ ๓-๔ช้อนลงในหลุมเกลี่ยให้เรี ยบ
จากนั้นปั้นให้เรี ยบอย่ากดแรง ท้ายสุดก็จุดธูปสามดอกใช้ตวั หนีบหนีถ่านธูป ปักลงไปในหลุมผง
ไม้หอมจนหมดธูป ก็เป็ นอันว่าเสร็ จขั้นตอนการฟาหลู่
ก่อนการฟาหลู่ตอ้ งเรี ยนถามเตี่ยนฉวนซื อก่อนว่าสามารถฟาหลู่ได้แล้วหรื อยัง
วิธีการปักถ่านธูป ปักตรงกลางแล้วหวนออกขอบข้าง
การปันเต้าเตรี ยมธูปไม้หอมไว้ดงั นี้ 3 5 333 5 3333
๑-๑๕ คํ่า เตรี ยมธูปไม้หอมไว้ดงั นี้ 3 5 333 5 5 3333333333 1 1 1
หากมีประชุมธรรม ชั้นเรี ยน เพิ่มธูป เจี้ยนปันเอวี้ยนจัง่ ฮู่ฝ่าต้าเซี ยน 1 1
หากกลัวว่าธูปไม่พอสามารถจัดวางธูปเสริ มเพื่อให้เตี่ยนฉวนซื อท่านหยิบเอง
- พิธีเหล่ าหมู่ต้าเตีย่ น
ความหมาย
ท่านขงจื่อก็มีหลักจริ ยของสังคมที่มีต่อฟ้ าดิน ในทุกปี ฮ้องเต้พิธีต่อฟ้ าดินทั้งสี่ ฤดู เป็ นการแสดง
การน้อมเคารพและสํานึกพระคุณต่อฟ้ าดิน และงานธรรมในอาณาจักรธรรมธรรมกาลยุคขาวจะมีพิธี
กราบไหว้วนั เหลาหมู่ตา้ เตี่ยนทั้งสี่
ฤดู ตามเวลาจันทรคติคือ เดือน ๓ ๑๕ คํ่า ฤดูใบไม้ผลิ
เดือน ๖ ๑๕ คํ่า ฤดูร้อน
เดือน ๙ ๑๕ คํ่า ฤดูใบไม้ร่วง
เดือน ๑๑ ๑๕ คํ่า ฤดูหนาว
- ข้ อควรเน้ นย้า
ลําดับพิธีการ เซี่ ยนก้งและกราบไหว้ (พิธีการใหญ่ ๙ ๕)
เริ่ มพิธีรุ่งสางจะต้องขัดระเกียง เช็ดโต๊ะพระ จัดเตรี ยมผลไม้ ธูปสามดอก ธูปกํา
ใหญ่ ผ้าเช็ดมือ จัดเบาะให้เรี ยบร้อย
ผลไม้จากการไหว้พระปกติบวกเพิ่มอีก ๕ ถา

You might also like