You are on page 1of 74

1

รายงาน

เรื่อง รำวงมาตรฐาน

จัดทำโดย

คเชน มาชม เลขที่ 3

กันต์กวี หรูจิตตวิวัฒน์ เลขที่ 1

กิตติพิชญ์ อัครฐานุกุล เลขที่ 2

ธีรทัศน์ ทิมไทย เลขที่ 8

ธนวิชญ์ อมรวิริยะ เลขที่ 7

ภูมิพัฒน์ แสนสุข เลขที่ 22

มัธยมศึกษาชัน
้ ที่ 3.11

นำเสนอ

คุณครู ทัตพิชา ประภากร

รายงานนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชานาฎศิลป์ (ศ 23101)

ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1/2562
2

คำนำ

ร า ย ง า น ฉ บ ับ น เี ้ ป็ น ส ่ว น ห น ึ่ง ข อ ง ว ิช า ศ 23101 น า ฎ ศ ล
ิ ป์ ช น
ั้
มัธยมศึกษาปี ที่ 3 โดยมีจุดประสงค์ เพื่อการศึกษาประวัติและความเป็ นมา
ของรำวงมาตรฐาน ซึ่งรายงานนีม
้ ีเนื้อหาเกี่ยวกับประวัติของรำวงมาตรฐาน
ท่ารำของรำวงมาตรฐาน ตลอดจนการแต่งกาย ท่า รำ คำร้อง ทำนอง และ
เครื่องตนตรี

ผู้จัดทำได้เลือก หัวข้อนีใ้ นการทำรายงาน เนื่องมาจากเป็ นเรื่องที่ ผู้จัด


ทำจะต้องขอขอบคุณ คุณครู ทัตพิชา ประภากร ผู้ให้ความรู้ และแนวทาง
การศึกษาเพื่อน ๆ ทุกคนที่ให้ ความช่วยเหลือมาโดยตลอด ผู้จัดทำหวังว่า
รายงานฉบับนีจ
้ ะให้ความรู้ และเป็ นประโยชน์แก่ผู้อ่านทุก ๆ ท่าน

ผู้จัดทำ

วันที่ 9/11/2021
3

สารบัน

ประวัติความเป็ นมารำวงมาตรฐาน 4
ความหมายของรำวงมาตรฐาน,ชื่อเพลงและท่ารำ 6
ประกอบเพลงรำวงมาตรฐาน
ลักษณะการแต่งกาย,ท่ารำ,คำร้อง,ทำนอง,เครื่อง 8
ดนตรี
เพลงงามแสงเดือน 11
4

เพลงชาวไทย 14
เพลงรำซิมารำ 17
เพลงคืนเดือนหงาย 19
เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ 21
เพลงดอกไม้ของชาติ 26
เพลงหญิงไทยใจงาม 28
เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้ า 30
เพลงยอดชายใจหาญ 33
เพลงบูชานักรบ 35
บรรนนานุกรม 39

ประวัติความเป็ นมารำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐาน เป็ นการแสดงที่มีวิวัฒนาการมาจาก “รำโทน”  เป็ นการ
รำและร้องของชาวบ้าน ซึ่งจะมีผช
ู้ ายและผูห
้ ญิง รำกันเป็ นคู่ ๆ รอบๆ ครก
ตำข้า วที่วางคว่ำไว้ หรือ ไม่ก ็รำ กัน เป็ นวงกลม โดยมีโ ทนเป็ นเครื่อ งดนตรี
5

ประกอบจัง หวะ ลัก ษณะการรำ และการร้อ งเป็ นไปตามความถนัด  ไม่ม ี


แบบแผนกำหนดไว้ 

ในสมัยก่อนไม่มีคำว่า “มาตรฐาน” จะเรียกกันเพียงว่า “รำวง” เท่านัน



การรำวงนีเ้ ป็ นการละเล่นพื้นบ้านอย่างหนึ่งของชาวไทยที่บ่งบอกถึงความ
สนุกสนาน จะเล่นกันในบางท้องถิ่นและบางเทศกาลของแต่ละจังหวัด
เท่านัน
้ รำวงมาตรฐานมีวิวัฒนาการมาจากการรำโทน ซึ่งเป็ นการละเล่นพื้น
เมืองของไทย หรืออาจพูดได้ว่า “รำวง” เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “รำโทน”

สมัยก่อนเครื่องดนตรีที่ใช้ประกอบการรำโทนก็มี ฉิ่ง ฉาบ และโทน ใช้ตี


ประกอบจังหวะ โดยการฟ้ อนรำจะมีเสียงโทนเป็ นเสียงหลักตีตามจังหวะ
หน้าทับ จึงเรียกการฟ้ อนรำชนิดนีว้ ่า “รำโทน” ในด้านของบทร้องจะเป็ น
บทร้องที่มีภาษาเรียบง่าย ไม่พิถีพิถันในเรื่องถ้อยคำและสัมผัสวรรคตอนแต่
อย่างใด เนื้อหาของเพลงจะออกมาในลักษณะกระเซ้าเย้าแหย่การหยอกล้อ
ของหนุ่มสาว เชิญชวน ตลอดจนการชมโฉมความงามของหญิงสาวเป็ นต้น
ทัง้ นีก
้ ็เพื่อความสนุกสนานในการเล่น ในเรื่องของการแต่งกายก็เน้นเพียง
ความสะดวกสบายของชาวบ้านเอง ไม่ได้ประณีตแต่อย่างใด

เมื่อประมาณ พ.ศ. 2483 ชาวบ้านนิยมเล่นรำโทนอย่างแพร่หลาย ศิลปะ


ชนิดนีจ
้ ึงมีอยู่ตามท้องถิ่นและพบเห็นได้ตามเทศกาลต่างๆ มากยิ่งขึน
้ ด้วย
เหตุที่ได้รับความนิยมเป็ นอย่างมากนีเ้ อง จึงได้มีผู้คิดแต่งบทร้องและทำนอง
เพลงขึน
้ ใหม่เป็ นจำนวนมาก แต่ทงั ้ นีก
้ ็ยังคงจังหวะหน้าทับของโทนไว้เช่น
เดิม บทร้องและทำนองแปลกๆ ที่มีเกิดขึน
้ มาใหม่โดยปรับปรุงและ
6

เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ด้วยเหตุนจ
ี ้ ึงเป็ นบทเพลงที่ขาดการบันทึกไว้เป็ น
หลักฐาน ไม่ปรากฏว่า ใครเป็ นผู้แต่งบทร้องและทำนองในช่วงระหว่าง
พ.ศ.  2484 – 2488 เป็ นช่วงสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ทหารญี่ปุ่นได้ยกพลขึน
้ ที่
ตำบลบางปู จังหวัดสมุทรปราการ เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2484 เพื่อเจรจาขอ
ตัง้ กองทัพในประเทศไทย โดยใช้เส้นทางต่างๆ ในแผ่นดินไทยลำเลียงเสบียง
อาหาร อาวุธและกำลังพล เพื่อใช้ในการต่อสู้กับประเทศสัมพันธมิตร
อังกฤษ อเมริกา

ซึง่ ในขณะนัน
้ ประเทศไทยมี จอมพล ป. (แปลก) พิบูลสงคราม เป็ นนายก
รัฐมนตรี ได้ตัดสินใจยอมให้ประเทศญี่ปุ่นเข้ามาตัง้ ฐานทัพในประเทศไทย
เพราะเกรงว่าหากปฏิเสธคงจะถูกปราบปรามแน่ ด้วยเหตุนเี ้ องประเทศไทย
จึงได้รับผลกระทบจากการรุกรานของฝ่ ายพันธมิตร ที่ส่งกองทัพเข้ามาโจมตี
ฐานทัพญี่ปุ่นทางอากาศ โดยเฉพาะในยามที่เป็ นคืนเดือนหงาย จะมองเห็น
จุดยุทธศาสตร์ได้ง่าย ข้าศึกมักจะเข้ามาโจมตีอย่างหนักด้วยการทิง้ ระเบิด
ซึ่งสร้างความเสียหายทำลายชีวิตและทรัพย์สินบ้านเรือนเป็ นจำนวนมาก
โดยเฉพาะบ้านเรือนที่อยู่ใกล้กับฐานทัพญี่ปุ่น
เมื่อช่วงคืนเดือนหงายผ่านไปคืนเดือนมืดเข้ามา ข้าศึกจะมองเห็นจุด
ยุทธศาสตร์ไม่ชัดเจนจึงพักการรุกราน ประชาชนชาวไทยได้รับความเดือด
ร้อน ต่างอยู่ในสถานการณ์ที่หวาดกลัวเป็ นอย่างมาก จึงได้หาวิธีผ่อนคลาย
ความตึงเครียดความหวาดผวา ด้วยการนำศิลปะพื้นบ้านที่ซบเซาไป กลับมา
ร้องรำทำเพลง นั่นก็คือ “การรำโทน” 
7

คำร้อง ทำนอง และการแต่งกาย ก็ยังคงเรียบง่าย สนุกสนานเช่นเดิม


เพลงที่นิยมได้แก่เพลง ใกล้เข้าไปอีกนิด ช่อมาลี ตามองตา ยวนยาเหล่
เป็ นต้น ต่อมา จอมพล ป. (แปลก) พิบูลสงคราม ได้เล็งเห็นศิลปะอัน
สวยงามของไทยที่มีอยู่อย่างแพร่หลาย หากชาวต่างชาติมาพบเห็นจะตำหนิ
ได้ว่า ศิลปะการฟ้ อนรำของไทยนีม
้ ิได้มีความสวยงามประณีตแต่อย่างใด
รวมถึงไม่มีศิลปะที่แสดงออกว่าเป็ นชาติที่มีวัฒนธรรม ท่านจึงได้มอบให้กรม
ศิลปากรเป็ นผู้รับผิดชอบในการปรับปรุงและพัฒนาการรำ “รำโทน” ขึน

ใหม่ให้มีระเบียบแบบแผนให้มค
ี วามประณีตงดงามมากขึน
้ ทัง้ ทางด้านเนื้อ
ร้อง ทำนอง ตลอดจนเรื่องการแต่งกาย

เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2487 กรมศิลปากรได้ประพันธ์บทร้องขึน


้ ใหม่ 4
เพลง คืองามแสงเดือน ชาวไทย,รำซิมารำ,คืนเดือนหงาย และได้กำหนดวิธี
การเล่น ตลอดจนท่ารำและการแต่งกายให้มีความเรียบร้อยสวยงามอย่าง
ศิลปะของไทย 

วิธีการเล่นนัน
้ จะเล่นรวมกันเป็ นวง และเคลื่อนย้ายเวียนกันไปเป็ นวงทวน
เข็มนาฬิกา และด้วยเหตุนเี ้ องจึงได้เปลี่ยนชื่อ “รำโทน” เสียใหม่มาเป็ น
“รำวง” ต่อมาท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม ได้ประพันธ์เนื้อร้องขึน
้ มา
ใหม่อีก 6 เพลง คือ ดวงจันทร์วันเพ็ญ,ดอกไม้ของชาติ, หญิงไทยใจงาม,ดวง
จันทร์ขวัญฟ้ า,ยอดชายใจหาญ,บูชานักรบ มอบให้กรมศิลปากรบรรจุท่ารำ
ไว้เป็ นแบบมาตรฐาน 
8

ส่วนทำนองนัน
้ รับผิดชอบแต่งโดยกรมศิลปากรและกรมประชาสัมพันธ์
เป็ นเพลงที่มีเนื้อร้องสุภาพ ใช้คำง่าย ทำนองเพลงง่าย มุ่งให้เห็นวัฒนธรรม
ของชาติเป็ นส่วนใหญ่ การแสดงจะใช้ผู้แสดงหญิงชายไม่น้อยกว่า ๕ คู่ 

ครัน
้ เมื่อสงครามโลกครัง้ ที่ 2 สิน
้ สุดลง ชาวไทยก็ยังคงให้ความนิยมการ
เล่นรำวงสืบมาจนถึงปั จจุบัน และชาวต่างชาติก็นิยมเล่นกันอย่างแพร่หลาย
ทัง้ ในงานเต้นรำต่างๆ จนกระทั่งมีนักประพันธ์ผู้หนึ่งเป็ นชาวอเมริกันที่ช่ อ
ื ว่า
Foubion Bowers ที่ได้มาพบเห็นศิลปะการรำวงของไทย และนำไปกล่าวไว้
ในหนังสือ Theatre in the East ซึง่ มีสำเนียงการเรียก “รำวง” เพีย
้ นไป
บ้างเล็กน้อยเป็ น “รำบอง” (Rombong) 

แต่อย่างไรก็ดี วัตถุประสงค์ของกรมศิลปากร ในการปรับปรุงศิลปะการ


รำวงทัง้ หมด 10 เพลงนีเ้ พื่อเป็ นศิลปะการรำวงที่มีระเบียบแบบแผน ทัง้
คำร้อง ทำนอง ท่ารำ ตลอดจนการแต่งกาย ให้เป็ นแบบฉบับมาตรฐาน
สะดวกในการเผยแพร่ศล
ิ ปวัฒนธรรมของไทยและสืบสานต่อไป ด้วยเหตุผล
นี ้ เราจึงเรียกรำวงที่มีศิลปะเป็ นแบบฉบับมาตรฐานว่า “รำวงมาตรฐาน”
สืบมาจนถึงปั จจุบัน

ความหมายของรำวงมาตรฐาน
9

รำวงมาตรฐาน หมายถึง ศิลปะแห่ง กำรฟ้ อนรำให้เข้ากับจังหวะหน้ำทับ


ใช้ท่ารำที่เป็ นแบบฉบับ มาตรฐานโดยร เป็ นวงกลม หันหน้ำทวนเข็มนาฬิกา
การรำ วงมาตรฐานเป็ นการรำ ที่ป ระดิษ ฐ์ข น
ึ ้ ใหม่โ ดยการดูแ ลของกรม
ศิลปากรร่วมกับกรมประชาสัมพันธ์ช่วยกันจัด ทำขึน
้ เพื่อให้เป็ นแบบแผนใน
กำรใช้ท่ารำให้งดงามถูกต้องตำมหลักนาฏศิลป์ ไทย

ชื่อเพลงและท่ารำประกอบเพลงรำวงมาตรฐาน
เพลงที่ใช่ประกอบการแสดงรำวงมาตรฐานมีทงั ้ หมด 10 เพลง

จมื่นมานิตย์ นเรศ (เฉลิม เศวตนนัท์)ได้เปนผูป


้ ระพันธ์คำร้อง จํานวน 4
เพลง ได้แก่

เพลงงามแสงเดือน  (เพลงที่ 1)
เพลงชาวไทย  (เพลงที่ 2)
เพลงรำมาซิมารำ (เพลงที่ 3)
เพลงคืนเดือนหงาย (เพลงที่ 4)

ท่านผู้หญิงละเอียด พิบล
ู สงคราม แต่งเนื้อร้องเพิ่มอีก 6 เพลงคือ

เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ  (เพลงที่ 5)
เพลงดอกไม้ของชาติ  (เพลงที่ 6)
เพลงหญิงไทยใจงาม  (เพลงที่ 7)
เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้ า (เพลงที่ 8)
เพลงยอดชายใจหาญ  (เพลงที่ 9)
เพลงบูชานักรบ  (เพลงที่ 10)
10

ส่วนทำนองเพลง ทัง้  10 เพลง กรมศิลปกรและกรมประชาสัมพันธ์เป็ นผู้


แต่ง  เมื่อปรับปรุงแบบแผนการเล่นรำโทนให้มีมาตรฐานและมีความเหมาะ
สม   จึงมีการเปลี่ยนชื่อจากรำโทนเป็ น “รำวงมาตรฐาน” อันมีลักษณะการ
แสดงที่เป็ นการรำร่วมกันระหว่างชาย-หญิง เป็ นคู่ๆ เคลื่อนย้ายเวียนเป็ น
วงกลม (ทวนเข็มนาฬิกา) มีเนื้อร้องที่แต่งทำนองขึน
้ ใหม่ มีการใช้ทงั ้ วงปี่
พาทย์บรรเลงประกอบ และบางเพลงก็ใช้ วงดนตรีสากลบรรเลงประกอบ
ซึ่งเนื้อร้องที่แต่งขึน
้ ใหม่ทงั ้ 10 เพลง มีท่ารำทีกำ
่ หนดไว้เป็ นแบบแผน คือ

 ที่ เพลง  ท่ารำชาย  ท่ารำหญิง 


 1  เ พ ล ง ง า ม แ ส ง  ท่าสอดสร้อยมาลา  ท่าสอดสร้อยมาลา
เดือน
 2   เพลงชาวไทย  ท่าชักแป้ งผัดหน้า  ท่าชักแป้ งผัดหน้า
 3   เพลงรำมาซิมารำ  ท่ารำส่าย  ท่ารำส่าย
 4   เ พ ล ง ค ืน เ ด ือ น  ท ่า ส อ ด ส ร ้อ ย ม า ล า  ท่า ส อ ด ส ร ้อ ย ม า ล า
11

หงาย แปลง แปลง


 5  เพลงดวงจันทร์วัน  ท่า แขกเต้า เข้า รัง และ ท่า แขกเต้า เข้า รัง และ
เพ็ญ ท่าผาลาเพียงไหล่ ท่าผาลาเพียงไหล่
 6  เพลงดอกไม้ข อง  ท่ารำยั่ว  ท่ารำยั่ว
ชาติ
 7  เพลงหญิง ไทยใจ  ท่าพรหมสี่หน้าและท่า  ท่า พรหมสี่ห น้า และ
งาม ยูงฟ้ อนหาง ท่ายูงฟ้ อนหาง
 8  เ พ ล ง ด ว ง จ ัน ท ร ์  ท่าช้างประสานงาชาย  ท ่า ช ้า ง ป ร ะ ส า น ง า
ขวัญฟ้ า ท่าจันทร์ทรงกลด ชายท่าจันทร์ทรงกลด
 9  เพลงยอดชายใจ  ท่าจ่อเพลิงกาล  ท่าชะนีร่ายไม้ 
หาญ
 1   เพลงบูชานักรบ  ท่าจันทร์ทรงกลด และ  ท่าขัดจางนางและท่า
0 ท่าขอแก้ว ล่อแก้ว 
12

ลักษณะการแต่งกาย     
ลักษณะการแต่งกายของรำวงมาตรฐานก็บ่งบอกถึงเอกลักษณ์ของความเป็ น
ไทยได้เป็ นอย่างดีเช่นกันและยังเป็ นการสืบสานวัฒนธรรมการแต่งกายของ
ไทยสืบต่อไปอีกด้วย 

ลักษณะการแต่งกายรของการำวงมาตรฐานแต่งได้  3  แบบคือ

1 แบบพื้นเมือง

ชาย - นุ่งผ้าโจงกระเบน  สวมเสื้อคอกลม  มีผ้าคาดเอว

หญิง  - นุ่งผ้าโจงกระเบน  ห่มสไบอัดจีบ  คาดเข็มขัด

2 แบบไทยพระราชนิยม

ชาย  - สวมกางเกงขายาว  ใส่เสื้อพระราชทาน(แขนยาวหรือสัน


้ ก็ได้) สวม
รองเท้า  (แบบที่1)
13

หญิง - แต่งชุดไทยเรือนต้น  สวมรองเท้า (แบบที่1)

ชาย  - นุ่งผ้าโจงกระเบน  ใส่เสื้อราชประแตน  ถุงเท้ายาว  สวมรองเท้า


(แบบที่2)

หญิง - แต่งชุดไทยสมัยรัชกาลที่ 5 สวมรองเท้า  (แบบที่2)


14

3 แบบสากลนิยม

ชาย  -  แต่งชุดสูทสากล สวมเสื้อเชิต


้ แขนยาว  ผูกเนคไท  สวมรองเท้า

หญิง  - แต่งชุดไทย

ท่ารำ 
คุณครูศุภลักษณ์ ภัทรนาวิก,คุณครูมัลลี คงประภัศร์และคุณครูลมุล ยมะ
คุปต์ได้ร่วมกันประดิษฐ์ท่ารำขึน
้ ทัง้ หมด ๑๔ แม่ท่า เป็ นชื่อท่ารำที่อยู่ในรำ
แม่บท มีทงั ้ หมด ๑๐ เพลง ได้แก่ เพลงงามแสงเดือน,เพลงชาวไทย,เพลงรำ
ซิมารำ เพลง,คืนเดือนหงาย,เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ ,เพลงดอกไม้ของชาติ,
เพลงหญิงไทยใจงาม, เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้ า, เพลงยอดชายใจหาญและ
เพลงบูชานักรบ
15

คำร้อง
จมื่นมานิตย์นเรศ (เฉลิม เศวตนันท์) หัวหน้ากองการสังคีต กรมศิลปากร ได้
ประพันธ์ขน
ึ ้ ๔ เพลง คือ เพลงงามแสงเดือน, เพลงชาวไทย,เพลงรำซิมารำ
และเพลงคืนเดือนหงาย
คุณหญิงละเอียด พิบล
ู สงคราม ได้ประพันธ์คำร้องไว้ ๖ เพลง คือเพลงดวง
จันทร์วันเพ็ญ,เพลงดอกไม้ของชาติ,เพลงหญิงไทยใจงาม,เพลงดวงจันทร์
ขวัญฟ้ า,เพลงยอดชายใจหาญและเพลงบูชานักรบ

ทำนอง
อาจารย์มนตรี ตราโมท ผู้เชี่ยวชาญดนตรีไทย กรมศิลปากร ได้แต่งทำนอง
ไว้ ๖ เพลง คือ เพลงงามแสงเดือน,เพลงชาวไทย, เพลงรำซิมารำ,เพลงคืน
เดือนหงาย,เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ,เพลงดอกไม้ของชาติ
ครูเอื้อ สุนทรสนาน หัวหน้าวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ แต่งทำนองไว้ ๔
เพลง คือ เพลงหญิงไทยใจงาม,เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้ า,เพลงยอดชายใจ
หาญ,และเพลงบูชานักรบ

เครื่องดนตรี
เดิมนัน
้ รำโทนมีเครื่องดนตรีประกอบ คือ ฉิง่ กรับ ฉาบ และโทน เมื่อมีการ
พัฒนาการรำขึน
้ จึงได้พัฒนาเครื่องดนตรีที่ใช้โดยใช้วงดนตรีสากลบรรเลง
แทน
16

เพลงงามแสงเดือน
คำร้อง   จมื่นมานิตย์นเรศ (นายเฉลิม เศวตนันท์) หัวหน้ากองการสังคีต
กรมศิลปากร (ประพันธ์ในนามกรมศิลปากร)
ทำนอง   อาจารย์มนตรี  ตราโมท

เนื้อเพลง
งามใบหน้าเมื่ออยู่วงรำ
  งามแสงเดือนมาเยือนส่องหล้า
(ซ้ำ)

  เราเล่นเพื่อสนุก เปลื้องทุกข์วายระกำ

  ขอให้เล่นฟ้ อนรำ เพื่อสามัคคีเอย


17

ความหมาย  ยามที่แสงจันทร์ส่องมายังโลกทำให้โลกนีด
้ ูสวยงาม  ผู้คนที่มา
เล่นรำวงยามที่แสงจันทร์ส่อง ก็มีความงดงามด้วย  การรำวงนีเ้ พื่อให้มีความ
สนุกสนาน มีความสามัคคีกัน และละทิง้ ความทุกข์ให้หมดสิน
้ ไป

-------------------------------------------------------------------------------------
-------------------------------------------------

ท่าสอดสร้อยมาลา

มือซ้ายจีบหงายที่ชายพก (ระดับหัว
เข็มขัด)
มือขวาตัง้ วงสูงระดับหางคิว้ (ชายตัง้ วง
ระดับศีรษะ) เอียงซ้าย

--------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------

--------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------
18

มาเยือนส่องหล้า

 เลื่อนมือซ้ายที่จีบให้ห่างออกจากลำตัว
เล็กน้อย
แล้วปล่อยจีบเป็ นมือแบหงาย มือขวาจีบ
คว่ำ

--------------------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------
-

งามใบหน้าเมื่ออยู่วงรำ
(ซ้ำ)
19

มือซ้ายพลิกข้อมือขึน
้ ตัง้ วง มือขวาเลื่อนวงลงข้างลำตัวเล็กน้อย
แล้วเปลี่ยนจากวงเป็ นจีบหงายที่ชายพก เปลี่ยนเป็ นเอียงขวา
ทำเช่นนีส
้ ลับกันซ้ายขวา

--------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------
20

--------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------

เราเล่นเพื่อสนุก
เปลื้องทุกข์วายระกำ
ขอให้เล่นฟ้ อนรำ
เพื่อสามัคคีเอย

หญิงหมุนตัวไปทางด้านซ้ายแล้วเปลี่ยน
มือ
คำว่า "เราเล่น" มือซ้ายจีบคว่ำ มือขวา
แบมือหงาย
คำว่า "เพื่อสนุก" มือซ้ายยกขึน
้ ตัง้ วง มือขวาจีบหงายที่ชายพก
เดินไปครึ่งวงกลม ๔ จังหวะ 
คำว่า "ขอให้เล่น" มือขวาจีบคว่ำ มือซ้ายแบมือหงาย
คำว่า "ฟ้ อนรำ" มือขวายกขึน
้ ตัง้ วง มือซ้ายจีบหงายที่ชายพก

--------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------การก้าวท้าว เริ่มก้าวเท้าซ้าย
ก่อน โดยเท้าที่ก้าวกับมือจีบต้องเป็ นข้างเดียวกัน ให้นับการก้าวเท้า ๘
ครัง้ จึงเปลี่ยนมือ ๑ ครัง้ และศีรษะเอียงข้างจีบเสมอ
21

--------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------
22

เพลงชาวไทย
คำร้อง   จมื่นมานิตย์นเรศ (นายเฉลิม เศวตนันท์) หัวหน้ากองการสังคีต
กรมศิลปากร (ประพันธ์ในนามกรมศิลปากร)
ทำนอง   อาจารย์มนตรี  ตราโมท

ขออย่าละเลยในการทำ
  ชาวไทยเจ้าเอ๋ย
หน้าที่

  การที่เราได้เล่นสนุก เปลื้องทุกข์สบายอย่างนี ้

  เพราะชาติเราได้เสรี มีเอกราชสมบูรณ์

  เราจึงควรช่วยชูชาติ ให้เก่งกาจเจิดจำรูญ

  เพื่อความสุขเพิ่มพูน ของชาวไทยเรา เอย

ความหมาย  หน้าที่ที่ชาวไทยพึงมีต่อประเทศชาตินน
ั ้ เป็ นสิ่งที่ทุกคน
ควรกระทำ อย่าได้ละเลยไปเสีย  ในการที่เราได้มาเล่นรำวงกันอย่าง
สนุกสนาน ปราศจากทุกข์โศกทัง้ ปวงนีก
้ ็เพราะว่าประเทศไทยเรามี
เอกราช ประชาชนมีเสรีในการคิดจะทำสิ่งใดๆ  ดังนัน
้ เราจึงควรช่วยกัน
เชิดชูชาติไทยให้เจริญรุ่งเรืองต่อไป เพื่อความสุขยิ่งๆ ขึน
้ ของไทยเรา
ตลอดไป
23

---------------------------------------------------------------------------------
----------------------------------------------ท่าชักแป้ งผัดหน้า       
มือขวาจีบปรกข้าง มือซ้ายวงหน้า เอียงขวา

---------------------------------------------------------------------------------
----------------------------------------------
24

---------------------------------------------------------------------------------
-------------------------------------------
---ลดแขนเลื่อนมือขวาลงมาอยู่ระดับ
อก ปล่อยจีบเป็ นแบมือหงาย
มือซ้ายจีบคว่ำ
25

---------------------------------------------------------------------------------
----------------------------------------------

มือซ้ายเลื่อนมาเป็ นจีบปรกข้างด้านซ้าย ส่วนมือขวาตัง้ วงหน้าเอียงซ้าย


26

---------------------------------------------------------------------------------
----------------------------------------------

--------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------

ลดแขนเลื่อนมือมาอยู่ระดับอก มือซ้ายปล่อยจีบเป็ นแบหงาย


มือขวาจีบคว่ำ

ทำท่าเช่นนีส
้ ลับไปมาจนจบเพลง
ส่วนเท้าย่ำไปทุกจังหวะของเพลง เปลี่ยนมือทุกจังหวะที่ ๗
27

--------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------
28

เพลงรำซิมารำ
คำร้อง   จมื่นมานิตย์นเรศ (นายเฉลิม เศวตนันท์) หัวหน้ากองการสังคีต
กรมศิลปากร (ประพันธ์ในนามกรมศิลปากร)
ทำนอง   อาจารย์มนตรี  ตราโมท

          รำซิมารำ เริงระบำกันให้สนุก 

  ยามงานเราทำงานจริง ๆ ไม่ละไม่ทงิ ้ จะเกิดเข็ญขลุก

  ถึงยามว่างเราจึงรำเล่น ตามเชิงเช่นเพื่อให้สร่างทุกข์

  ตามเยี่ยงอย่างตามยุค เล่นสนุกอย่างวัฒนธรรม

  เล่นอะไรให้มีระเบียบ ให้งามให้เรียบจึงจะคมขำ

  มาซิมาเจ้าเอ๋ยมาฟ้ อนรำ มาเล่นระบำของไทยเราเอย

ความหมาย  ขอพวกเรามาเล่นรำวงกันให้สนุกสนานเถิดในยามว่างเช่น
นีจ
้ ะได้คลายทุกข์  ถึงเวลางานเราก็จะทำงานกันจริงๆ เพื่อจะได้ไม่
ลำบาก และการรำก็จะรำอย่างมีระเบียบแบบแผน ตามวัฒนธรรมไทย
ของเราแล้วจะดูงดงามยิ่ง
29

--------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------ท่ารำส่าย

แขนทัง้ สองตึงโดยมือซ้ายหงายระดับไหล่ มือขวาคว่ำอยู่ระดับเอว


30

--------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------

มือซ้ายวาดแขนลงระดับเอว พร้อมกับพลิกมือขวาหงายขึน
้ ระดับไหล่ สลับ
กันเช่นนีจ
้ นจบเพลง  ส่วนเท้าก้าวตามจังหวะ เมื่อถึงเนื้อเพลงที่ว่า
"เล่นอะไรให้มีระเบียบ ให้งามให้เรียบจึงจะคมขำ" ให้ฝ่ายหญิงกลับหลังหัน

ตามจังหวะเพลง หมุนตัวทางซ้าย
เดินเปลี่ยนที่กับฝ่ ายชายเป็ นรูปครึ่งวงกลม เมื่อถึงเนื้อเพลง "มาซิมาเจ้าเอ๋ย
มาฟ้ อนรำ มาเล่นระบำของไทยเราเอย" ให้ฝ่ายหญิงหมุนตัวกลับหลังหันทาง
ด้านขวา เดินกลับที่เดิม ฝ่ ายชายก็เดินตามฝ่ ายหญิงต่อไป
31

--------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------
32

เพลงคืนเดือนหงาย
คำร้อง   จมื่นมานิตย์นเรศ (นายเฉลิม เศวตนันท์) หัวหน้ากองการสังคีต
กรมศิลปากร (ประพันธ์ในนามกรมศิลปากร)
ทำนอง   อาจารย์มนตรี  ตราโมท

  ยามกลางคืนเดือนหงาย เย็นพระพายโบกพริว้ ปลิวมา

  เย็นอะไรก็ไม่เย็นจิต เท่าเย็นผูกมิตรไม่เบื่อระอา

  เย็นร่มธงไทยปกไปทั่วหล้า เย็นยิ่งน้ำฟ้ ามาประพรมเอย

ความหมาย  เวลากลางคืน เป็ นคืนเดือนหงาย มีลมพัดมาเย็นสบายใจ


แต่ก็ยังไม่สบายใจเท่ากับการที่ได้ผูกมิตรกับผู้อ่ น
ื  และที่ร่มเย็นไปทั่วทุก
แห่งยิ่งกว่าน้ำฝนที่โปรยลงมา ก็คือการที่ประเทศไทยเป็ นประเทศที่เป็ น
เอกราช มีธงชาติไทยเป็ นเอกลักษณ์ ทำให้ร่มเย็นทั่วไป

---------------------------------------------------------------------------------
----------------------------------------------

ท่าสอดสร้อยมาลาแปลง

แปลงมาจากท่าสอดสร้อยมาลาในเพลง
งามแสงเดือน ท่าเตรียมโดยยืนเท้าชิดกัน
มือซ้ายตัง้ วงบน มือขวาจีบหงายที่ชาย
33

พก ศีรษะเอียงขวา พอเริ่มเพลงมือขวาที่จีบหงายที่ชายพกโบกขึน
้ ไปตัง้ วง
บน โดยไม่ต้องสอดหรือม้วนมือ มือซ้ายลดวงลงแล้วพลิกข้อมือเป็ นจีบหงาย
ที่ชายพก เปลี่ยนมาเอียงซ้าย

--------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------
มือซ้ ายยกขึ ้นไปตังวงบน
้ มือขวาลดวงลงแล้ วพลิกข้ อมือเป็ นจีบหงายที่ชาย
พก เอียงขวา ทำเช่นนี ้สลับกันจนจบเพลง
การก้ าวเท้ า เริ่ มก้ าวเท้ าขวาตรงคำว่า "คืน" ก้ าวซ้ ายตรงคำว่า "เดือน" เท้ า
ขวาวางหลังด้ วยจมูกเท้ าตรงคำว่า "หงาย" เท้ าขวาเหยีบหนักลงไปตรงคำว่า
"เย็น" แล้ วก้ าวซ้ ายตรงคำว่า "พระพาย" ก้ าวขวาตรงคำว่า "พริ ว้ " แล้ วเท้ า
ซ้ ายวางหลังตรงคำว่า "มา"  
เอียงศีรษะข้ างมือจีบ และเท้ าที่วางหลังก็ข้างเดียวกับมือจีบเสมอ
34

--------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------
35

เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ
คำร้อง  ท่านผู้หญิงละเอียด  พิบูลสงคราม
ทำนอง   อาจารย์มนตรี  ตราโมท

  ดวงจันทร์วันเพ็ญ ลอยเด่นอยู่ในนภา

  ทรงกลดสดสี รัศมีทอแสงงามตา

  แสงจันทร์อร่าม ฉายงามส่องฟ้ า

  ไม่งามเท่าหน้า นวลน้องยองใย

  งามเอยแสนงาม งามจริงยอดหญิงชาติไทย

  งามวงพักตร์ยิ่งดวงจันทรา จริตกิริยานิ่มนวลละไม

  วาจากังวาน อ่อนหวานจับใจ

  รูปทรงสมส่วนยั่วยวนหทัย สมเป็ นดอกไม้ขวัญใจชาติเอย

ความหมาย  พระจันทร์เต็มดวงที่ลอยอยู่บนท้องฟ้ านัน
้ ช่างดูสวยงาม เพ
ราะเป็ นพระจันทร์ทรงกลด คือมีแสงเลื่อมกระจายออกรอบดวงจันทร์
ทัง้ ดวง แต่ถึงจะงามอย่างไรก็ยังไม่เท่าความงามของดวงหน้าหญิงสาว ที่
ดูผุดผ่องมีน้ำมีนวล อีกทัง้ รูปร่างก็ดูสมส่วน กิริยาวาจาก็อ่อนหวาน
ไพเราะ สมแล้วกับที่เปรียบว่าหญิงไทยนีค
้ ือดอกไม้ของชาติไทยเรา
36

---------------------------------------------------------------------------------
----------------------------------------------

--------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------

ดวงจันทร์
ท่าแขกเต้าเข้ารัง , ผาลาเพียงไหล่
ท่าแขกเต้าเข้ารัง มือขวาจีบสูง มือซ้ายจีบ
อยู่ใต้ศอกขวา เท้าซ้ายแตะเท้าขวา เอียง
ซ้าย
37

--------------------------------------------------------------------------------------

------------------------------------------------วันเพ็ญ

มือซ้ายจีบสูง มือขวาจีบอยู่ใต้ศอกซ้าย เท้าขวาแตะเท้าซ้าย เอียงขวา


38

--------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------
39

--------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------

ลอยเด่น
ใช้เท้าขวาที่แตะหมุนตัวไปทางขวา มือขวา
ที่จีบอยู่ใต้ศอกเปลี่ยนเป็ นจีบปรกข้าง มือ
ซ้ายที่จีบสูงเปลี่ยนเป็ นตัง้ วง เอียงขวา ก้าว
เท้าซ้ายไขว้เท้าขวา
40

--------------------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------

-อยู่ในนภา

หมุนตัว ถอยเท้าขวาลงวางหลัง หันหน้า


กลับที่เดิม
ท่าผาลา มือขวาตัง้ วง มือซ้ายแบหงายต่ำ
ระดับเอว เอียงขวา ใช้เท้าซ้ายแตะเท้า
ขวา เอียงขวา

--------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------
41

--------------------------------------------------------------------------------------

------------------------------------------------ทรงกลด

ท่าแขกเต้าเข้ารัง มือซ้ายจีบสูง มือขวาจีบอยู่ใต้ศอกซ้าย เท้าขวาแตะเท้า


ซ้าย เอียงขวา
42

--------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------

สดสี
มือขวาจีบสูง มือซ้ายจีบอยู่ใต้ศอกขวา
เท้าซ้ายแตะเท้าขวา เอียงซ้าย

--------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------
43

--------------------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------

-รัศมีทอแสง

ใช้เท้าซ้ายที่แตะหมุนตัวไปทางซ้าย มือ
ซ้ายที่จีบอยู่ใต้ศอกเปลี่ยนเป็ นจีบปรกข้าง
มือขวาที่จีบสูงเปลี่ยนเป็ นตัง้ วง เอียงซ้าย
ก้าวเท้าขวาไขว้เท้าซ้าย
44

--------------------------------------------------------------------------------------

------------------------------------------------งามตาหมุนตัว

ถอยเท้าซ้ายลงวางหลัง หันหน้ากลับที่เดิม
ท่าผาลา มือซ้ายตัง้ วง มือขวาแบหงายต่ำระดับเอว เอียงซ้าย ใช้เท้าขวาแตะ
เท้าซ้าย เอียงซ้าย

*** ทำท่าเช่นนีส
้ ลับหมุนซ้ายขวา ไปจนจบเพลง
45

--------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------

เพลงดอกไม้ของชาติ
คำร้อง :  ท่านผู้หญิงละเอียด  พิบูลสงคราม
ทำนอง : อาจารย์มนตรี  ตราโมท

(สร้อย)
ขวัญใจดอกไม้ของชาติ                      งามวิลาศนวยนาดร่ายรำ (ซ้ำ)
เอวองค์อ่อนงาม                               ตามแบบนาฏศิลป์
ชีช
้ าติไทยเนาว์ถิ่น                            เจริญวัฒนธรรม
                                                            (สร้อย)
 งามทุกสิง่ สามารถ                               สร้างชาติช่วยชาย
 ดำเนินตามนโยบาย                             สู้ทนเหนื่อยยากตรากตรำ
                                                                   (สร้อย)

ความหมายเพลง : ผู้หญิงไทยเปรียบเสมือนดอกไม้อันเป็ นเอกลักษณ์ของ


ประเทศไทย การร่ายรำด้วยการแสดงออกอย่างอ่อนช้อย งดงามตามรูป
แบบความเป็ นไทยแสดงให้เห็นถึงความเจริญทางด้านวัฒนธรรมของคนไทย
นอกจากผู้หญิงจะดีเด่นทางด้านความงามแล้วยังมีความอดทน สามารถ
46

ทำงานบ้าน ช่วยเหลืองานผูช
้ ายหรือแม้งานสำคัญ ๆ ระดับประเทศก็
สามารถช่วยเหลือได้เป็ นอย่างดีไม่แพ้ผู้ชาย     

--------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------
47

------------------------------------------------

------------------------------------------------

---------------------------------------ท่ารำ

ยั่ว   
มือซ้ายตัง้ วงล่าง มือขวาจีบส่งหลัง เอียง
ศีรษะด้านเดียวกับวง ชาย-หญิงหันหน้า
เข้าหากัน โดยชายก้าวเท้าขวาออกนอกวง
รำก่อนคำร้องเล็กน้อย หญิงถอยเท้าขวา
ออกนอกวงรำเล็กน้อย
48

--------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------ก้าวซ้ายเป็ นจังหวะที่ ๑ ก้าวขวา
เป็ นจังหวะที่ ๒ แล้วจรดส้นเท้าซ้ายสองครัง้ เป็ นจังหวะที่ ๓ และ ๔ เท้าซ้าย
ถอยหลัง เป็ นจังหวะที่ ๕ พร้อมทัง้ เปลี่ยนเป็ นมือขวาตัง้ วงต่ำ มือซ้ายจีบส่ง
หลัง ศีรษะเอียงขวา รำเช่นนีไ้ ปจนจบเพลง
49

--------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------
50

เพลงหญิงไทยใจงาม
คำร้อง   ท่านผู้หญิงละเอียด  พิบล
ู สงคราม
ทำนอง  ครูเอื้อ  สุนทรสนาน

  เดือนพราว ดาวแวววาวระยับ

  แสงดาวประดับ ส่องให้เดือนงามเด่น

  ดวงหน้า โสภาเพียงเดือนเพ็ญ

  คุณความดีที่เห็น เสริมให้เด่นเลิศงาม

  ขวัญใจ หญิงไทยส่งศรีชาติ

  รูปงามวิลาส ใจกล้ากาจเรืองนาม

  เกียรติยศ ก้องปรากฎทั่วคาม

  หญิงไทยใจงาม ยิ่งเดือนดาวพราวแพรว

ความหมาย  ดวงจันทร์ที่ส่องแสงอยู่บนท้องฟ้ ามีความงดงามมาก  และ


ยิ่งได้แสงอันระยิบระยับของดวงดาวด้วยแล้ว ยิ่งทำให้ดวงจันทร์นน
ั ้ งาม
เด่นยิ่งขึน
้ เปรียบเหมือนกับดวงหน้าของหญิงสาวที่มีความงดงามอยู่แล้ว
ถ้ามีคุณความดีด้วย ก็จะทำให้หญิงนัน
้ งามเป็ นเลิศ  ผู้หญิงไทยนีเ้ ป็ น
ขวัญใจของชาติ เป็ นที่เชิดหน้าชูตาของชาติ รูปร่างก็งดงาม จิตใจก็กล้า
หาญ ดังที่มีช่ อ
ื เสียงปรากฏอยู่ทั่วไป
51

----------------------------------------------------------------------------------
----------------------------------------------

ท่าพรหมสี่หน้า, ยูงฟ้ อนหาง   


ท่าเชื่อมคือมือทัง้ สองจีบคว่ำระดับวงกลาง

--------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------แล้วสอดจีบขึน
้ ไปตัง้ วงบัวบาน
เรียกว่าท่าพรหมสี่หน้า
52
53

--------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------จากนัน
้ มือทัง้ สองค่อยๆ ลดวงบัว
บานลงมา ส่งมือทัง้ สองไปด้านหลัง แขนตึงคว่ำมือปลายนิว้ เชิดขึน
้ เป็ นท่า
ยูงฟ้ อนหาง แล้วเปลี่ยนเป็ นท่าเชื่อมคือจีบคว่ำ การก้าวท้าวเช่นเดียวกับ
เพลง "คืนเดือนหงาย"
54

--------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------
55

เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้ า
คำร้อง   ท่านผู้หญิงละเอียด  พิบล
ู สงคราม
ทำนอง  ครูเอื้อ  สุนทรสนาน

ดวงจันทร์ขวัญฟ้ า ชื่นชีวาขวัญพี่
 

  จันทร์ประจำราตรี แต่ขวัญพี่ประจำใจ

  ที่เทิดทูนคือชาติ เอกราชอธิปไตย

  ถนอมแนบสนิทใน คือขวัญใจพี่เอย

ความหมาย  ในเวลาค่ำคืนท้องฟ้ ามีดวงจันทร์ประจำอยู่  ในใจของชายก็


มีหญิงอันเป็ นสุดที่รักประจำอยู่เช่นกัน  สิ่งที่เทิดทูนยกย่องไว้ก็คือชาติ
ไทยที่เป็ นเอกราช มีอิสระแก่ตนไม่ขน
ึ ้ กับใคร และสิ่งที่แนบสนิทอยู่ในใจ
ของชายก็คือหญิงอันเป็ นสุดที่รัก

---------------------------------------------------------------------------------
----------------------------------------------

ท่าช้างประสานงา , จันทร์
ทรงกลด 
56

ท่าเชื่อม  มือทัง้ สองจีบคว่ำด้านหน้า เอียงซ้าย

--------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------

--------------------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------
-

จีบมือหงายทัง้ สองข้าง เหยียดแขนตึงไป


ข้างหน้าเสมอไหล่เป็ นท่า "ช้างประสาน
งา"
57

--------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------ท่าเชื่อม ปล่อยจีบลงเป็ นแบมือ
หงาย ปลายนิว้ ตกลงอย่างรวดเร็ว
58

--------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------
59

--------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------พลิกข้อมือทัง้ สองขึน
้ เป็ นตัง้ วง
หน้าให้ปลายนิว้ ชีข
้ น
ึ ้ ระดับคิว้ หย่อนข้อศอกพองาม
เป็ นท่า "จันทร์ทรงกลด"

การก้าวเท้า เช่นเดียวกับเพลงคืนเดือนหงาย โดยก้าวเท้าขวา ก้าวเท้าซ้าย


แล้วใช้เท้าขวาวางหลัง ก้าวเท้าซ้าย ก้าวเท้าขวา ใช้เท้าซ้ายวางหลัง ทำเช่น
นีจ
้ นจบเพลง
60

--------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------
61

เพลงยอดชายใจหาญ
คำร้อง   ท่านผู้หญิงละเอียด  พิบูลสงคราม
ทำนอง  ครูเอื้อ  สุนทรสนาน

  โอ้ยอดชายใจหาญ ขอสมานไมตรี

  น้องขอร่วมชีวี กอบกรณีย์กิจชาติ

  แม้สุดยากลำเค็ญ ไม่ขอเว้นเดินตาม

  น้องจักสู้พยายาม ทำเต็มความสามารถ

ความหมาย  ขอผูกมิตรไมตรีกับชายผู้กล้าหาญ  และจะขอมีส่วนในการ
ทำประโยชน์ทำหน้าที่ของชาวไทย แม้จะลำบากยากแค้น ก็จะขอช่วย
เหลือจนเต็มความสามารถ

---------------------------------------------------------------------------------
----------------------------------------------
62

--------------------------------------------------------------------------------------

------------------------------------------------โอ้ยอดชายใจหาญขอ

สมานไมตรี
ท่าหญิง "ชะนีร่ายไม้" ท่าชาย "จ่อเพลิงกาฬ"

(หญิง) มือขวาตัง้ วงบน มือซ้ายแบหงายระดับไหล่ แล้วพลิกข้อมือเป็ นมือตัง้


เปลี่ยนเป็ นมือหงายสลับกันไป
ตามจังหวะของเพลง ลักษณะเหมือนรำส่าย เป็ นท่า "ชะนีร่ายไม้"

(ชาย) มือซ้ายตัง้ วงบน มือขวาจีบหงายระดับต่ำกว่าวงกลางเล็กน้อย และงอ


แขนเล็กน้อย เป็ นท่า "จ่อเพลิงกาฬ"
63

--------------------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------

-น้องขอร่วมชีวีกอบกรณีย์กิจชาติ

(หญิง) มือซ้ายตัง้ วงบน มือขวาแบหงาย


ระดับไหล่ แล้วพลิกข้อมือเป็ นมือตัง้
เปลี่ยนเป็ นมือหงายสลับกันไป
(ชาย) มือขวาตัง้ วงบน มือซ้ายจีบหงาย
ระดับต่ำกว่าวงกลาง
ทำท่าเช่นนีส
้ ลับกันจนจบเพลง ส่วนการ
ก้าวเท้า จะก้าวเท้าไปเรื่อยๆตามจังหวะ
ของเพลงและเดินเบี่ยงตัวออกนอกวงรำ
64

--------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------
65

เพลงบูชานักรบ
คำร้อง   ท่านผู้หญิงละเอียด  พิบูลสงคราม
ทำนอง  ครูเอื้อ  สุนทรสนาน

  น้องรักรักบูชาพี่ ที่มั่นคงที่มั่นคงกล้าหาญ

  เป็ นนักสู้เชี่ยวชาญ สมศักดิช์ าตินก


ั รบ

  น้องรักรักบูชาพี่  ที่มานะที่มานะอดทน

  หนักแสนหนักพี่ผจญ เกียรติพี่ขจรจบ

  น้องรักรักบูชาพี่ ที่ขยันที่ขยันกิจการ

ทำทุกด้านทำทุกด้านครัน
  บากบั่นสร้างหลักฐาน
ครบ

  น้องรักรักบูชาพี่ ที่รักชาติที่รักชาติยิ่งชีวิต

  เลือดเนื้อพีพ
่ ลีอุทิศ ชาติยงอยู่ยงอยู่คู่พิภพ

ความหมาย  น้องรักและบูชาพี่ เพราะมีความกล้าหาญ เป็ นนักสู้ที่เก่ง


กล้าสามารถสมกับเป็ นชายชาตินักรบที่มีความมานะอดทน แม้ว่าจะยาก
เย็นแสนเข็ญ พี่ก็ต่อสู้จนชื่อเสียงเลื่องลือไปทั่ว  นอกจากนีย
้ ังขยันขัน
แข็งในงานทุกอย่าง อุตส่าห์สร้างหลักฐานให้มั่นคง และพี่ยังมีความรัก
66

ในชาติบ้านเมืองยิ่งกว่าชีวิต ยอมสละได้แม้ชีวิตและเลือดเนื้อเพื่อให้ชาติ
ไทยคงอยู่คู่โลกต่อไป

---------------------------------------------------------------------------------
----------------------------------------------
67

--------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------เที่ยวที่ ๑ ท่าหญิง "ขัดจางนาง"
ท่าชาย "จันทร์ทรงกลด"

(หญิง) มือทัง้ สองจีบคว่ำ
(ชาย) มือทัง้ สองจีบคว่ำระดับวงกลาง
68

--------------------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------------------

-รักบูชาพี่

(หญิง) พลิกข้อมือเป็ นจีบหงายไขว้กัน


มือขวาทับซ้ายอยู่ระดับวงล่าง เอียงขวา
(ชาย) พลิกข้อมือเป็ นจีบหงายระดับวง
กลาง งอแขนเล็กน้อย

--------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------
69

--------------------------------------------------------------------------------------

------------------------------------------------ที่มั่นคง

(หญิง) สลัดจีบเป็ นมือแบหงายปลายนิว้ ตก
(ชาย) สลัดจีบเป็ นมือแบหงายปลายนิว้ ตก ระดับวงกลาง
70

--------------------------------------------------------------------------------------

------------------------------------------------ที่มั่นคงกล้าหาญ

(หญิง) พลิกมือขึน
้ ตัง้ วงล่าง มือยังไขว้กันอยู่เอียงซ้าย เป็ นท่า"ขัดจางนาง"
(ชาย) พลิกมือขึน
้ ตัง้ วงกลาง เป็ นท่า "จันทร์ทรงกลด"

การก้าวเท้า เท้าขวาก้าวข้าง ก้าวเท้าซ้ายไขว้ ก้าวเท้าขวา แล้วจรดจมูกเท้า


ซ้ายย่อเข่าลง จากนัน
้ เท้าซ้ายก้าวข้าง เท้าขวาก้าวไขว้ เท้าขวาจรดจมูกเท้า
แล้วย่อเข่า ทำเช่นนีส
้ ลับกันตามจังหวะ จนจบหนึ่งรอบ
71

--------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------

--------------------------------------------------------------------------------------

------------------------------------------------น้องรักรักบูชาพี่

เที่ยวที่ ๒ ท่าหญิง "ล่อแก้ว" ท่าชาย "ขอแก้ว"

(หญิง) จังหวะที่ ๑ มือซ้ายเลื่อนขึน
้ ไปตัง้ วงบน มือขวาจีบล่อแก้วคว่ำ แล้ว
เปลี่ยนเป็ นจีบล่อแก้วหงาย หักข้อมือเข้าลำแขน แขนตึงต่ำกว่าไหล่เล็กน้อย
(ชาย) จังหวะที่ ๑ มือซ้ายตัง้ วงบน มือขวาช้อนมือหมุนข้อมือไปทางนิว้ ก้อย
72

แล้วแบมือในลักษณะขอ โดยยื่นมือไปรับแก้วของหญิง แขนงอเล็กน้อย


การก้าวเท้าเหมือนกัน โดยเท้าขวาหนักหลังก่อน เริ่มก้าวเท้าซ้าย ก้าวเท้า
ขวา เท้าซ้ายวางหลัง

--------------------------------------------------------------------------------------

------------------------------------------------ที่มั่นคงที่มั่นคงกล้าหาญ

(หญิง) จังหวะที่ ๒ ปล่อยจีบล่อแก้วลงเป็ นแบมือหงายปลายนิว้ ตก แล้วยก


ขึน
้ ตัง้ วงบน มือซ้ายจีบล่อแก้วคว่ำระดับวงบนแล้วเปลี่ยนเป็ นจีบล่อแก้ว
หงาย
73

(ชาย) มือขวาเปลี่ยนไปเป็ นตัง้ วงบน มือซ้ายแบมือยื่นออกไปรับแก้วของ


หญิง
การก้าวเท้า เท้าซ้ายหนักหลังก่อน แล้วก้าวเท้าขวา ก้าวเท้าซ้าย เท้าขวา
วางหลัง

--------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------

-------------------------------------------------------------บรรนานุ
กรม----------------------------------------------------------

http://www.banramthai.com/html/ramwong.html

https://sites.google.com/a/pongsanook.ac.th/krutanakorn1/k
hana-rayngan

https://sites.google.com/site/panomkorn1kong1/phelng-
dxkmi-khxng-cha

https://th.wikipedia.org/wiki/
%E0%B8%A3%E0%B8%B3%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0
74

%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8
%90%E0%B8%B2%E0%B8%99

https://hilight.kapook.com/view/78920

https://search.yahoo.com/search;_ ประวัติรําวงมาตรฐาน เพลงรําวงมาตรฐาน 10 เพลง

--------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------

You might also like