You are on page 1of 21

การแสดงพืน

้ เมือง 4 ภาค
เซิ ้งกระติ๊บ

• ป็ นการแสดงของภาคอีสานทีเ่ ป็ นทีร่ ู ้จักกันด


และแพร่หลายทีส ่ ด
ุ ชุดหนึง่ จนทำให ้คน
ทั่วไปเข ้าใจว่าการแสดงของภาคอีสาน
มีลก ั ษณะเป็ นการรำเซงิ้ เพียงอย่างเดียว
เซงิ้ กระติบข ้าวได ้แบบอย่างมาจากการเซงิ้
บัง้ ไฟซงึ่ แต่เดิมเซงิ้ อีสานจริงๆ
ไม่มท ี า่ ทางอะไรมีแต่กน ิ เหล ้ายกมือไม ้สะ
เปะสะปะให ้เข ้ากับจังหวะเสย ี งกลองไป
ตามใจ
(มีผู ้นิยามว่า ฟ้ อนตามแบบกรมสรรพสามิต)
โดยไม่ได ้คำนึงถึงความสวยงามนอกจากให ้
เข ้าจังหวะกลอง
ตบมือไปตามฤทธิเ์ หล ้าในราว พ.ศ. 2507
สมเด็จพระราชน ิ น
ี าถต ้องการแสดงของภาค
อีสาน
เพือ ่ ต ้อนรับสมเด็จพระนางเจ ้าอะเลียนา และ
เจ ้าหญิงบีทริกซ ์ แห่งประเทศเนเธอแลนด์
เซิ ้งแหย่ไข่มดแดง

• เซงิ้ แหย่ไข่มดแดง”
ซงึ่ มีความสนุกสนาน
เร ้าใจในแบบศล ิ ปการ
แสดงแบบชาวอีสาน
ซงึ่ ได ้แสดงออกถึง
การออกไปหาไข่
มดแดง ซงึ่ ได ้มาอย่าง
ยากลำบาก ทัง้ ต ้องถูก
มดแดงกัดหรือไต่ตาม
เสอ ื้ ผ ้า การกวนแยก
ตัวมดแดงออกจากไข่
ทำให ้ชุดการแสดงนี้
บอกเล่าวิธก ี ารได ้
ฟ้อนเล็บ
• ฟ้ อนเล็บฟ้ อนเล็บเป็ นศล ิ ปะการแสดงทีเ่ ป็ นเอกลักษณ์ทาง
ภาคเหนือโดยเฉพาะรูปแบบการฟ้ อนมีอยู่ 2 แบบ คือแบบ
พืน้ เมืองหรือฟ้ อนเมือง และแบบคุ ้มเจ ้าหลวง กระบวนท่ารำ
เป็ นลีลาท่าฟ้ อนทีม ่ คี วามงดงามเชน ่ เดียวกับฟ้ อนเทียน
เพลงแต่ไม่ถอ ื เทียน นิยมฟ้ อนในเวลากลางวัน สำหรับชอ ื่
ชุดการแสดงจะมีความหมายตามลักษณะของผู ้แสดงทีจ ่ ะ
สวมเล็บยาวสท ี องทุกนิว้ ยกเว ้นนิว้ หัวแม่มอ ื
• ฟ้ อนเล็บของกรมศล ิ ปากร ได ้รับรูปแบบการฟ้ อนจากคุ ้มเจ ้า
หลวงเจ ้าผู ้ครองนครเชย ี งใหม่ พระราชชายาเจ ้าดารารัศมี
 เป็ นผู ้ปรับปรุง ซงึ่ ได ้นำมาเผยแพร่ทก ี่ รุงเทพมหานครใน
คราวสมโภชพระเศวตคชเดชน์ดล ิ ก ชางเผื ้ อกในรัชกาลที่ 7
เมือ่ พ.ศ. 2470 แล ้วนางลมุล ยมะคุปต์ ผู ้เชย ี่ วชาญการ
สอนนาฏศล ิ ป์ ไทย วิทยาลัยนาฏศล ิ ป กรมศล ิ ปากรได ้นำมา
ฝึ กให ้ละครคณะหลวงในรัชกาลที่ 7 และถ่ายทอดให ้ เป็ น
ชุดการแสดงของกรมศล ิ ปากรโดยมีเนือ ้ ร ้องประกอบการ
แสดง เพือ ่ เป็ นการบวงสรวงหรือฟ้ อนต ้อนรับตามประเพณี
ทางภาคเหนือ
ฟ้อนขันดอก

•  “ฟ้อนข ันดอก” เป็ นการ


แสดงทีพ ่ อ
่ ครูมานพ ยาระนะ
ศลิ ปิ นแห่งชาติ สาขาศล ิ ปะ
การแสดงพืน ้ บ ้าน ปี พ.ศ.
2548 เป็ นผู ้ประดิษฐ์ทา่ ขึน ้
โดยมีจด ุ ประสงค์ในการแสดง
เพือ่ เป็ นการฟ้ อนรำบูชาพระ
รัตนตรัย เพือ ่ ให ้บังเกิดความ
สงบร่มเย็นให ้แก่บ ้านเมือง
โดยมีอป ุ กรณ์ประกอบการ
แสดงเป็ นขันดอก หรือพานไม ้
ใสด ่ อกไม ้แบบล ้านนา ซงึ่ ใช ้
ตบแต่งเพือ ่ บูชา พระพุทธ
ฟ้อนเทียน
ฟ้ อนเทียน เป็ นการฟ้ อนทีม ่ ล
ี ก ั ษณะศล ิ ปะที่
อ่อนชอยงดงาม้ ลักษณะการแสดงไม่ตา่ ง
จากการแสดงฟ้ อนเล็บ ถ ้าเป็ นการแสดง
ฟ้ อนเทียน นิยมแสดงในเวลากลางคืนเพือ ่
เน ้นความสวยงามของแสงเทียนระยิบระยับ
สว่างไสว จุดเด่นของการแสดงชนิดนี้ จึง
อยูท ่ แี่ สงเทียนทีผ ่ ู ้แสดงถือในมือข ้างละ ๑
เล่ม เข ้าใจว่าการฟ้ อนเทียนนีแ ้ ต่เดิมคงจะ
ใชเป็ ้ นการแสดงบูชาสงิ่ ศก ั ดิส์ ท ิ ธิ์ เพือ ่
เป็ นการสก ั การะเทพเจ ้าทีเ่ คารพนับถือใน
งานพระราชพิธห ี ลวง ตามแบบฉบับล ้านนา
ของทางภาคเหนือของไทย ผู ้ฟ้ อนมักใช ้
เจ ้านายเชอ ื้ พระวงศฝ ์ ่ ายในทัง้ สน ิ้ ในสมัย
ปั จจุบน ั การแสดงชุดนีจ ้ งึ ไม่คอ ่ ยได ้เห็น
บ่อยนักจะสงั เกตเห็นว่าความสวยงามของ
การฟ้ อนอยูท ่ ก
ี่ ารบิดข ้อมือทีถ ่ อ ื เทียนอยู่
แสงวับๆ แวมๆ จากแสงเทียนจึงเคลือ ่ นไหว
ไปกับความอ่อนชอยลี ้ ลา และลักษณะของ

เพลงทีใ่ ชบรรเลงประกอบนั บเป็ นศล ิ ปะที่
น่าดูอย่างยิง่ แบบหนึง่
ระบำร่อนแร่

• ระบำร่อนแร่เป็ นการแสดง
ประกอบท่าทางขัน ้ ตอนการ
ประกอบอาชพ ี ของชนชาวภาค
ใต ้ทีอ
่ อกจากบ ้านไปหาแร่ ร่อน
แร่ และ ตากแร่ แล ้วพากันกลับ
บ ้าน ผู ้แสดง จะเป็ นผู ้หญิงล ้วน

• อุปกรณ์ทใี่ ชในการประกอบการ
แสดง
เลียง ทำจากไม ้ ลก ั ษณะคล ้าย
กระทะแต่ไม่มห ี ู
รองเง็ง

• https://sites.google.com/site/
naiyarinnoey/rxngngeng
https://sites.google.com/site/naiyar
innoey/rxngngeng
เต้ นกำรำเคียว
• การแสดงเต ้นกำรำเคียว เป็ นการละ
เล่นพืน ้ เมืองทีเ่ ก่าแก่แบบหนึง่ ของ
ชาวชนบทในภาคกลางของไทย
แถบจังหวัดนครสวรรค์ ทีอ ่ ำเภอ
พยุหะคีรี ซงึ่ แต่เดิมประชาชนสว่ น
มากยึดอาชพ ี การทำนาเป็ นหลักและ
ด ้วยนิสย ั รักสนุก ประกอบกับการเป็ น
คนเจ ้าบทเจ ้ากลอนของไทยด ้วย จึง
ได ้เกิดการเต ้นกำรำเคียวขึน ้ ซงึ่ ใน
เนือ้ เพลงแต่ละตอนจะสะท ้อนให ้เห็น
สภาพความเป็ นอยูข ่ องชาวบ ้านอย่าง
ชดั เจน ลักษณะการรำไม่ออ ่ นชอย้
เชน ่ การรำไทยทั่ว ๆ ไป จะถือเอา
ความสนุกเป็ นใหญ่
ตาลีกีปัส

• ตารี กีปัส (Tarikipas) เป็ นศิลปะการแสดงระบำพื้นเมืองของทางภาคใต้ ที่


ใช้พดั ประกอบการแสดง ประกอบกับเพลงที่มีความไพเราะน่าฟัง ลีลาท่า
รำจึงอ่อนช้อย และเป็ นการแสดงที่แพร่ หลายในหมู่ชาวไทยมุสลิม โดย
เฉพาะในจังหวัดปั ตตานี นอกจากนั้นยังได้น ำไปเผยแพร่ ยงั ต่างประเทศ
ในงานมหกรรมพื้นบ้านโลก อาทิเช่น ประเทศตุรกี ประเทศโปแลนด์
ประเทศบัลแกเรี ย ประเทศเกาหลีใต้ ประเทศฟิ นแลนด์ ประเทศรัสเซี ย
ประเทศสหรัฐอเมริ กา ฯลฯ ซึ่งเป็ นที่ยอมรับของนานาประเทศ
ความหมายของชื่อ
      คำว่า "ตารี กีปัส" มาจากคำสองคำที่วา่ "ตารี " ที่แปลว่า ระบำ หรื อ
ฟ้ อนรำ และคำว่า "กีปัส" ที่แปลว่า พัด ดังนั้นคำนี้จึงแปลว่า การฟ้ อนรำที่
ใช้พดั ประกอบการแสดง
โนรา

• มโนราห์, มโนห์รา หรือโดยย่อว่า โนรา เป็ นชอ ื่
ศล ิ ปะการแสดงพืน ้ เมืองอย่างหนึง่ ของภาคใต ้ มรี าก
ศพ ั ท์ทม ี่ าจากคำว่า “นระ” เป็ นภาษาบาลี –
สน ั สกฤต แปลว่ามนุษย์ เพราะการร่ายรำแต่เดิมแล ้ว
การรำโนราจะรำให ้เสมือนกับท่าร่ายรำของเทวดา
• มโนราห์มแ ี ม่บทท่ารำอย่างเดียวกับละครชาตรี
 บทร ้องเป็ นกลอนสด ผู ้ขับร ้องต ้องใชปฏิ ้ ภาณไหว
พริบ สรรหาคำให ้สม ั ผัสกันได ้อย่างฉั บไว มีความ
หมายทัง้ บทร ้อง ท่ารำและเครือ ่ งแต่งกาย
เครือ ่ งดนตรีประกอบด ้วย กลอง ทับคู ่ ฉิง่ โหม่ง 
ปี่ นอก หรือ ปี่ ใน และกรับ ปั จจุบน ั พัฒนาเอา
เครือ ่ งดนตรีสากลเข ้าร่วมด ้วย เดิมนิยมใชผู้ ้ชายล ้วน
แสดง แต่ปัจจุบน ั มีผู ้หญิงเข ้าไปแสดงด ้วย
ลิเกฮูลู

• ลิเกฮูล ู หรือ ดิเกฮูล ู เป็ นการละเล่นพืน



บ ้านของชาวมลายูมส ุ ลิมภาคใต ้ของ
ไทย ขึน้ บทเป็ นเพลงประกอบดนตรี
และจังหวะตบมือ
รำกลองยาว
• กลองยาว ประเพณีการเล่นเทิงบ ้องกลองยาว หรือ
เถิดเทิง มีผู ้เล่าให ้ฟั งเป็ นเชงิ สน ั นิษฐานว่าเป็ นของ
พม่า นิยมเล่นกันมาก่อนเมือ ่ ครัง้ ทีพ
่ ม่ามาทำสงคราม
กับไทยในสมัยกรุงธนบุรี หรือสมัยต ้นแห่งกรุง
รัตนโกสน ิ ทร์ เวลาพักรบพวกทหารพม่าก็จะเล่น
สนุกสนานกันด ้วยการเล่นต่างๆ ซงึ่ ทหารพม่าบาง
พวกก็เล่น “กลองยาว” พวกไทยเราได ้เห็นก็จำมา
เล่นกันบ ้าง 
    เมือ
่ ชาวไทยเห็นว่ารำกลองยาวเป็ นการเล่นที่
สนุกสนาน และเล่นได ้ง่ายก็นย ิ มเล่นกันไปแทบ ทุก
บ ้านทุกเมืองมาจนทุกวันนี้ 
    ประวัตค ิ วามเป็ นมา คณะกลองยาวทีม ่ ช ื่ เสย
ี อ ี งมาก
ของชาวอำเภอพยุหะคีรี ได ้แก่ คณะ บ.รุง่ เรืองศล ิ ป์
ของนายบุญ เอีย ่ มเวช ซงึ่ ได ้ดัดแปลงท่าร่ายรำมา
จากท่าร่ายรำของลิเก พร ้อมได ้ดัดแปลงประดิษฐ์ชด ุ
แต่งกายขึน ้ โดยเลียนแบบจากเครือ ่ งแต่งกายของ
ลิเกเชน ่ กัน และใชช้ อ ื่ ว่า “กลองยาวประยุกต์” และได ้
นำออกแสดงเป็ นครัง้ แรกราวปี พ.ศ. 2500  
เซงิ้ สวิง
• เซงิ้ สวิง
• เป็ นการฟ้ อนรำทีจ ่ ำลอง หรือเล่าเรือ ่ งราว
การหาสต ั ว์น้ำของชาวบ ้าน โดยใชสวิ ้ งเป็ น
อุปกรณ์หรือเครือ ่ งมือ แสดงคูช ่ าย-หญิง
ก็ได ้ หรือ แสดงเพียงผู ้หญิงเท่านัน ้ ก็ได ้
• เซงิ้ สวิงมีการประยุกต์กน ั มาเรือ
่ ยๆ และในปี
พ.ศ. 2515 ทางกรมศล ิ ปากรจึงได ้นำท่า
ฟ้ อนของท ้องถิน ่ อำเภอยางตลาด จังหวัด
กาฬสน ิ ธุ์ มาปรับปรุงให ้มีทว่ งท่า
กระฉั บกระเฉงขึน ้ ท่าฟ้ อนจะแสดงให ้เห็นถึง
การออกไปหาปลา การชอนปลา ้ จับปลา
และดีอกดีใจเมือ ่ หาปลาได ้มากๆ ผู ้แสดง
ฝ่ ายหญิงจะเป็ นผู ้ถือสวิงไปชอนปลา ้ สว่ น
ฝ่ ายชายจะนำข ้องไปคอยใสป ่ ลาทีฝ ่ ่ ายหญิง
จับได ้
กิงกะหร่า
•ฟ้ อนนกกิงกะหล่า”
•คำว่า “กิงกะหล่า” เป็นคำในภาษาไทยใหญ่
•กลายเสย ี งมาจากภาษาบาลีคอ ื คำว่า “กินนร” หรือ
“กินรา”
•มีความหมายว่า เป็นอมนุษย์ในนิยาย มีล ักษณะ
ครึง่ คนครึง่ นก
•การฟ้อนนกกิงกะหล่า สะท้อนเอกล ักษณ์ ความ
เชอ ื่ ตามว ัฒนธรรมประเพณีของชาวไทยใหญ่ ที่
ศร ัทธาในพุทธศาสนาอย่างแรงกล้า โดยเฉพาะว ัน
ออกพรรษาหรือ “ออกหว่า” เชอ ื่ ก ันว่าเป็นว ันที่
พระพุทธเจ้าเสด็จลงมาจากสวรรค์ช นดาวดึ ั้ งส ์
เหล่าสรรพสตว์ ั ทงหลายจึ
ั้ งมีความยินดียงิ่ ออกมา
ร่ายรำอย่างสวยงาม เพือ ่ ถวายเป็นพุทธบูชา
•ปัจจุบ ัน หลายจ ังหว ัดในภาคเหนือมีคนไทยใหญ่

พ ักอาศยอยู จ
่ ำนวนมาก และนำว ัฒนธรรมและการ
แสดงของตนมาด้วย
•จึงพบเห็นการแสดงฟ้อนนกกิงกะหล่าในงาน
มงคลต่างๆ อย่างกว้างขวาง
ฟ้อนภูไท
• ฟ้ อนภูไท
• แต่เดิมเป็ นการฟ้ อนรำของผู ้ชายเพือ ่
บูชาพระธาตุในเทศกาลสก ั การะองค์
พระธาตุ แต่ภายหลังก็ได ้เปลีย ่ นผู ้ฟ้ อน
มาเป็ นผู ้หญิงทัง้ หมด เพราะท่วงท่าและ
ลีลาการฟ้ อนซงึ่ จะดูสวยงามและอ่อน
หวานมากกว่า ผู ้ฟ้ อนหญิงชาวภูไทจะ
แต่งกายตามแบบสตรีชาวภูไทสกลนคร
และมีการสวมเล็บยาวในการฟ้ อนรำอีก
ด ้วย ต่อมาชาวภูไทในท ้องถิน ่ อืน่ ใน
จังหวัดสกลนครได ้มาพบเห็นจึงได ้นำ
ไปประยุกต์ทา่ ฟ้ อนขึน ้ อีก และมีการ
แต่งเนือ้ ร ้องประกอบการแสดงเพิม ่ เติม
อีกด ้วย
• ADVERTISEMENT

กลองสะบ ัดชย

• กลองสะบ ัดชย เป็ ั นกลองทีม ่ ม


ี านานแล ้วนับ
หลายศตวรรษ ในสมัยก่อนใช ้ ตย ี ามออกศก ึ
สงคราม เพือ ่ เป็ นสริ ม ิ งคล และเป็ น ขวัญกำลังใจ
ให ้แก่เหล่าทหารหาญในการต่อ สูให ้ ้ได ้ชย
ั ชนะ

ทำนองทีใ่ ชในการตี กลองสะบัดชย ั โบราณมี 3
ทำนอง คือ ชย ั เภรี, ชย ั ดิถ ี และชนะมาร
• การตีกลองสะบัดชย ั เป็ นศล ิ ปะการแสดงพืน ้ บ ้าน
ล ้านนาอย่างหนึง่ ซงึ่ มักจะพบเห็นในขบวนแห่
หรืองานแสดงศล ิ ปะพืน ้ บ ้านในระยะหลังโดย
ทั่วไป ลีลาในการตีมล ี กั ษณะโลดโผนเร ้าใจมีการ
้ ยวะหรือสว่ นต่าง ๆ ของร่างกาย เชน
ใชอวั ่ ศอก
เข่า ศรี ษะ ประกอบในการตีด ้วย ทำให ้การแสดง
การตีกลองสะบัดชย ั เป็ นทีป ่ ระทับใจของผู ้ทีไ่ ด ้
ชม จนเป็ นทีน ่ ยิ มกันอย่างกว ้างขวางในปั จจุบน ั
ระบำเก็บใบชา
• ระบำเก็บใบชาระบำเก็บใบชา”เมื่อปี
พุทธศักราช2523 นักศึกษาระดับปริญญาของวิทยาลัยนาฏศิลป กรม
ศิลปากร ในการควบคุมของนางสาวปราณี  สำราญวงศ์ หัวหน้ าภาค
วิชานาฏดุริยางค์ คตี ศิลปศึกษา ได้ ร่วมกันประดิษฐ์ ท่ารำและทำนอง
เพลงระบำชุดนีข้ นึ้   เพือ่ นำออกแสดงเป็ นผลงานการบรรเลงดนตรีและ
การแสดงนาฏศิลป์ ณ โรงละครแห่ งชาติ

•  ลีลาและลักษณะการแสดงสะท้อนให้เห็นถึงกรรมวิธีในการเก็บใบชา
ของชาวเขา  โดยเริ่มตั้งแต่ เช้ าตรู่ ออกเดินทางไปเก็บใบชา  ซึ่งได้ ปลูก
ไว้ ตามไหล่ เขา ต่ อจากนั้นนำมาเลือกใบและผึง่ แดด  ขณะที่รอให้ ใบชา
แห้ งต่ างก็รื่นเริงสนุกสนานกับจวบจนเวลาเย็น แล้ วจึงนำเอาใบชาเดิน
กลับบ้ าน ประพันธ์ เพลง โดย นายปกรณ์   รอดช้ างเผือ่ น
ลำต ัด
• ลำต ัดพลงลำตัดเป็ นเพลงพืน ้ บ ้าน
ภาคกลางชนิดหนึง่ ของไทย ซงึ่ นิยม
ร ้องกันในเขตภาคกลาง(สุพรรณบุร)ี
ทัง้ นี้ มีต ้นตอมาจาก “ลิเกบันตน” ของ
ชาวมลายู ในต ้นรัชกาลที่ 5 แห่ง
กรุงรัตนโกสน ิ ทร์ โดยลิเกบันตนดัง
กล่าว มีรป ู แบบของการการแสดงแยก
ออกเป็ น 2 สาขา สาขาหนึง่ เรียกว่า
“ฮน ั ดาเลาะ” และ “ลากูเยา” และลิเก
บันตนลากูเยา มีลก ั ษณะของการแสดง
ว่ากลอนสดแก ้กัน โดยมีลก ู คูค
่ อยรับ
เมือ่ ต ้นบทร ้องจบ
• เครือ ่ งดนตรีทใี่ ช ้ คอื  กลองรำมะนา ฉิง่  
หน ังตลุง

• หน ังตะลุง คือ ศล ิ ปะการแสดงประจำท ้อง


ถิน ่ อย่างหนึง่ ของภาคใต ้ เป็ นการเล่าเรือ ่ ง
ราวทีผ ่ กู ร ้อยเป็ นนิยาย ดำเนินเรือ ่ งด ้วยบท
ร ้อยกรองทีข ั ร ้องเป็ นสำเนียงท ้องถิน
่ บ ่ หรือที่
เรียกกันว่าการ "ว่าบท" มีบทสนทนาแทรก

เป็ นระยะ และใชการแสดงเงาบนจอผ ้าเป็ น
สงิ่ ดึงดูดสายตาของผู ้ชม ซงึ่ การว่าบท การ
สนทนา และการแสดงเงานี้ นายหนังตะลุง
เป็ นคนแสดงเองทัง้ หมดนั่นเอง
• หนังตะลุงเป็ นมหรสพทีน ่ ย
ิ มแพร่หลายอย่าง
ยิง่ มาเป็ นเวลานาน โดยเฉพาะในยุคสมัย
ก่อนทีจ ่ ะมีไฟฟ้ าใชกั้ นทั่วถึงทุกหมูบ ่ ้านอย่าง
ในปั จจุบน ั หนังตะลุงแสดงได ้ทัง้ ในงานบุญ
และงานศพ ดังนัน ้ งานวัด งานศพ หรืองาน
เฉลิมฉลองทีส ่ ำคัญจึงมักมีหนังตะลุงมา
แสดงให ้ชมด ้วยเสมอ
เซงิ้ กระโป๋
• เซงิ้ กะโป๋ เป็นการละเล่น
ทีเ่ น้นความสนุกสนาน
เป็นหล ักโดยใชก ้ ะโป๋
หรือกะลามะพร้าว เป็น
อุปกรณ์ทส ี่ ำค ัญในการ
เล่น

You might also like