You are on page 1of 4

สิ่งที่เป็ นเอกลักษณ์ที่ทำให้ คนเรี ยกการแสดงโขนชนิดนี ้ว่า โขนนัง่

ราว ก็คือ "ราว" ตรงหน้ าฉากห่าง ออกมาประมาณ ๑ วาจะมีราวไม้


กระบอก พาดตาม ส่วนยาวของโรง ตังแต่ ้ ขอบประตูด้านหนึง่ จรดขอบ
ประตูอีกด้ านหนึง่ ตัวโขนที่เป็ นตัวเอกของเรื่ องจะนัง่ บนราวไม้ กระบอกนี ้
แทนการนัง่ เตียง เพราะโขนนัง่ ราวไม่มีเตียงตัง้ เกี่ยวกับเรื่ องเตียงนี ้ ครู
อาคม สายาคม เคยเล่าให้ ผ้ เู ขียนฟั ง เมื่อครัง้ ที่ท่านยังมีชีวิตอยูว่ า่ โขนนัง่
ราว ก็มีเตียงตังเหมื
้ อนกัน สำหรับ ให้ ตวั นางนัง่ แต่ทา่ นผู้ร้ ู ก็แย้ งว่า โขนนัง่
ราวไม่มีตวั นาง เพราะฉะนัน้ จึงไม่ต้องมีเตียง ให้ ตวั นางนัง่ ผู้เขียนเคยอ่าน
พบเกี่ยวเรื่ องการแสดงโขน ในสมัยรัชกาลที่ ๗ ที่จดั แสดงโขน แบบโขน
โขนนัง่ ราว นี ้ มีช่ อ
ื เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า โขน หน้ าจอผสมกับโขนนัง่ ราว จึงมีทงั ้ ราวไม้ กระบอกและเตียง สำหรับนัง่ ด้ วย
กัน
โรงนอก เป็ นการแสดงโขนที่ วิวัฒนาการมา
จาก โขนกลางแปลง ซึง่ แสดงบนพื้นดินกลาง
สนามหญ้า มีต้นไม้และใบไม้ เป็ นฉากธรรมชาติ
เมื่อการ แสดง โขนกลางแปลง วิวัฒนาการมา
เป็ น โขนนั่งราว หรือ โขนโรงนอก ก็มีการปลูก
โรงให้เล่นเป็ นแบบ เวทียกพื้น มีความกว้างยาว
แบบสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีหลังคากันแดด กันฝน
ด้วย ตรงด้านหลังของเวที ระหว่างที่พักผูแ
้ สดง
ราวไม้ กระบอก ที่พาดอยูห่ น้ าจอโขนนัง่ ราวนี ้ จะต้ องทำ
ขาหยัง่ สูง ประมาณ ครึ่งเมตร ตังรั้ บไม้ กระบอก เป็ นระยะ ๆ เพื่อให้ การแสดงโขนนัง่ ราวก็ต้องมีวงปี่ พาทย์เหมือนกันกับโขนประเภท
ไม้ กระบอก ทรงตัวอยู่ และสามารถ รับน้ำหนักตัวโขน ที่นงั่ ลงไปได้ ถึง อื่น และด้ วยรากฐานวิวฒ ั นาการที่มาจากโขนกลางแปลง ทำให้ โขนนัง่
กระนันเวลา
้ ตัวโขนหลาย ๆ คนนัง่ ลงไปบน ราวไม้ กระบอกในเวลา ราวเป็ นโขนที่มีเพียงบทพากย์เจรจา แต่จะไม่มีบทร้ อง โขนประเภทนี ้จึงมี
เดียวกัน ไม้ กระบอกก็สง่ เสียง ดังลัน่ ออดแอด ๆ ได้ ยินไปถึงผู้ชม แต่เพียงเพลงหน้ าพาทย์ไม่ต้องรับร้ อง และเพื่อให้ วงปี่ พาทย์เห็นตัวผู้
เอกลักษณ์ที่สำคัญอีกอย่างหนึง่ ของโขนนัง่ ราว ก็คือ ผู้แสดงโขน ทุก แสดงชัดเจนมากขึ ้นต้ องมีการจึงต้ องมีการยกพื ้นสูงกว่าเวทีเพื่อให้ ผ้ ู
คน จะต้ องสวมหัวโขน ปิ ดหน้ าทังหมด
้ แม้ แต่ตวั พระราม พระลักษณ์ บรรเลงสามารถมองเห็นการแสดงได้ วงปี่ พาทย์นนจะตั ั ้ งเป็
้ น 2 วง ทาง
ยกเว้ นแต่ ตัวนางเท่านัน้ ด้ านซ้ ายหนึง่ วง ด้ านขวาหนึง่ วง เรี ยกว่าเป็ นวงหัว วงท้ าย วงซ้ าย วงขวา
ปี่ พาทย์สองวงจะสลับกันบรรเลงจนจบการโหมโรง เครื่ องดนตรี อีกชนิด
หนึง่ ที่ขาดเสียไม่ได้ ในการแสดงโขนนัง่ ราว ก็คือ “โกร่ง” ลักษณะของโกร่ง
จะเป็ นไม้ กระบอกยาวประมาณเมตรครึ่ง เจาะรูเป็ นระยะๆ เพื่อให้ เกิด
ความโปร่ง โกร่งนี ้ตังอยู
้ บ่ บนขาหยัง่ เตี ้ยๆ ใช้ ไม้ กรับตีไปบนไม้ กระบอก
เมื่อเวลาเล่นไม้ กระบอกจะได้ ไม่เคลื่อนที่การตีโกร่งเพื่อให้ เกิดความ
สนุกสนานทังผู ้ ้ แสดงและผู้ชม ซึง่ เดี๋ยวนี ้ไม่คอ่ ยมีการนำเอาโกร่งออกมาตี
กันประกอบกันแล้ ว

จารี ตในการแสดงโขน
 จารี ตในการแสดงโขน
ฝ่ ายพลับพลาหรื อฝ่ ายพระรามจะออกทาง
ประตูด้านขวาของเวที พระรามจะนัง่ บนราวริ มสุดด้ าน
ขวา พระลักษณ์และไพร่พลจะนัง่ หันหน้ าไปทางขวา
ฝ่ ายลงกาหรื อฝ่ ายยักษ์ จะออกทางประตูด้านซ้ ายของ
เวที ทศกัณฐ์ จะนัง่ บนราวริมสุดด้ านซ้ าย ยักษ์ ตวั อื่น ๆ
จะหันหน้ าไปทางซ้ าย จารี ตเรื่ องซ้ ายขวานี ้ใช้ กบั การ
แสดงโขนทุกชนิด ตำแหน่งของผู้แสดง ทางด้ านขวามือ
บนเวที เป็ นตำแหน่งของฝ่ ายธรรมะหรื อฝ่ ายชนะ ส่วน
ตำแหน่งทางด้ านซ้ ายมือบนเวที เป็ นตำแหน่งของฝ่ าย
อธรรม หรื อฝ่ ายแพ้

จัดทำโดย
คำนำ
1. นายต้ องครรลอง พิลาจันทร์ เลขที่ 2
สมุดเล่มเล็กนี ้เป็ นส่วนหนึง่ ของรายวิชานาฏยศิลป์ไทย
(ศ 32102) จัดทำขึ ้นเพื่อเสริมความรู้ความเข้ าใจเรื่ องโขนนัง่ ราว 2. นายปิ ยณัฐ หงส์ทอง เลขที่ 4

You might also like