You are on page 1of 68

โครงสร้ างสังคมและการจัดระเบียบทางสังคม

social structure & social organization

จัดทําโดย
ครูรจุ น์ หาเรือนทรง
ส 2.1 ม.4-6/2 วิเคราะห์ความสําคัญของโครงสร้างทางสังคม การขัดเกลาทางสังคม และการ
เปลี่ยนแปลงทางสังคม ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 1
เหตุใดมนุษย์ จงึ จําเป็ นต้ องมาอยู่
ร่ วมกันเป็ นสังคม ?

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 2


มนุษย์เป็ นสัตว์สงั คม : อริ สโตเติล
• อริสโตเติล้ นักปราชญ์ ผ้ ูยงิ่ ใหญ่ ของ
กรีกได้ กล่ าวไว้ ว่า "มนุษย์ เป็ นสั ตว์
สั งคม (Human being is social
animal)" เพราะมนุษย์ มกี ารอาศัยอยู่
ร่ วมกันอย่ างเป็ นหมวดหมู่ มิได้ ใช้ ชีวติ
อยู่เพียงคนเดียวตามลําพังแต่ อย่ างใด
เนื่องจากมนุษย์ ต้องทํากิจกรรม
ร่ วมกันอยู่ตลอดเวลา ต้ องพึงพาอาศัย
ซึ่งกันและกัน
ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 3
Social Structure
โครงสร้ างสังคม

กลุ่ม สถาบัน การจัดระเบียบ


สังคม สังคม สังคม

สถาบันที่ - สถานภาพ บทบาท บรรทัด


กลุม่ ปฐมภูมิ กลุ่มทุตยิ ภูมิ สถาบันที่ให้
สร้ างระเบียบ ฐาน การควบคุมทางสังคม การ
การเรี ยนรู้
แก่ สังคม ขัดเกลาทางสังคม

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 4


การจัดระเบียบทางสังคมและโครงสร้ างสังคม
• ความหมายของการจัดระเบียบและโครงสร้ างสั งคม
• 1. โครงสร้ างสั งคม (social structure): การจัดส่ วนต่ างๆ ภายในสั งคมให้
เข้ าด้ วยกันอย่ างเป็ นระบบ (ความสั มพันธ์ )
• 2. การจัดระเบียบทางสั งคม (social organization): รู ปแบบความสั มพันธ์
ระหว่ างบุคคลและระหว่ างกลุ่มซึ่งมีเรื่องเกีย่ วกับสถานภาพ บทบาท
บรรทัดฐาน การควบคุมทางสั งคม การขัดเกลาทางสั งคม เข้ ามา
เกีย่ วข้ อง (ทําให้ คนอยู่ในกรอบเดียวกัน)
• การจัดระเบียบสังคมและโครงสร้ างสังคมเป็ นของค่ กู นั ไม่ อาจแยกจาก
กันได้ “เมื่อมีโครงสร้ างย่ อมมีการจัดระเบียบ”
ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 5
กลุ่มสังคม

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 6


กลุ่มสังคม
• 1. ความหมายของกลุ่ม หมายถึง บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึน้ ไปมีการ
ติดต่ อสื่ อสารกัน ซึ่งการสื่ อสารไม่ จาํ เป็ นต้ องทําต่ อหน้ า แต่ ต้องมี
ลักษณะ two-way communication
• 2. สาเหตุของการรวมกลุ่ม
• 2.1 ธรรมชาติของมนุษย์ ชอบสั งสรรค์ คบหา อรลิสโตเติล กล่ าวว่ า
“มนุษย์ เป็ นสั ตว์ สังคม”
• 2.2 ความจําเป็ นต้ องอาศัยซึ่งกันและกัน (functional interdependence)

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 7


• 3. กลุ่มประเภทต่ างๆ
• 3.1 กลุ่มทีเ่ ป็ นทางการกับกลุ่มทีไ่ ม่ เป็ น
ทางการ
Formal group
Informal group
• 3.2 กลุ่มตามระยะห่ างทางสั งคม (Social
Distance)
กลุ่มแนวราบ (horizontal group)
กลุ่มแนวดิง่ (vertical group)
ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 8
• 3.3 กลุ่มปฐมภูมแิ ละกลุ่มทุตยิ ภูม*ิ
• 3.3.1 กล่ มุ ปฐมภูม(ิ primary group)
o1) มีความสั มพันธ์ ซึ่งๆ หน้ า face to face
o2) ความสั มพันธ์ ค่อนข้ างถาวร
o3) มีผู้เกีย่ วข้ องน้ อย หรือเป็ นกลุ่มเล็กๆ
o4) ความใกล้ ชิดสนิทสนมของคนในกลุ่ม
o5) เป็ นความสั มพันธ์ ในเรื่องทัว่ ไปไม่
เฉพาะเจาะจง
– นักเรี ยนยกตัวอย่าง

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 9


• 3.3.2 กล่ มุ ทุติยภูมิ(secondary group)
o1) ขาดความถาวร
o2) มีการติดต่ อกันแบบผิวเผิน
o3) มีความผูกพันต่ อกันน้ อย

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 10


สถาบันสังคม

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 11


สถาบันสังคม
• 1. ความหมาย : สถาบันสังคม Social Institution หมายถึง
• 1.1 สิ่ งทีส่ ั งคมจัดตั้งขึน้ เพราะเห็นประโยชน์ ว่ามีความต้ องการและจําเป็ นแก่
วิถชี ีวติ ของตน เช่ น สถาบันครอบครัว สถาบันศาสนา สถาบันการศึกษา
สถาบันการเมือง
• 1.2 เป็ นกระบวนการหรือการรวมกลุ่มในลักษณะ ทีจ่ ดั ระเบียบอย่ างดี มี
ระบบ มีเสถียรภาพมัน่ คง
• 1.3 กลุ่มของบรรทัดฐานทางสั งคมทีส่ ั งคมได้ กาํ หนดไว้ เพือ่ ใช้ เป็ นหลักในการ
กระทํากิจกรรมต่ างๆ ของสมาชิกในสั งคม เพือ่ แก้ปัญหาพืน้ ฐาน เพือ่ การ
ดํารงอยู่ของสั งคม

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 12


• 2.องค์ ประกอบของสถาบัน
สั งคม
หน้ าทีท่ แี่ น่ นอนชัดเจน
แบบแผนพฤติกรรม
บุคคล/กลุ่มสั งคม
ศูนย์ กลางในการดําเนินการ

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 13


• 3. สถาบันสั งคมทีส่ ํ าคัญ
สถาบัน
สถาบัน ครอบครั ว
นันทนาการ สถาบันการ
ศึกษา

สถาบัน
สถาบัน
สังคม สถาบัน
สื่อสารมวลชน
ศาสนา

สถาบัน สถาบัน
เศรษฐกิจ การเมืองการ
ปกครอง

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 14


สถาบันครอบครัว
สาเหตุการ หน้ าที่ แบบแผน กลุ่มสั งคม/บุคคล ศูนย์ กลางในการ
เกิด พฤติกรรม ดําเนินการ

ความ 1 .สร้ างสมาชิกใหม่ -ประเพณีการ 1.ครอบครัวเดีย่ ว บ้ าน


ต้ องการ 2.อบรมสมาชิกให้ เป็ น หมั้น (พ่ อ แม่ ลูก)
ทางด้ าน พลเมืองดี - การแต่ งงาน 2.ครอบครัวขยาย
ร่ างกาย 3.ขัดเกลาทางสั งคม ( วงศาคณาญาติ)
และจิตใจ 4. ให้ ความรักความ
อบอุ่น

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 15


สถาบันการศึกษา
สาเหตุการเกิด หน้ าที่ แบบแผน กลุ่มสั งคม/ ศูนย์ กลางในการ
พฤติกรรม บุคคล ดําเนินการ
สนองความ 1.ถ่ ายทอดความรู้ -การจัดการเรียน - ครู อาจารย์ -โรงเรียน
ต้ องการการ 2.สร้ างบุคลิกภาพทีด่ ี การสอน -นักเรียน -มหาวิทยาลัย
เรียนรู้ ของ แก่ สมาชิก - หลักสู ตร - วิทยากร -วิทยาลัย
มนุษย์ ในการ 3. ผลิตกําลังแรงงาน แบบแผน --นักวิจยั -ศูนย์ การเรียนรู้
ใช้ ปัญญาให้ ทางเศรษฐกิจ พฤติกรรมนักเรียน -หอสมุด
เกิดประโยชน์

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 16


สถาบันศาสนา
สาเหตุการเกิด หน้ าที่ แบบแผน กลุ่มสั งคม/ ศูนย์ กลางในการ
พฤติกรรม บุคคล ดําเนินการ
สนองความ 1.ทําให้ เกิดความเป็ น - ประเพณี -พระสงฆ์ -วัด
ต้ องการทางจิตใจ อันหนึ่งอันเดียว พิธีกรรมทาง - นักบวช -ศาสนสถาน
เป็ นหลัก 2.ถ่ ายทอดวัฒนธรรม ศาสนา - ศาสนิกชน - สํ านักปฏิบัติ
3.เครื่องยึดเหนี่ยว ธรรม
จิตใจ

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 17


สถาบันการเมืองการปกครอง
สาเหตุการ หน้ าที่ แบบแผนพฤติกรรม กลุ่มสั งคม/บุคคล ศูนย์ กลางในการ
เกิด ดําเนินการ
สนองความ 1.สร้ างกฎเกณฑ์ -แบบแผนการ -ฝ่ ายนิตบิ ัญญัติ -รัฐสภา
ต้ องการ ให้ สังคม เลือกตั้ง -ฝ่ ายบริหาร - ศาล
ด้ านความ 2.ตัดสิ นข้ อ -การพิจารณาคดี - ตุลาการ -หน่ วยงานราชการ
มัน่ คง ขัดแย้ งในสั งคม -การบริหารราชการ - ทหาร ตํารวจ
ปลอดภัย 3.บําบัดทุกข์
บํารุงสุ ข

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 18


สถาบันเศรษฐกิจ
สาเหตุการ หน้ าที่ แบบแผนพฤติกรรม กลุ่มสั งคม/บุคคล ศูนย์ กลางในการ
เกิด ดําเนินการ
ความ 1. ผลิตสิ นค้ า -แบบแผนการผลิต -พนักงานบริษทั -บริษทั
ต้ องการของ บริการ สิ นค้ าบริการ -รปภ -โรงงาน
มนุษย์ ด้าน 2.กระจายสิ นค้ าสู่ -การกําหนดราคา -แม่ บ้าน -ห้ างร้ านค้ า
ร่ างกาย ผู้บริโภค -จัดระบบธนาคาร -ผู้ใช้ แรงงาน -โรงแรม
3.แลกเปลีย่ นสิ นค้ า -การประกอบอาชีพ -พ่ อค้ าแม่ ค้า นัก -ธนาคาร
บริการ ต่ างๆ ธุรกิจ -ฯลฯ
4. การบริโภคสิ นค้ า
บริการ

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 19


สถาบันนันทนาการ
สาเหตุการ หน้ าที่ แบบแผนพฤติกรรม กลุ่มสั งคม/ ศูนย์ กลางในการ
เกิด บุคคล ดําเนินการ
ความ ให้ ความบันเทิง -แบบแผนการร้ อง เต้ น -นักร้ อง -โรงภาพยนตร์
ต้ องการการ ในรู ปแบบต่ าง ดนตรี นาฏศิลป์ -นักแสดง - สนามกีฬา
พักผ่ อน เช่ น กีฬา ดนตรี -กติกา มารยาท -นักแสดงตลก
หย่ อนใจ ภาพยนตร์ ละคร -แบบแผนการแสดง -ศิลปิ น
-นักกีฬา

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 20


สถาบันสื่อสารมวลชน
สาเหตุการ หน้ าที่ แบบแผน กลุ่มสั งคม/บุคคล ศูนย์ กลางในการ
เกิด พฤติกรรม ดําเนินการ
ความ 1. ส่ งข่ าวสาร - การใช้ ภาษา -นักข่ าว -สถานีโทรทัศน์
ต้ องการการ 2.ให้ ความรู้ - การจัดทํา -นักหนังสื่ อพิมพ์ วิทยุ
สื่ อสาร ถ่ ายทอดวัฒนธรรม ข่ าวสาร -ผู้ประกาศข่ าว - สํ านักพิมพ์
ระหว่ างกัน 3.สื่ อสารระหว่ างกัน -จรรยาบรรณ -ประชาสั มพันธ์
วิชาชีพ -โฆษก
สื่ อสารมวลชน

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 21


สถาบันสังคม

สรุป
• สถาบันทีใ่ ห้ การเรียนรู้ กบั สั งคม ได้ แก่ สถาบันครอบครัว
สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา
• สถาบันทีท่ าํ หน้ าทีส่ ร้ างระเบียบแก่ สังคม ได้ แก่ สถาบัน
การเมืองการปกครอง สถาบันศาสนา

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 22


การจัดระเบียบทางสังคม
social organization

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 23


เนื ้อหา

• ระดับและองค์ ประกอบของการจัดระเบียบสั งคม


• รู ปแบบความสั มพันธ์
• การจัดระเบียบทางสั งคมในระดับต่ างๆ
• บรรทัดฐาน
• ค่ านิยม
• การขัดเกลาทางสั งคม
ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 24
การจัดระเบียบทางสังคม

• เมือ่ พูดถึงการจัดระเบียบทางสั งคม นักเรียน


ต้ องนึกถึงเรื่อง การมีปฏิสัมพันธ์ ระหว่ างกัน
หรือมีความสั มพันธ์ ซึ่งกัน(interaction) ระหว่ าง
คน 2 คน /กลุ่ม 2 กลุ่ม

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 25


ระดับและองค์ ประกอบของการจัดระเบียบสังคม

o ความสั มพันธ์ ระดับสหบุคคล


o ความสั มพันธ์ ระดับกล่ มุ
o ความสั มพันธ์ สังคมทั้งสั งคม

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 26


ระดับและองค์ ประกอบของการจัดระเบียบสังคม
ระดับของการจัดระเบียบ องค์ ประกอบ
1.ความสั มพันธ์ ระดับสหบุคคล 1.1 รู ปแบบ (Pattern interaction)
(inter-personal) 1.2 บทบาท (role)
2. ระดับกลุ่ม 2.1 กลุ่มปฐมภูมิ
(intergroup relations) 2.2 กลุ่มทุตยิ ภูมิ
2.3 ความสั มพันธ์ ระหว่ างกลุ่ม
3. สั งคมทั้งสั งคม (Society) 3.1 รูปแบบต่ างๆของการจัดระเบียบ
ทางสั งคม
3.2 ชุมชนและสั งคมต่ างๆ
ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 27
รู ปแบบความสัมพันธ์
รู ปแบบความสั มพันธ์
• 1. ความสั มพันธ์ เชิงปฏิฐาน
• 2. ความสั มพันธ์ แบบเป็ นกลางๆ
• 3. ความสั มพันธ์ แบบนิเสธ

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 28


การจัดระเบียบทางสังคมในระดับต่ างๆ

• 1.การจัดระเบียบทางสั งคมในระดับสหบุคคล เป็ นแบบ


แผนก่ อให้ เกิดรู ปแบบพฤติกรรมทีเ่ กิดจาก
• 1.1 การให้ คาํ นิยามต่ อสถานการณ์
• 1.2 การมีระยะห่ างทางสั งคม
• 1.3 ภาวะตอบสนองต่ อกัน หรือ การรู้ จักตอบแทน
• 1.4 การมีสถานภาพและบทบาท*
ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 29
• 1.1 การให้ คาํ นิยามต่ อสถานการณ์ definition of the
situation
• - การคาดว่ าผู้อนื่ จะมีปฏิกริ ิยาต่ อพฤติกรรมของเราอย่ างไร
• เช่ น ถ้ านักเรี ยนจ้ องตาอีกคนๆหนึ่ง คนๆนั้นจะมีปฏิกริ ิ ยาอย่ างไร?

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 30


• 1.2 การมีระยะห่ างทางสั งคม (Social distance)
• - การวางตัว หรือการทีเ่ ราคิดว่ าเราจะปฏิบัตติ ่ อใครยังไง
สนิทสนม หรือถือตัว เป็ นทางการ หรือไม่ เป็ นทางการ
• - ระยะห่ างสังคม ก็ขนึ้ อยู่กบั สถานภาพของบุคคล
• นักเรี ยนลองคิดซิว่า ขณะนักเรี ยนอย่ กู บั เพือ่ น / พ่อแม่ / ครู/ คนที่
นักเรี ยนไม่ ร้ ูจกั นักเรี ยนจะวางตัวอย่ างไร

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 31


• 1.3 ภาวะตอบสนองต่ อกัน หรื อ การรู้ จกั ตอบแทนแลกประโยชน์
(reciprocity)
• - เป็ นภาวะตอบสนองซึ่งกันและกันระหว่ างบุคคลที่มีส่วนร่ วมใน
ความสัมพันธ์ ทําให้ เกิดความรู้ สึกเป็ นมิตรนําไปสู่ความร่ วมมือ
• นักเรี ยนลองคิดซิว่า นักเรียนสนิทกับเพื่อนของนักเรี ยนได้
อย่ างไร?

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 32


• 1.4 การมีสถานภาพและบทบาท
• 1.4.1 สถานภาพ (status) ตําแหน่ งทางสั งคม (รู้ว่าเราเป็ นใคร) มี 2
ประเภท
I. ติดตัวมาตั้งแต่ กาํ เนิด : ascribed status
II. สถานภาพได้ มาภายหลัง/ด้ วยความสามารถ (สถานภาพสั มฤทธิ์) :
achieved status
• สถานภาพบ่ งชี้ถงึ สิ ทธิหน้ าที่
• คนๆเดียวอาจมีหลายสถานภาพ
• สถานภาพทีส่ ํ าคัญทีม่ ผี ลต่ อการเปลีย่ นแปลงของบุคคล คือ อาชีพ

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 33


ใครมีสถานภาพ บทบาทอย่ างไร?

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 34


• 1.4 การมีสถานภาพและบทบาท(ต่ อ)
• 1.4.2 ตัวกําหนดสถานภาพ ได้ แก่
• 1) อํานาจหน้ าที่ (authority)
• 2) อํานาจ (power)
• 3) เทือกเถาเหล่ ากอ (ancestry)
• 4) ความมัง่ คัง่ (wealth)
• 5) ระดับการศึกษา (Degree of Education)
• 6) ลักษณะทางชีวภาพ (biological
characteristics)
• ฯลฯ ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 35
• 1.4 การมีสถานภาพและบทบาท(ต่ อ)
• 1.4.3 บทบาท (role) หน้ าที่ สิ ทธิ ความรับผิดชอบ ตาม
สถานภาพ เช่ นเราสามารถทํานายล่ วงหน้ าได้ เพราะบุคคลส่ วน
ใหญ่ จะแสดงบทบาทเดิมด้ วยวิธีการเดิมๆ เช่ น นักเรียนได้ ศึกษา
ในคณะแพทย์ ต่ อไปก็ต้องเป็ นหมอ(สถานภาพ) และต้ องรักษา
คนไข้ (บทบาท)
• คนหนึ่งๆ มีมากกว่ า 1 บทบาท เพราะมีหลายสถานภาพ

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 36


• 1.4 การมีสถานภาพและบทบาท(ต่ อ)
• 1.4.4 สรุปสถานภาพ-บทบาท
• 1) สถานภาพและบทบาทเป็ นสิ่ งคู่กนั โดยสถานภาพเป็ น
ตัวกําหนดบทบาท
• 2)ในคนหนึ่งๆ มีหลายสถานภาพ/บทบาท อาจนําไปสู่ conflict
role เช่ น เอและบีเป็ นเพือ่ นสนิทกันแอบรักผู้หญิงคนเดียวกัน เอ
จะเลือกใครระหว่ างหญิงที่รัก กับเพือ่ นสนิท

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 37


• 1.4 การมีสถานภาพและบทบาท(ต่ อ)
• 3) มีสถานภาพแต่ ไม่ จําเป็ นต้ องแสดงบทบาทก็ได้ เช่ น นักเรียน
โดดเรียน
• 4) บุคคลจะแสดงบทบาทของตนเพียงฝ่ ายเดียวไม่ ได้ ต้องมีคู่
แสดงบทบาทเสมอ
• 5) การแสดงบทบาทก็ควรให้ เหมาะสมกับสถานภาพ

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 38


• 2.การจัดระเบียบทางสั งคมในระดับกลุ่มเป็ นแบบ
แผนก่ อให้ เกิดรู ปแบบพฤติกรรม
• 2.1 การพยายามรักษาผลประโยชน์ ของกลุ่ม
• 2.2 การขัดแย้ งและแข่ งขัน(competition & conflict)
• 2.3 การประนีประนอม (accommodation)
• 2.4 การร่ วมมือ (cooperation)

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 39


• 3.การจัดระเบียบทางสั งคมในระดับสั งคมทั้งสั งคมเป็ นแบบแผน
ก่อให้ เกิดรูปแบบพฤติกรรม
• 3.1 ความเป็ นญาติ (kinship)
• 3.2 ความจงรักภักดี(fealty)
• 3.3 สถานภาพ(status)
• 3.4 การผูกพันโดยสั ญญา(contract)
• 3.5 การประสานงานกันอย่ างมีเหตุมผี ลหรือการจัดระบบ
ราชการ(rational coordination or bureaucracy)

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 40


บรรทัดฐาน
• 1. ความหมาย: บรรทัดฐาน (norm) คือ แบบแผนสํ าหรับประพฤติปฏิบัติ
ทีม่ มี าตรฐานถูกจัดสร้ างขึน้ มาเพือ่ ความเป็ นระเบียบเรียบร้ อยในสั งคม
(มาตรฐานความประพฤติ)
• 2. ลักษณะของบรรทัดฐาน
• 2.1 บรรทัดฐานเป็ นวิธีการหรือเครื่องมือในการควบคุมพฤติกรรมของ
บุคคลทีเ่ หมาะสม
• 2.2 บรรทัดฐานมีลกั ษณะเป็ นมาตรฐานทีบ่ ุคคลได้ รับการคาดหวังว่ าจะ
ใช้ กาํ หนดแนวทางการประพฤติของตน

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 41


• 3.ข้ อสั งเกตเกีย่ วกับบรรทัดฐาน
• 3.1 บรรทัดฐานใช้ ได้ กบั ทุกคนหรือบางคนก็ได้
• 3.2 บรรทัดฐานอาจจะได้ รับการยอมรับจากสมาชิกของกลุ่มต่ างกัน
• 3.3 บรรทัดฐานวางขอบเขตเกีย่ วกับพฤติกรรมของสมาชิกในสั งคม
• 3.4 ทุกทีม่ บี รรทัดฐานอยู่แต่ จะแตกต่ างกันไปในแต่ ละแห่ ง
• 3.5 บรรทัดฐานเกิดจากปฏิสัมพันธ์ ของกลุ่ม
• 3.6 บรรทัดฐานอาจช่ วยให้ สามารถทํานายพฤติกรรมของมนุษย์ ได้

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 42


• 4. ประเภทของบรรทัดฐาน
• 4.1 วิถชี าวบ้ าน (folk ways)
• 4.2 จารีต (mores)
• 4.3 กฎหมาย (law)

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 43


ประเภทบรรทัดฐาน
ลักษณะ วิถีประชา จารี ต กฎหมาย
ความหมาย 1.ชาวบ้านทํากันจน 1.เกี่ยวกับความดี- 1. คําสังข้
่ อห้าม
เคยชิน ชัว่ ข้อบังคับ ใช้กบั ทุก
2.ธรรมเนี ยม 2.เป็ นประเพณี คน
3.ควรทํา 3.เป็ นข้อห้าม
4.ต้องทํา

บทลงโทษ ถูกซุบซิบนินทา ถูกประณาม ขับไล่ ผิดกฎหมาย โทษ


หัวเราะเยาะ เหยียด จากกลุ่ม รุม ตามกฏหมาย
หยาม ตําหนิ ประชาทัณฑ์
ไม่เป็ นทางการ เป็ นทางการ

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 44


• ตัวอย่ าง
วิถีประชา จารี ต กฎหมาย
มารยาท แฟชัน่ ความ ความซื่อสัตย์ ความ เช่น ห้ ามค้ ายาเสพติด
คลัง่ ไคล้ สงิ่ ต่างๆ สวด เสียสละ ความเมตตา ต้ องใส่หมวกกันน็อกทุก
มนต์ก่อนนอน อาบนํ ้าวัน กรุณา ครัง้ ที่ขี่มอเตอร์ ไซด์
ละ 2 ครัง้ ไม่ทําผิดกฎหมาย

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 45


บรรทัดฐานสั งคมพิการ ภาวะสั งคมพิการ ?
เพลงมรดกเฮงซวย
“...ยังมีผ้ ูเฒ่ า ผู้ลากมากดี..มัง่ มี ซะจนล้นเหลือ
หากิน บนกะบาลคนจน...เอาแต่ ประโยชน์ ส่วนตน
สา ละวน..อยู่บนกองเงินกองทอง
ลูกหลาน บานเบ่ งเยอะแยะ....เทีย่ วแทะ โลมผู้ทุกข์ เข็ญ
ไม่ รับ รู้ ความลําเค็ญ..ช่ วยผู้อนื่ ไม่ เป็ น....ตามอุป นิสัย
คนรวยๆตายอย่ างรํ่ารวย..ปล่ อยลูกหลานเฮงซวย..รับมรดกรวยต่ อ
ต่ อแต่ นีม้ แี ต่ ลูกหลาน...ช่ วยกันผลาญให้ เพลิน...เพราะมีเงินเป็ นกระสอบ
บารมีของคนรํ่ารวย...ถึงเป็ นคนเฮงซวย..ก็ดูเป็ นคนดี ...”
ทืม่ า : http://www.gun.in.th/2012/index.php?topic=89274.0
ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 46
บรรทัดฐานสั งคมพิการ ภาวะสั งคมพิการ ?

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 47


ค่านิยม
• 1. ความหมาย : ค่ านิยม (values)แนวคิดเกีย่ วกับสิ่ งทีค่ นส่ วนใหญ่ ชอบ สนใจ
พอใจปรารถนา ต้ องการ ซึ่งมนุษย์ เชื่อและยึดถือเป็ นแนวประพฤติปฏิบัติ
• 2. หน้ าทีข่ องค่ านิยม (ค่ านิยมมีลกั ษณะค่ อนข้ างถาวร เพราะถูกปลูกฝังมา
ตั้งแต่ เด็ก)
• 2.1 ค่ านิยมมีบทบาทในฐานะเป็ นตัวตัดสิ นใจ กําหนดหรือผลักดันใน
พฤติกรรมโน้ มเอียงไปทางใดทางหนึ่ง
• 2.2 ทําให้ บุคคลสนใจเฉพาะในสิ่ งทีต่ นปรารถนา
• 2.3 คอยควบคุมความประพฤติให้ เป็ นไปตามบรรทัดฐาน
• 2.4 ทําให้ เกิดความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวในสั งคม

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 48


ค่านิยมของสังคมไทยในอดีต
1. ยึดมัน่ ในพระพุทธศาสนา
2. เชื่อเรื่องในกฎแห่ งกรรม
3. เชื่อในเรื่องวิญาณ ภูตผีปีศาจ มีความเชื่อในเรื่องอํานาจลีลบั ทีม่ อี ยู่
เหนือมนุษย์
4. ยกย่ องระบบศักดินา เป็ นความเชื่อทีว่ ่ าเป็ นผู้มบี ารมี ความรํ่ารวย
บุคคลในตระกูลสู งศักดิ์
5. เคารพผู้อาวุโส อาจหมายถึงผู้ทสี่ ู งอายุ ด้ วยคุณวุฒิและวัยวุฒิ

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 49


6. มีชีวติ อยู่กบั ธรรมชาติ
7. เชื่อถือโชคลาง
8. ต้ องการเป็ นทีย่ อมรับของสั งคม
9. ยึดมัน่ ในจารีตประเพณี ยอมรับกฎเกณฑ์ ทปี่ ฏิบัตสิ ื บทอดกันมาว่ าเป็ น
สิ่ งดีงาม และต้ องรักษาแบบแผนไว้ สืบต่ อกันไป
10. นิยมอํานาจและบารมี
11. ชอบพึง่ พาอาศัยซึ่งกันและกัน สั งคมไทยในอดีตมีความเข้ าใจไว้ วางใจ
กัน
12. พึงพอใจในสิ่ งทีต่ นมีอยู่ เป็ นการใช้ ชีวติ แบบสั นโดษ

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 50


ค่านิยมของสังคมไทยในปั จจุบนั
• 1.ยึดถือในพระพุทธศาสนา เช่ นเดียวกับในอดีต มีการศึกษา
พระธรรมวินัยอย่ างลึกซึ่ง ตลอดจนมีการปรับปรุงแก้ ไข
กฎเกณฑ์ ข้อบังคับของสงฆ์
• 2.เคารพเทิดทูนพระมหากษัตริย์ สั งคมไทยต่ างจากสั งคมชาติ
อืน่
• 3.เชื่อในเรื่องของเหตุผล ความเป็ นจริง และความถูกต้ องมากขึน้
กว่ าในอดีต

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 51


• 4.ค่ านิยมในการให้ ความรู้ ปัจจุบนั สั งคมไทยมีการแข่ งขันกัน
ตลอดเวลา การจะพาตนเองให้ รอดจากปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ในสั งคม
ได้ จําเป็ นต้ องมีความรู้ความสามารถทีโ่ ดดเด่ นจึงเป็ นสิ่ งทีค่ น
ไทยในสั งคมปัจจุบันต้ องเสาะแสวงหา
• 5.นิยมรํ่ารวยและมีเกียรติ สั งคมไทยปัจจุบนั ให้ ความสํ าคัญ
เรื่องความรํ่ารวยและเงินทอง
• 6.มีความเชื่อมัน่ ตนเองสู ง เพือ่ ปลูกฝังให้ เยาวชนไทยทุกคนกล้ า
ตัดสิ นใจและกล้ าแสดงออกทางความคิดและการกระทํามี
บุคลิกภาพเหมาะสมทีจ่ ะเป็ นผู้นําที่ดี
ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 52
• 7.ชอบแก่ งแย่ งชิงดีชิงเด่ น ลักษณะกลัวการเสี ยเปรียบ กลัวสู้
เพือ่ นไม่ ได้ เพือ่ การอยู่รอดจึงต้ องกระทําการแย่ งชิง แสวงหา
ผลประโยชน์ ให้ ตนเอง
• 8. นิยมการบริโภค นิยมบริโภคของแพง เลียนแบบอย่ าง
ตะวันตก รักความสะดวกสบาย ใช้ จ่ายเกินตัวเป็ นการนําไปสู่ การ
มีหนีส้ ิ นมากมาย
• 9.ต้ องทํางานแข่ งกับเวลา ทุกวันนีค้ นล้นงาน จึงต้ องรู้ จัก
กําหนดเวลา การแบ่ งแยกเวลาในการทํางาน การเดินทางและการ
พักผ่อน ให้ ชัดเจน
ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 53
• 10.ชอบอิสระ ไม่ ชอบอยู่ภายใต้ อาํ นาจใคร ไม่ ชอบการมีเจ้ านาย
หลายคน ในการทํางานมักประกอบอาชีพอิสระ เปิ ดกิจการเป็ น
ของตนเอง
• 11.ต้ องการสิ ทธิความเสมอภาคระหว่ างหญิงชายเท่ าเทียมกัน
• 12. นิยมการทดลองอยู่ด้วยกันก่อนแต่ งงาน
• 13. นิยมภาษาต่ างประเทศเพราะต้ องใช้ ในการติดต่ อสื่ อสารทาง
ธุรกิจและ เทคโนโลยีสมัยใหม่ ๆ ตําราหรืออินเตอร์ เน็ตมีความ
จําเป็ น

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 54


ค่านิยมของสังคมไทยที่ควรแก้ ไข
• 1. ให้ ความสํ าคัญกับวัตถุ หรือเงินตราย่ อมก่อให้ เกิดผลเสี ยได้ รับ
การดูถูกดูแคลน เป็ นที่รังเกลียดต่ อสั งคม
• 2. ยึดถือในตัวบุคคล ยกย่ องผู้มอี าํ นาจ มีเงิน
• 3. รักพวกพ้ อง รักความสนุกสนาน ความสบาย
• 4. รักความหรู หรา ฟุ่ มเฟื อย นิยมใช้ สิ้นค้าแพง
• 5. ไม่ ตรงเวลา ขาดระเบียบวินัย ขาดความกระตือรือร้ นและ
ความอดทน
ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 55
• 6. เชื่อเรื่องโชคลาง อํานาจเหนือธรรมชาติ ชอบเล่ นการพนัน
• 7. ขาดความเคารพผู้อาวุโส
• 8. นับถือวัตถุมากกว่ าพระธรรม ทําบุญเอาหน้ า หวังความสุ ขใน
ชาติหน้ า
• 9. นิยมตะวันตก ลืมภาษาไทย ซึ่งเป็ นภาษาของชาติ จนทําให้
ภาษาไทยผิดเพีย้ น
• 10. พูดมากกว่ าทํา หน้ าใหญ่ ใจโต สอดรู้ สอดเห็น เห็นใครดีไม่ ได้

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 56


ค่านิยม
• 5. ความแตกต่ างระหว่ างบรรทัดฐานกับค่ านิยม
บรรทัดฐาน ค่ านิยม
1.เป็ นแนวทางสํ าหรับปฏิบัติ 1.เป็ นทั้งแนวทางและจุดมุ่งหมาย
ปลายทาง (เพราะในทีส่ ุ ดต้ อง
ตัดสิ นใจ)
2.เป็ นตัวบงการว่ าต้ อง/ควรทําตัวเช่ น 2.ไม่ ต้องทําก็ได้ (ในบางสถานที่ เช่ น
ไรเมือ่ อยู่ในสถานการณ์ เฉพาะอย่ าง ทีบ่ ้ าน) เพราะจะไม่ ถูกตําหนิ /
ประณาม
3. เป็ นเรื่องทัว่ ไปอยู่ภายนอกตัว 3.เป็ นเรื่องส่ วนตัวอยู่ภายในตัวบุคคล
บุคคล
ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 57
การขัดเกลาทางสังคม
• 1.ความหมาย : การขัดเกลาทางสั งคม (Socialization) คือ
การเรียนรู้ เกีย่ วกับวิถชี ีวติ ของคนในสั งคม นั่นคือ การสั่ ง
สอน การอบรมบ่ มนิสัย เป็ นกระบวนการถ่ ายทอด
วัฒนธรรมจากคนรุ่นหนึ่งไปสู่ คนอีกรุ่นหนึ่ง และเป็ นการ
สร้ างบุคลิกภาพของบุคคลอีกด้ วย

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 58


• 2. ลักษณะของการถ่ ายทอดวัฒนธรรมในกระบวนการขัดเกลา
ทางสั งคม
• 2.1 การอบรมเกีย่ วกับวิถชี ีวติ
• 2.2 การอบรมเกีย่ วกับค่านิยม
• 2.3 การอบรมเกีย่ วกับบทบาทหน้ าที่และสถานภาพของบุคคล
• 2.4 การอบรมเกีย่ วกับทักษะในการประกอบอาชีพ
• 2.5 การอบรมเกีย่ วกับขนบธรรมเนียมประเพณีอนั เป็ น
เอกลักษณ์ ของสั งคม

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 59


• 3.หน่ วยของสั งคมทีท่ ําหน้ าที่ในการขัดเกลาทางสั งคม
• 3.1 ครอบครัว (มีบทบาทมากทีส่ ุ ด)
• 3.2 กลุ่มเพือ่ น (มีบทบาทด้ านการถ่ ายทอดบุคลิกภาพ >
วัฒนธรรม)
• 3.3 โรงเรียน (มีบทบาทในการถ่ ายทอดวัฒนธรรมสมัยใหม่ วิชา
ความรู้ มารยาทสั งคม)
• 3.4 สื่ อสารมวลชน (มีบทบาทต่ อวัยรุ่นอย่ างมาก)
• 3.5 สถาบันศาสนา

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 60


• 4.วิธีการขัดเกลาทางสั งคม
• 4.1 ขัดเกลาทางตรง : เป็ นทางการ(บอกสอนตรงๆ)
• 4.2 ขัดเกลาทางอ้ อม : ไม่ เป็ นทางการ (เรียนรู้ จาก
ประสบการณ์ ทพี่ บเห็น ไม่ ได้ สั่งสอนโดยตรง ซึมซับโดย
รู้ ตวั และไม่ ร้ ู ตวั )

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 61


• 5.สรุปความมุ่งหมายของการขัดเกลาทางสั งคม
• 4.1 ปลูกฝังระเบียบวินัย : เป็ นระเบียบพืน้ ฐานทีจ่ ะอยู่ร่วมกับ
ผู้อนื่ ในสั งคม
• 4.2 ปลูกฝังความคาดหวัง : ไม่ ความค่ าหวังตามค่ านิยมของ
สั งคม และคาดหวังให้ คนทําตามระเบียบ
• 4.2 กําหนดบทบาทหน้ าทีใ่ นสั งคม : เช่ น เด็ก ผู้ใหญ่
• 4.2 การให้ ทักษะความชํานาญ : การศึกษาเล่ าเรียน อบรม

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 62


โครงสร้ างสั งคมแบบหลวม (Loose Structure) ?
• คําว่ า "โครงสร้ างหลวม" เป็ นผลงานวิจัยของนักวิชาการทีช่ ื่อว่ า John
F.Embree ซึ่งได้ มาศึกษารู ปแบบทางสั งคมของไทย โดยดูจาก
พฤติกรรมต่ างๆ ความคิดเห็น ค่ านิยม ฯลฯ โดยสรุปรูปแบบทางสั งคม
ของไทยทีเ่ รียกว่ าโครงสร้ างหลวม (จาก Thailand A Loosely
Structured Social System, 1950 )

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 63


ลักษณะของโครงสร้ างหลวม
o 1.เป็ นสั งคมทีม่ ปี ัจเจกชนนิยมสู ง (Individualism) รัก
อิสระ ทําอะไรตามใจตัวเอง ซึ่งน่ าจะเกิดจากกระบวนการหล่ อหลอม
กล่ อมเกลาทางสั งคม (socialization) ทีไ่ ม่ มกี ารบังคับ และศาสนาทีเ่ ชื่อ
ว่ าตนเป็ นทีพ่ งึ่ แห่ งตน ไม่ ก้าวก่ ายกัน
o ต่ างกับญีป่ ุ่ นทีเ่ ป็ นโครงสร้ างกระชับ ปัจเจกชนไม่ มอี ทิ ธิพลมากเท่ ากับ
ชุ มชน เช่ น การซื้อทีด่ นิ ในชนบทสํ าหรับญีป่ ุ่ นไม่ ใช่ ผู้ขายจะตัดสิ นใจ
ได้ เลยต้ องให้ กรรมการหมู่บ้านช่ วยกันตัดสิ นใจว่ าจะรับคนใหม่ เข้ ามา
อยู่ในชุมชนหรือไม่

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 64


o 2. ไม่ ชอบถูกผูกมัดในระยะยาว (Long-term obligation)
แต่ จะถนัดแก้ ปัญหาเฉพาะหน้ า เรื่องเฉพาะกิจ ไม่ ชอบวางแผนระยะ
ยาว ถ้ าปัญหายังไม่ เกิดจะไม่ หาทางป้องกัน แต่ รอปัญหาเกิดแล้ วค่ อย
หาทางแก้
o 3. มีความยืดหยุ่นสู ง (Flexibility) คนไทยปรับตัวง่าย ไม่ ยดึ
อะไรตายตัว ตรงข้ ามกับฝรั่งทีม่ คี วามเข้ มงวดกวดขันสู ง (Rigidity)
o 4. เข้ าใจกฎระเบียบและกติกาทางสั งคม แต่ มกี ารละเมิด
บ่ อย และผู้ทลี่ ะเมิดกฎกติกาทางสังคมไม่ค่อยถูกสังคมลงโทษ (Low
social sanction)

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 65


ผลของการมีโครงสร้ างสั งคมหลวม
ด้ านบวก ด้ านลบ
1. อยูร่ อดได้ดี (Survival Value) 1. ไม่มีระเบียบ เพราะคนไม่ยดึ ติดกับตัว
รู ้จกั เปลี่ยนท่าที เจรจาต่อรอง บทกฎหมาย มีการฝ่ าฝื นกฎหมาย
ปรับเปลี่ยนตัวเอง ไม่ยดึ อะไร 2. ทําให้เกิดการปฏิบตั ิสองมาตรฐาน คือ
ตายตัว คนที่รู้จกั ไม่ตอ้ งปฏิบตั ิตามกฎหมาย แต่
2. มีบูรณาการทางสังคมสู ง (High ผูไ้ ม่รู้จกั จะต้องปฏิบตั ิตามกฎหมาย
social integration) จะเห็นจาก 3. ไม่มีการวางแผน ในกรณี ที่เกิดปัญหา
การมีความแตกต่างด้านชาติ 4. เป็ นปัญหาต่อการพัฒนาประเทศ เพราะ
พันธุ์ ไม่เคารพกฎหมาย มีสองมาตรฐาน และ
ไม่วางแผนหรื อการตั้งเป้ าหมาย
ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 66
บรรณานุกรม
• ชัดเจน ทีมข่าวการศึกษา. (ม.ป.ป.). ค่ านิยมของสั งคมไทยกับการเรียนการสอน
ในโรงเรียน. (online). http://chusak.igetweb.com/index.
php?mo=3&art=41929503 ,7 ธันวาคม 2554
• ฐิติกร พูลภัทรชีวนิ , 2554. (อ้างถึง จุรี วิจติ รวาทการ). โครงสร้ างหลวม (Loose
Structure) รู ปแบบทางสั งคมของไทย (online).
https://sites.google.com/site/gaiusjustthink/nida-
mpa/pa601/part2/rupbaebthangsangkhm ,17 เมษายน 2556
• ธีรวัส บําเพ็ญบุญบารมี. 2550. รู้ ปัญหาสั งคม โครงการธรรมศึกษาวิจยั
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ ราชวิทยลัย (online). www.sriprawat.net/23u.doc
, 12 พฤษภาคม 2556
ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 67
บรรณานุกรม (ต่อ)
• ณัทธนัท เลี่ยวไพโรจน์. ม.ป.ป. คัมภีร์พชิ ิตEntrance สั งคมศึกษา
ศาสนาและวัฒนธรรม. กรุ งเทพฯ: พ.ศ.พัฒนา จํากัด.
• ปฬาณี ฐิติวฒั นา. 2535. สั งคมวิทยา. กรุ งเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
• วิทยา ปานะบุตร. 2553. หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดําเนินชีวิต
ในสังคม ม.4-6. กรุ งเทพฯ: พ.ศ.พัฒนา จํากัด.
• สุ โขทัยธรรมาธิ ราช, มหาวิทยาลัย. 2547 .เอกสารการสอนชุ ดวิชา สั งคม
ศึกษา 4 .พิมพ์ครั้งที่ 6. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช.

ครูรุจน์ หาเรื อนทรง 68

You might also like