You are on page 1of 3

1

Aspects Of Tecnique
Left Hand
ปัญหาที่พบในการเล่นมือข้างซ้าย เกี่ยวกับการแยกประสาทของแต่ละนิ้วให้มีความอิสระ
การไม่สามารถเล่น Downward Slur (Pull Of) ได้ควรให้ความสาคัญในเรื่ องของความชัดเจน
ของตัวโน้ต หากเราย้อนกลับไปพิจารณาถึง ในยุค Baroque ในสมัยนั้นจะนิ ยมใช้ Lute ใน
การบรรเลง นิ้ วที่ ใช้ในการเล่ น Downward Slur (Pull Of)นั้นจะไม่ มี การเคลื่ อนไหวมาก
เสี ยงจะมี ค วามต่อเนื่ องกัน เพราะฉะนั้น ผูเ้ ล่ นควรพิ จารณาถึ งยุค สมัยและสไตล์ในแต่ ล ะยุค ว่า
ลักษณะของการเล่นเทคนิ ค Downward Slur (Pull Of) ในยุค Baroque นั้นต้องเล่นแบบใด
จึ ง จะถู ก ต้ อ ง หากจะเล่ น Slur ควรให้ ค วามส าคัญ กั บ การ Control นิ้ ว อย่ า งมาก ควรให้
ความสาคัญกับการพักสาย เพื่อไม่ให้เกิดเสี ยงที่ไม่ตอ้ งการ เป็ นการ Mute หรื อ Damp สาย และ
ควรให้ความสาคัญกับ Articulation ซึ่ งเป็ นสิ่ งที่ทาให้เสี ยง Slur เกิดคุณภาพเสี ยงที่ดี ตลอดจน
ปั จ จัย อื่ น ๆเช่ น สรี ร ะของนิ้ ว มื อ โดยธรรมชาติ นิ้ ว มื อ ของแต่ ล ะคนมี ล ัก ษณะต่ า งกัน ควรหา
Position ที่เหมาะสมกับตัวเองเพื่อคุณภาพเสี ยงที่ดี
การเล่น Upward Slur(Hummer On) ปั ญหาส่ วนใหญ่เกิดจากการใช้แรงในการเล่นมาก
จนเกินความจาเป็ น หรื อมีอาการเกร็ งนิ้ว ในการเล่นไม่จาเป็ นต้องยกนิ้วสู ง ความดังของการ Slur
ไม่ได้ข้ นึ อยูก่ บั การยกนิ้วสู ง แต่ข้ นึ อยูก่ บั ความเร็ วในการแตะสาย(Speed) มากกว่า ไม่เกี่ยวกับการ
ยกนิ้วต่าหรื อการเกร็ งนิ้ว
ในการฝึ ก Slur นั้นควรให้ความสาคัญกับนิ้ ว 3และนิ้ ว 4 ควรให้นิ้วมีการ Movement น้อย
ที่สุด และควรให้ความสาคัญกับ Articulation ของเสี ยงด้วย

Right Hand Thumb


ปัญหาที่มกั พบในการเล่นมือขวา ได้แก่
1. ข้อบกพร่ องในการเล่น Damping Bass Note ไม่คล่อง
2. ไม่สามารถเล่น Apoyando Stroke ด้วยนิ้วโป้งได้

การ Damping Tecnique


2

1.เป็ นเทคนิ คที่มีความจาเป็ นในการพัฒนาความเป็ นอิสระและความคล่องตัวของนิ้วโป้ งข้าง


ขวา เช่น การเล่นใน chord A minor Appeggioใน Position ที่ 1 ( p i a m i)ทุกครั้งที่ ดีด
สายเปล่าที่สาย 5 ให้ฝึกเล่นเป็ น staccato( A bass staccato)แล้วให้รีบยกนิ้วโป้ งขวาไปแตะกับ
สาย 6 ( เมื่ อ คล่ อ งแล้ว ให้ เปลี่ ย นไปแตะบนสายที่ 4 )โดยไม่ ใ ห้ เกิ ด เสี ย งขณะที่ นิ้ วอื่ น ๆก็ เล่ น
ตามปกติ

2. การเล่น Apoyando ( Rest Stroke ) ด้วยนิ้วโป้ งปัญหาที่พบในการเล่นเทคนิคนี้คือผู ้


เล่นไม่สามารถ control นิ้ วโป้ ง และcontrol sound ได้ ในการฝึ กไม่ได้หมายความว่าต้องเล่น
ให้เกิ ดเสี ยงดังฉู ดฉาด( loudness) ควรฝึ กเล่ นให้เกิ ดเสี ยงที่ เบา ( softly) ลึ ก (depth) การเล่ น
Apoyando ด้วยนิ้ วโป้ งนั้นมักจะไม่ค่อยเป็ นปั ญหาเท่าไรนัก แต่ปัญหาหลักๆที่มก ั พบคือเมื่อเล่น
ทั้ง Apoyando และ Tirando รวมกันที่เรี ยกว่า “Double Apoyando”

3. เทคนิค Resgueado และ Strumming เทคนิคนี้ มกั พบในเพลงแบบ Flammengo


Style ปั ญ หาที่ ม ัก พบในเทคนิ ค นี้ คื อ การ control rhytm เวลาเล่ น strumming ด้ว ยนิ้ ว ใน
ทิศทาง outward ด้วยส่ วนหลังของเล็บ จุดที่มกั จะเกิดปั ญหาอยู่ที่นิ้ว a และ m การฝึ กเทคนิ ค
Reaguado ให้ฝึกในแบบ p(up) i(down) p(down) ในจังหวะ 3 พยางค์ ในแบบ four-note ให้
ฝึ กแบบ p(up) a/m (down) i(down) p(down) โดยฝึ กช้าๆและ control rhytm ให้คงที่
4. เทคนิค Tremolando เป็ นการแนะนาการฝึ ก Tremolando ด้วยการstrumming
แบบ outward ด้วยนิ้ว m และ i ไปพร้อมๆกันและเมื่อ strumming แบบ inward ใช้นิ้ว
m และ i โดยไม่ตอ้ งให้พอ้ มกัน แบบฝึ กนี้ สามารถนาไป adapt ใช้ไดเมื่อต้องการที่จะเล่นให้
Softly

The Beginner & Good Movement


กล่าวถึงพื้นฐานสาคัญอีกอย่างของการเล่นกีตาร์ ที่เกี่ยวกับการจัดสรี ระร่ างกายที่มีผลต่อการ
เคลื่อนไหว(movement) ตั้งแต่ท่านัง่ ที่ถูกต้องจุดบกพร่ องหลายอย่างอาจมีที่มาจากการนัง่ ท่าที่ไม่
ถูกต้อง การเล่นแบบ weak sound การไม่ให้ความสาคัญกับ sound ในการเล่นความแน่ นหรื อ
ความเข้มของเนื้ อเสี ยง การหยุดของตัวโน้ต การทางานสลับกันของนิ้ วแต่ละนิ้ ว การ sight read
การไล่สเกล Dynamic ครู หลายคนทราบว่าปั ญหาเหล่านี้เกิดขึ้นกับนักเรี ยนของตนแต่ก็ไม่ทาการ
แก้ไขให้แก่นกั เรี ยน
เริ่ มต้นจากทานัง่ ที่ถูกต้อง คือนั่งริ มขอบเก้าอี้หลังตรงใหล่ตรงไม่ควรเกร็ งให้ผ่อนคลาย ขา 2
ข้างแยกออกจากกัน แต่ตอ้ งมีความ balance กันของขาทั้ง 2 ข้างในเรื่ องของน้ าหนักให้มีความ
สมดุลกัน เท้าซ้ายเหยียบ Footstool ไม่เกร็ ง ระดับ Footstool ต้องปรับระดับสู งต่าตามสรี ระ
3

ของผูเ้ ล่น ให้นกั เรี ยนถือกีตาร์โดยให้หัวของกีตาร์เฉี ยงขึ้น การจับกีตาร์ที่ถูกต้อง แขนต้องไม่เกร็ ง


ควรจัดวางข้อมือให้ถูกต้องเป็ นระเบียบ

Role And Function Of Music Analysis In Guitar Tecnique

ในบทนี้ กล่าวถึงความสาคัญของการวิเคราะห์หรื อการตีความในเทคนิ คและบทเพลงเพื่อทาให้


เกิดความเข้าใจในดนตรี อย่างแท้จริ ง ซึ่งเป็ นการเล่นที่แตกต่างจากการเล่นโดยใช้ “สัญชาติญาณ”
(instinct) ซึ่งเป็ นการเล่นโดยอาศัยความรู ้สึก ที่ไม่ค่อยจะให้คาอธิบายในการเล่นได้อย่างกระจ่าง
ชัดแจ้ง ต่างจากการเล่นที่มาจากการวิเคราะห์ซ่ ึ งผูเ้ ล่นสามารถที่จะเล่นได้ดว้ ยความเข้าใจออกมา
จากความคิดของตัวเองอย่างมีระบบมากกว่า ซึ่ งเป็ นสิ่ งที่ผูส้ อนควรปลูกฝังและสอนให้นักเรี ยน
เห็นความสาคัญของการวิเคราะห์เพลง
ในการวิเคราะห์น้ นั มีหลายวิธีดว้ ยกันซึ่ งต้องอาศัยความรู ้ และความชานาญในเรื่ องของทฤษฎี
และประวัติดนตรี แต่อย่างไรก็ตามการวิเคราะห์น้ นั จะอาศัยเพียงการอ่าในตาราอย่างอย่างเดียวคง
ไม่เพียงพอที่จะทาให้เกิดความรู ้ความเข้าใจอย่างถ่องแท้ หากไม่มีการปฏิบตั ิให้เกิดความเข้าใจไป
กับการวิเคราะห์ในตาราด้วยพร้อมๆกัน
การวิเคราะห์ที่ดีน้ นั ควรจะแบ่งรายละเอียดตามลาดับขั้นตอน และความสาคัญของรายละเอียด
ตามลาดับ(step by step) เช่นลาดับแรกควรเริ่ มวิเคราะห์จาก movement ,section,phrases,
Half phrases ,cadence ฯลฯ ตามลาดับอย่างถูกต้อง หลังจากนั้นควรวิเคราะห์เพื่อหาความเป็ น
อันหนึ่ งอันเดียวกันในบทเพลงโดยวิเคราะห์ในหลายๆมิติ เพื่อให้ทราบความเป็ นเอกลักษณ์ ของ
เพลงนั้นๆ
จากทั้งหมดที่กล่าวมาแล้วนั้นชี้ให้เห็นความสาคัญของการวิเคราะห์และแนวทาง แต่ที่ตอ้ งพึง
เข้าใจว่าการวิเคราะห์ ที่ดีน้ นั ไม่ใช่เป็ นการวิเคราะห์แบบท่องจา จะไม่เกิดประโยชน์แก่ผูว้ ิเคราะห์
เลย ซึ่ งต่างจากการวิเคราะห์ดว้ ยการทาความเข้าใจในรายละเอี ยดอย่างลึกซึ้ ง และสามารถนาเอา
หลักการหรื อแนวคิดต่างๆไปใช้ในการวิเคราะห์บทเพลงอื่นๆได้โดยที่ไม่ตอ้ งย้อนกลับมาศึกษา
หรื อทบทวนใหม่อีกครั้ง.

You might also like