You are on page 1of 6

แบบฝึ กหัด (กรุณาอธิบายอย่างละเอียด )

การละครไทย ประวัตก ิ ารละครไทย


ละครไทยแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
         1. ละครรำ เป็ นละครประเภททีใ่ ชศ้ ล
ิ ปะการร่ายรำดำเนินเรือ
่ ง มี
การขับร ้องและเจรจา เป็ นกลอนบทละคร ละครรำแบ่งออกเป็ น 2 ชนิด
คือ
          1.1 ละครรำแบบดงเดิ
ั้ ม ( ละครรำโบราณ ) ได ้แก่
          ละครโนห์รา - ชาตรี ถือว่าเป็ นต ้นแบบของละครรำ นิยมใช ้
ผู ้ชายแสดง มีตวั ละคอน 3 ตัว คือ ตัวพระ ตัวนาง และเบ็ดเตล็ด ( เป็ น
ตลก , ฤษี ฯลฯ ) เรือ ่ งทีเ่ ล่นคือ “ มโนห์รา ” ตอน จับนางมโนห์รามา
ถวายพระสุธน การแสดงเริม ่ ด ้วยการบูชาครูเบิกโรง ผู ้แสดงออกมารำ
ซด ั ไหว ้ครู โดยร ้องเอง รำเอง ตัวตลกทีน ่ ั่งอยูเ่ ป็ นลูกคูเ่ มือ
่ ร ้องจบจะมี
บทเจรจาต่อ
           ละครนอก ดัดแปลงมาจากละครโนห์รา - ชาตรี เป็ นละครทีเ่ กิด
ขึน้ นอกพระราชฐาน เป็ นละครทีค ่ นธรรมดาสามัญนิยมเล่นกัน ผู ้แสดง
เป็ นชายล ้วน ไม่มฉ ี ากประกอบ นิยมเล่นกันตามชนบทท่ารำและเครือ ่ ง
แต่งกายไม่คอ ่ ยพิถพี ถ
ิ ัน เรือ ้
่ งทีใ่ ชแสดงละครนอกเป็ นเรือ่ งจักร ๆ วงศ ์
ๆ เชน ่ สงั ข์ทอง มณีพช ั ไกรทอง สงั ข์ศล
ิ ย ิ ป์ ชย
ั โม่งป่ า พิกล
ุ ทอง
การะเกด เงาะป่ า ฯลฯ การแสดงดำเนินเรือ ่ งรวดเร็ว โลดโผน ในบาง
ครัง้ จะพูดหยาบโลน มุง่ แสดงตลก ใชภาษาตลาด ้ และไม่คำนึงถึง
ขนบธรรมเนียมประเพณี
          ละครใน เป็ นละครทีพ ่ ระมหากษั ตริยท
์ รงดัดแปลงมาจากละคร
นอก ใชผู้ ้หญิงแสดงล ้วน และแสดงในพระราชฐานเท่านัน ้ การแสดง
ละครในมีความประณีตวิจต ิ รงดงาม ท่ารำต ้องพิถพ ี ถ
ิ ันให ้มีความอ่อน
ชอย ้ เครือ ่ งแต่งกายสวยงาม บทกลอนไหเราะ สำนวนสละสลวยเหมาะ
สมกับท่ารำ เพลงทีใ่ ชขั้ บร ้องและบรรเลงต ้องไพเราะ ชา้ ไม่ลก ุ ลน
เรือ ้
่ งทีใ่ ชแสดงมี 3 เรือ
่ ง คือ อิเหนา รามเกียรติ์ และอุณรุท

   ละครชาตรี เรือ
่ ง
ละครนอก เรือ
่ ง ละครใน เรือ่ ง
มโนราห์ ตอน
ไชยเชษฐ์ ตอน อิเหนา ตอน
เลือกคู่
นางแมวเย ้ยซุม้ อิเหนาสงั่ ถ้ำ
1.2 ละครรำทีป ้ ได ้แก่
่ ร ับปรุงขึน
          ละครดึกดำบรรพ์ เกิดขึน
้ ในสมัยรัชกาลที่ 5 นำแบบอย่างมา
จากละครโอเปร่า (Opera) ของยุโรป ลักษณะการแสดงละคร
ดึกดำบรรพ์ คือ ผู ้แสดงร ้องและรำเอง ไม่มกี ารบรรยายเนือ
้ ร ้อง ผู ้ชม
ต ้องติดตามฟั งจากการร ้องและบทเจรจาของผู ้แสดง
          ละครพ ันทาง เกิดหลังละครดึกดำบรรพ์ เป็ นละครรำแบบละคร
นอกผสมละครในมีศล ิ ปะของชาติตา่ ง ๆ เข ้ามาปะปนตามท ้องเรือ
่ ง ทัง้
ศล ิ ปะการร ้อง การรำ และการแต่งกาย ผสมกับศล ิ ปะไทย โดยยึดท่ารำ
ไทยเป็ นหลัก นิยมแสดงเรือ ่ ง ราชาธิราช พระลอ สามก๊ก พญาน ้อย
ฯลฯ
          ละครเสภา เป็ นละครทีดำ
่ เนินเรือ
่ งด ้วยการรำประกอบบทร ้อง
และบทขับเสภา มีเครือ ่ งประกอบจังหวะพิเศษคือ “ กรับเสภา ” เรือ่ งที่
นิยมแสดงคือ ขุนชาง ้ - ขุนแผน ไกรทอง

ละครดึกดำบรรพ์
เรือ ื ง
่ ง นางเสอ
ตอน สบาดโขลญ

ละครพันทาง เรือ
่ ง ละครเสถา เรือ
่ ง
พญาผานอง ตอน ้ นแผน
ขุนชางขุ
นางคำปิ นขอฝน ตอน พลายยงนั่ง
 2. ละครทีป
่ ร ับปรุงขึน ่ ะครรำ ) ได ้แก่
้ ใหม่ ( ไม่ใชล
          2.1 ละครร้อง เกิดขึน ้ ในสมัยรัชกาลที่ 5 ดำเนินเรือ
่ งด ้วยการร ้อง
ไม่มท ี า่ รำ ผู ้แสดงจะต ้องร ้องเอง เรือ
่ งทีน
่ ย
ิ มแสดงคือ ตุก
๊ ตายอดรัก
สาวเครือฟ้ า ขวดแก ้วเจียระไน
ั ต คล ้ายละครร ้อง ต่างกันทีล
           2.2 ละครสงคี ่ ะครสงั คีตถือบทร ้อง
และบทเจรจาเป็ นสำคัญ เท่ากัน จะตัดอย่างใดอย่างหนึง่ ออกไม่ได ้
          2.3 ละครพูด ดำเนินเรือ
่ งด ้วยการพูด ไม่มก
ี ารร ้อง ผู ้แสดงพูด
เอง เป็ นต ้นแบบของละครวิทยุ ละครเวที และละครโทรทัศน์ในปั จจุบน ั

ละครร ้อง เรือ


่ ง
สาวเครือฟ้ า ตอน
พบรัก

ละครสงั คีต เรือ


่ ง ละครพูด เรือ
่ ง
หงสท ์ อง พระร่วง ตอน
นักคุ ้มทวงสว่ ยน้ำ
๓. โขนเกิดจากการแสดงทีพ ่ ัฒนามาจากการแสดง
ประเภทใดบ้าง อธิบายอย่างละเอียด
“โขน” เป็ นมหรสพชน ั ้ สูงทีใ่ ชแสดงในงานสำคั
้ ญๆมาแต่ครัง้ กรุง
่ เดียวกับหนังใหญ่เชอ
ศรีอยุธยาเชน ื่ กันว่ามีมาตัง้ แต่โบราณประมาณก่อน
พุทธศตวรรษที่ 16 โดยสน ั นิษฐานว่า “โขน” ได ้พัฒนามาจากการแสดง 3
ประเภท คือ

การแสดงชกนาคดึ
กดำบรรพ์
เป็ นการละเล่นอย่างหนึง่ ของไทย มีมาตัง้ แต่สมัยโบราณ เป็ นการแสดง
“เรือ
่ งการชกั นาค” เพือ
่ เอาน้ำอมฤตจากเกษี ยรสมุทร ตามคติของฮน ิ ดู มักจะ
แสดงในงานมหรสพหลวง การละเล่นชก ั นาค มีกล่าวไว ้ในกฎมณเฑียรบาล
สมัยกรุงศรีอยุธยา ตอนทีก ่ ล่าวถึงพระราชพิธอ ี น
ิ ทราภิเษกว่า มีการตัง้ เขา
พระสุเมรุและภูเขาอืน่ ๆ ทีก ่ ลางสนาม แล ้วให ้ตำรวจเล็กแต่งตัวเป็ นอสูร 100
ตน มหาดเล็กแต่งตัวเป็ นเทวดา และวานรอย่างละ 100 และแต่งเป็ นสุครีพ
พาลี และมหาชมพูอย่างละหนึง่ ตัว เข ้าขบวนแห่ พร ้อมด ้วยเครือ ่ งทำพิธช ั
ี ก
นาคดึกดำบรรพ์ โดยให ้อสูรชก ั หัว เทวดา และวานรชก ั หาง
ิ ปะการแสดงจากแบ่งฝ่ ายการเล่นและ
ด ้วยเหตุนโี้ ขนจึงได ้นำเอาศล
ศลิ ปะการแต่งกายมาจากการเล่นชก ั นาคดึกดำบรรพ์ ซงึ่ ลักษณะการแต่งกาย
ในการแสดงโขนนัน ้ ตัวละครแบ่งออกเป็ น 3 ฝ่ าย คือ ฝ่ ายยักษ์ ฝ่ ายลิง ฝ่ าย
มนุษย์ และเทวดา ซงึ่ แต่ละฝ่ ายจะแต่งกายตามแบบทีเ่ รียกว่า “ยืนเครือ ่ ง”
ทุกตัว แต่จะลดหลัน ่ ความงดงามไปตามฐานะของตัวละครในเรือ ่ ง ตัวสำคัญ
จะแต่งกายคล ้ายคลึงกัน แต่ตา่ งกันทีส ่ ข ี องเครือ
่ งแต่งกายและลักษณะของ
หัวโขน เครือ ่ งแต่งกายฝ่ ายมนุษย์ และเทวดาจะเป็ นการแต่งกายแบบยืน
เครือ
่ ง ตัวละครทีสำ ่ คัญมากจะระบุสเี สอ ื้ อย่างชด ั เจน

ภาพจิตรกรรมลายรดน้ำบนฉากกัน การจำลองการแสดงชก ั
พระทีน ิ มหาปราสาท เขียน
่ ั่งดุสต นาคดึกดำบรรพ์ ในพระ
รูปพระราชพิธอ ี น
ิ ทราภิเษก ราชพิธอ
ี น
ิ ทราภิเษก
การแสดงกระบีก
่ ระบอง
เป็ นกีฬา การแสดงสาธิต และการต่อสูป้้ องกันตัว จะต ้องฝึ กให ้มีความ
เชย ี่ วชาญกับการใชอาวุ ้ ธของไทยหลายชนิดในกระบวนท่าต่างๆ ไว ้สำหรับ
ป้ องกันตนเองและประเทศชาติ อีกทัง้ เป็ นการประชน ั กันในเชงิ ฝี มือไหวพริบ
ในการต่อสู ้ การหลอกล่อ หลบหลีก ยั่วยุคตู่ อ่ สู ้ จากลีลาท่าทางเหล่านี้ โดย
ทำเลียนแบบอาวุธจริง เป็ นไม ้ โลหะ หนังสต ั ว์ เชน ่ ดาบ หอก ง ้าว ดัง้ เขน
โล่ ไม ้ศอกสน ั ้ เป็ นต ้น
การแสดงโขนในสมัยโบราณน่าจะรับเอาแบบอย่างทีใ่ ชในศ ้ ลิ ปะการ

ต่อสูมาปรั บปรุงประดิษฐ์เป็ นท่าทางของการเต ้น การเยือ
้ งกราย และเป็ น

ท่าทางร่ายรำของการต่อสูในการแสดงโขน

การจำลองการแสดง การแสดงกระบีก ่ ระบอง ชว่ ง


ต ้นกรุงรัตนโกสน ิ ทร์
กระบีก
่ ระบอง
การแสดงหน ังใหญ่
เป็ นมหรสพทีแ ่ พร่หลายของคนไทยอีกอย่างหนึง่ ตัวหนังจะใช ้
แผ่นหนังวัวฉลุเป็ นรูปตัวละครในเรือ ่ งรามเกียรติ์ และมีไม ้ผูกทาบตัว
หนังไว ้ทัง้ สองข ้าง เพือ่ ให ้ตัวหนังตัง้ ตรงไม่งอ และทำให ้มีคน ั ยืน
่ ลง
มาใต ้ตัวหนังเป็ นสองข ้างสำหรับจับถือ และยกได ้ถนัด สถานทีเ่ ล่น
จะปลูกโรงผ ้าใชผ้ ้าขาวคาดเป็ นจอ สว่ นด ้านหลังจอจะจุดไต ้และก่อ
ไฟไว ้ เพือ ่ ให ้แสงทำให ้เห็นเงาตัวหนังซงึ่ มีลวดลายวิจต ิ รมาติดอยูท ่ ี่
จอผ ้าขาว และการเชด ิ นัน
้ คนเชด ิ ต ้องเต ้นไปตามจังหวะดนตรีและ
บทพากย์บทเจรจาด ้วย
ซงึ่ การแสดงโขนนัน
้ ก็มก
ี ารพากย์ เจรจา การขับร ้อง การเต ้น
และรำ ทำท่าตามบทพากย์ และตามเพลงหน ้าพาทย์ จึงเห็นได ้
ว่าการแสดงโขนได ้รับอิทธิพลด ้านศลิ ปะการแสดงจากการแสดง
หนังใหญ่

การแสดงหนังใหญ่ไฟ
กะลา คณะวัดขนอน

การแสดงหนังใหญ่ไฟ
กะลา คณะวัดขนอน

You might also like