You are on page 1of 2

นางสาวดารากร ถาทุมมา 6506611554

Understanding the Unique Linguistic Styles of Women and Men


ในสังคมปจจุบันการใชภาษามีความหลากหลายยิ่งขึ้น โดยการใชภาษาของแตละบุคคลนั้นเกิดจากการถูก
หลอหลอมโดยสังคม ไมวาจะเปนดานสถาบันครอบครัว สถาบันศึกษา สถาบันศาสนา แตมีอีกสิ่งหนึ่งที่สงผลตอ
การใชภาษาของบุคคลมากที่สุดนั่นก็คือ เพศสภาพ โดยเพศสภาพไมใชเพศสรีระที่มีมาโดยแตกําเนิดแตหมายถึงสิ่ง
ที่บุคคลกระทําโดยการกระทํานั้นอาจมาจากความรูสึกสวนตัว ความคิด วัฒนธรรม ศาสนาที่ปลูกฝงใหบุคคลแสดง
ออกมาเปนแบบนั้น โดยสิ่งเหลานี้สงผลตอการใชภาษาของแตละเพศในสังคมทําใหเพศชายและเพศหญิงมีความ
แตกตางในการใชภาษาแตกตางกัน
โดยรูปแบบลักษณะที่สะทอนความแตกตางในการใชภาษาของชายและหญิง โดยมี 3 ดานหลักที่สะทอน
อยางเห็นไดชัด ไดแก ความลังเลในการใชภาษา การใชคําหยาบ ความสามารถการใชภาษาในแตละดาน
จากงานวิจัยของ วรวรรณ เฟองขจรศักดิ์ (2560) พบวาความลังเลในการใชภาษาพบวาผูหญิงมีความลังเล
ในการใชถอยคํามากกวาผูชาย เชนคําวา ผูหญิงจะใชคําว่า “เหมือน” มากกวาผูชาย เพื่อลดระดับความเกี่ยวของ
กับเนื้อหา ไมใหมีความเที่ยงตรงหรือคุกคามมากเกินไป สะทอนถึงการใหความรวมมือกันในการสนทนา ในขณะที่
ผูชายใชคํานี้นอยมากที่สุดแตจะนิยมใชคําวา “รูสึกวา” หรือ “คิดวา” มากกวาผูหญิงเพื่อลดระดับความคุกคาม
ของภาษา แตเพียงแคใชในคําที่แตกตางจากผูหญิง การที่ผูหญิงใชคําลังเลมากกวาผูชายสะทอนถึงตระหนักรูการใช้
ภาษาและการใหความรวมมือกันในการสนทนา ในขณะทีผ่ ูชายตระหนักถึงการใชภาษาของตนและตระหนักถึงผูฟง
นอยกวาผูหญิง
รวมไปถึงการใชถอยคําหยาบโดยการศึกษาของ Bailey and Timm, (1976) และ McEnery, (2005) นั้น
สรุปไดวาผูชายใชคําหยาบที่รุนแรงและมากกวาผูหญิง ในขณะที่ผูหญิงจะใชคําหยาบก็ตอเมื่อชวงที่มีอารมณโกรธ
ซึ่งสอดคลองกับ (Tooby and Cosmides, 1988) ที่กลาววาสมองของผูชายและดานจิตใจมีแนวโนมที่จะสราง
พฤติกรรมกราวราวมากกวาผูหญิง รวมไปถึงแนวคิดชายเปนใหญที่ทําใหผูชายมีอํานาจและอิสรภาพในการใชคํา
และการกระทํามากกวาผูหญิงจึงทําใหผูหญิงถูกจํากัดในการมีอิสรภาพทางการใชภาษาและการกระทํา
อีกทั้งความสามารถการใชภาษาในแตละดานอางอิงจากงานวิจัยของ วรวรรณ เฟองขจรศักดิ์ (2560)
พบวาผูชายมีความสามารถในการอธิบายสิ่งตาง ๆ โดยการใชคําศัพทและการเชื่อมโยงไปยังประเด็นอื่น ๆ ไดดีกวา
ผูหญิง ในขณะที่ผหู ญิงมักมุงเนนพรรณนาถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่ง จึงสอดคลองกับการศึกษาของ Tannen (2001) ที่พบวา
ผูหญิงสามารถคุยเรื่องหนึ่งในระยะเวลายาวได ในขณะที่ผูชายจะไมคอยชอบเปนผูฟงนัก โดยไมใหความสําคัญกับ
ผูที่พูด ผูชายจึงมักจะพูดกระโดดขามไปคุยเรื่องนั้นเรื่องนี้เสมอ
กลาวไดวาความแตกตางระหวางการใชภาษาของผูชายและผูหญิงมีอยูจริงโดยมีลักษณะบางอยางแตไม
อาจอนุมานความแตกตางเหลานี้วาจะเปนเชนนี้เสมอทั้งนี้ขึ้นอยูกับ สังคม สภาพแวดลอม ความคิด วัฒนธรรม
เพศสภาพ ที่กอใหเกิดความแตกตางรูปแบบนี้ขึ้น
นางสาวดารากร ถาทุมมา 6506611554

บรรณานุกรม

ภคพล เส้นขาว. (1 กันยายน 2565). สังคมวิทยาสตรี. old-book.ru.ac.th. http://old-book.ru.ac.th/e-


book/s/SO378(50/SO378-2.pdf

วรวรรณ เฟื่องขจรศักดิ์. (2560). การใช้ถ้อยคําแสดงความลังเลของผู้หญิงและผู้ชายในบริบทการวิพากษ์วิจารณ์.


rsujournals.rsu.ac.th. https://rsujournals.rsu.ac.th/index.php/jla/article/download/134/93/

วิสันต์ สุขวิสิทธิ์. (2561). เพศ-ภาษา: การสื่อความคิดเกี่ยวกับเพศสภาวะผ่านกลวิธีทางภาษาในวาทกรรม


สาธารณะภาษาไทย. rs.mfu.ac.th.
http://rs.mfuac.th/ojs/index.php/vacana/article/download/132/75

Elia Simon. (2565). The Different Language Use between Male and Female University Students.
journal.unwira.ac.id.
https://journal.unwira.ac.id/index.php/LECTIO/article/download/371/313/

Emre Güvendir. (2015, March 16th). Why are males inclined to use strong swear words more
than females? An evolutionary explanation based on male intergroup aggressiveness.
sciencedirect.com.
https://www.sciencedirect.com/science/article/abs/pii/S0388000115000194

Xiufang Xia (2013, August) Gender Differences in Using Language. academypublication.com.


https://www.academypublication.com/issues/past/tpls/vol03/08/28.pdf

You might also like