You are on page 1of 4

นาฏศิลป์พื้นเมือง การแสดงพื้นเมือง ฟ้อนเทียน

ภาคเหนือ
จัดทำโดย ฟ้อนเจิง
นาย พชรพล ธนวงศ์จินดา เป็นการฟ้อนของชาวไทยภาค
ม.5/9 เลขที่9 เป็นนาฏกรรมที่สะท้อนรูปแบบศิลปวัฒนธรรมอย่างหนึ่งของ เหนือ ผู้ฟ้อนถือเทียนจุดไฟมือละ
คนไทยทางภาคเหนือที่นำเอาเรื่องราวของศิลปะป้องกันตัวซึ่ง เล่มทั้งสองมือตามปกติใช้ ฟ้อนใน
เสนอ
เมื่อครั้งอดีตผู้ชายชาวล้านนามักจะมีการแสวงหาเรียนรู้ ที่กลางแจ้ง ในเวลากลางคืน ความ
ครูปวิญชา เนียมคำ “เจิง” เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการป้องกันภัยให้กับตัวเอง สวยงามอยู่ที่ใช้ผู้ฟ้อนเป็นจ านว
นมาก และแสงเทียนที่เป็น
สูติบัตรนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชานาฎศิลป์ ประกาย ขณะที่เคลื่อนไหวไปตาม
ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา2566 ลีลาของเสียงเพลง การฟ้อนนี้แต่
โรงเรียนโยธินบูรณะ เดิมมาคงใช้เป็นการฟ้อนสักการะ
บูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และพิธีส าคัญใน
คุ้มเจ้าหลวง
การแสดงพื้นเมือง
ภาคกลาง
รำกลองยาว

รำเหย่ย การรำกลองยาว มีชื่อเรียกหลายชื่อ เช่น เถิดเทิง


เทิ่งบองกลองยาว สันนิษฐานว่าแต่เดิมเป็นการ
เล่นของพวกทหารพม่าในสมัยที่มีการต่อสู้กัน
เป็นการละเล่นพื้นเมืองอย่างหนึ่งของไทย
ที่นิยมเล่นกันในบางหมู่บ้าน บางท้องถิ่น
ปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา และเข้าใจว่าคนไทยนำมา
รำเเม่ศรี
เล่นในสมัยกรุงธนบุรี เพราะจังหวะสนุกสนานเล่น
ของภาคกลางนอกตัวจังหวัดเท่านั้น ไม่สู้ ง่าย เครื่องดนตรีก็คล้ายของไทยและจังหวะก็ปรับ รำแม่ศรี แม่ศรีเป็นการเล่นพื้นเมือง ซึ่งมี
จะแพร่หลายนัก การละเล่นประเภทนี้ดู มาเป็นแบบไทย ๆ เพื่อประกอบการรำ แต่การแต่ง
มาแต่โบราณ นิยมเล่นกันทั่วไปในภาค
แทบจะสูญหายไป กรมศิลปากรได้ กายยังคงคล้ายรูปแบบของพม่า เช่น โพกหัวแบบ
พม่า นุ่งโสร่ง เสื้อคอกลมแขนกว้าง กลาง การเล่นแม่ศรีเป็นการเล่นทำนองเข้า
พิจารณาเห็นว่าการเล่นรำเหย่อยมี
แบบแผนการเล่นที่น่าดูมาก ควรรักษาให้
ทรง โดยผู้เล่นที่เป็นตัวแม่ศรีจะต้องทำ
ดำรงอยู่และแพร่หลายยิ่งขึ้น กิริยาเหมือนแม่ศรีมาเข้าทรงสั่นและร่ายรำ
ตามทำนอง
เซิ้งสวิง
การแสดงพื้นเมือง
ภาคอีสาน
เซิ้งโปงลาง
ฟ้อนภูไท
เซิ้งโปงลาง เป็นการแสดงของชาวไทย วันนี้จะนำท่านไปรู้จักกับ “ฟ้อนภูไท”
ภาคอีสาน นิยมเล่นกันมากในจังหวัด ฟ้อนภูไทเป็นการแสดงชุดหนึ่งที่มีชื่อ
กาฬสินธุ์ หรือที่นิยมเรียกกันว่า เสียงของภาคอีสาน เนื่องจากเป็นการ
การฟ้อนรำที่จำลอง หรือเล่าเรื่อง
(กาฬสินธุ์ถิ่นโปงลาง) การแสดงจะมีทั้ง แสดงของชนกลุ่มน้อยในภาคอีสานตอน ราวการหาสัตว์น้ำของชาวบ้าน โดยใช้
หญิงและชาย ใช้ท่ารำที่ประดิษฐ์ขึ้นตาม เหนือ บริเวณดินแดนแถบเทือกเขาภูพาน สวิงเป็นอุปกรณ์หรือเครื่องมือ แสดงคู่
ทำนองเพลง อันเกิดจากความบันดาลใจ ซึ่งอยู่ในเขตจังหวัดมุกดาหาร อุดรธานี ชาย-หญิง ก็ได้ หรือ แสดงเพียงผู้
ด้วยลีลาแคล่วคล่องว่องไว ใช้ดนตรี กาฬสินธุ์ สกลนคร นครพนม และจังหวัด หญิงเท่านั้น ก็ได้เซิ้งสวิงมีการประยุกต์
โปงลาง ใกล้เคียงจะมีคนไทยเผ่าต่าง ๆ อาศัย กันมาเรื่อยๆ และในปี พ.ศ. 2515 ได้มี
การปรับปรงให้มีท่วงท่ากระฉับกระเฉง
กระจัดกระจายอยู่ทั่วไป
ขึ้น ท่าฟ้อนจะแสดงให้เห็นถึงการออก
ไปหาปลา การช้อนปลา จับปลา และดี
อกดีใจเมื่อหาปลาได้มากๆ ผู้แสดงฝ่าย
หญิงจะเป็นผู้ถือสวิงไปช้อนปลา ส่วน
ฝ่ายชายจะน้ำข้องไปคอยใส่ปลาที่ฝ่าย
หญิงจับได้
การแสดงพื้นเมือง
ภาคใต้

รำโนรา
มโนราห์เป็นศิลปะการแสดงพื้นบ้านของ
ปาเต๊ะ ภาคใต้ที่นิยมเล่นสับ ทอดกันมายาวนาน
ไม่น้อยกว่า ๔๐๐ ปี หรือราวพุทธ ตารีกีปัส
เป็นระบำที่ประดิษฐ์ขึ้น โดยอาจารย์ดรุณี ศตวรรษที่ ๑๕ เป็นการละเล่นที่มีทั้งการ
ร้อง การรําและมีท่ารําที่อ่อนช้อย เป็นศิลปะการแสดงระบำพื้นเมืองที่เป็น
สัจจากุล แห่งภาควิชานาฏศิลป์ วิทยาลัย
สวยงามเป็นการร่ายรําและรับร้องที่ วัฒนธรรมร่วมของทางภาคใต้ของ
ครูยะลา ได้ประดิษฐ์ขึ้นเมื่อปี พ.ศ.
งดงามเป็นเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น มีดนตรี ประเทศไทย มาเลเซีย และซูลาเวซีใต้ของ
2523. ระบำปาเต๊ะ ได้นำเอาขั้นตอนการ
เป็นลูกเล่นรับ-ส่งตลอดการแสดง ผู้รำโน อินโดนีเซีย ที่ใช้พัดประกอบการแสดง
ทำผ้าปาเต๊ะมาประยุกต์ ดัดแปลงเพื่อ ราสวมครื่องแต่งกายที่ทําด้วยลูกปัด ประกอบกับเพลงที่มีความไพเราะน่าฟัง ลีลา
ประกอบเข้ากับท่าเต้นรำของการแสดง หลากสี ท่ารำจึงอ่อนช้อย และเป็นการแสดงที่แพร่
พื้นเมืองภาคใต้ โดยจะเริ่มจากการแบก หลายในหมู่ชาวไทยมุสลิม โดยเฉพาะใน
ภาชนะใส่ จังหวัดปัตตานี นอกจากนั้นยังได้นำไปเผย
แพร่ยังต่างประเทศ ในงานมหกรรมพื้นบ้าน
โลกอีกด้วย

You might also like