You are on page 1of 15

รายงาน

เรื่อง วิวัฒนาการของดนตรีสากลในแต่ละยุคสมัย

เสนอ

อาจารย์ ณัฐวุฒิ วงศรีจันทร์

จัดทำโดย

ด.ช.ชยางกูร เกศธนากร ม.3/1 เลขที่ 22


รายงานนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของวิชาศิลปะพื้นฐาน 2
ศ 23104

มัธนมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2563

โรงเรียนสาธิตมหาวิยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี

คำนำ

รายงานเล่มนีจ
้ ัดทำขึน
้ เพื่อเป็ นส่วนหนึ่งของ วิชา
ศิลปะพื้นฐาน 2 เพื่อได้ให้ศึกษาหา ความรู้ในเรื่อง
วิวัฒนาการของดนตรีสากลในแต่ละยุคสมัยละศึกษาอย่าง
เข้าใจเพื่อเป็ นประโยชน์กับการเรียน
ผู้จัดทำหวังว่า รายงานเล่มนีจ
้ ะเป็ นประโยชน์กับผู้อา่ น
หรือนักเรียนที่กำลังหาข้อมูล เรื่องนีอ
้ ยูห
่ ากมีขอ
้ แนะนำหรือ
ข้อผิดพลาดประการใดผูจ
้ ะดทำขอน้อมรับไว้และ ขออภัย
มา ณ ทีน
่ ด
ี ้ ้วย
ผู้จัดทำ

25 ม ก ร า ค ม
พ.ศ. 2565

สารบัญ

เรื่อง หน้า

คำนำ ข

สารบัญ ค

ยุคกลาง 1

ยุคฟื้ นฟูศิลปะวิทยาการ 2


ยุคบาโรค 3

ยุคคลาสสิค 4

ยุคโรแมนติก 5

ยุคศตวรรษที่ 20 6


ยุคกลาง

  เริ่มประมาณปี ค.ศ. 400 - 1400 ในสมัยกลางนีโ้ บสถ์เป็ น


ศูนย์กลางทัง้ ทางด้านดนตรี ศิลปะ การศึกษาและการเมือง
วิวัฒนาการของดนตรีตะวันตกมีการบันทึกไว้ตงั ้ แต่เริ่มแรกของค
ริ สต์ศาสนา บทเพลงทางศาสนาซึ่งเกิดขึน
้ จากกราประสม
ประสานระหว่างดนตรีโรมัน โบราณกับดนตรียิวโบราณ เพลง
แต่งเพื่อพิธีทางศาสนาคริสต์เป็ นส่วนใหญ่ โดยนำคำสอนจาก
พระคัมภีร์มาร้องเป็ นทำนอง เพื่อให้ประชาชนได้เกิดอาราณ์
ซาบซึง้ และมีศรัทธาแก่กล้าในศาสนา ไมใช่เพื่อความไพเราะ
ของทำนอง หรือความสนุกสนานของจังหวะ เมื่อศาสนาคริสต์
แพร่กระจายไปทั่วโลก ประเทศต่างๆ ได้นำบทเพลงที่ชาติตนเอง
คุ้นเคยมาร้องในพิธีสักการะพระเจ้า ดังนัน
้ เพลงที่ใช้ร้องในพิธี
ของศาสนาคริสต์จึงแตกต่างกันไปตามภ ูมิภาคและเชื้อชาติที่
นับถือ
               เมื่อคริสต์ศาสนาเข้มแข็งขึน
้ ได้มีการกำหนดหลัก
เกณฑ์ที่แน่นอนในการขับร้องเพลงสวด ที่เรียกว่า ชานท์ จนเป็ น
ที่ยอมรับในหมู่พวกศาสนาคริสต์ สันตะปาปาเกรกอรี พระผู้นำ
ศาสนาในยุคนัน
้ คือ ผู้ที่รวบรวมบทสวดต่างๆ ที่มีอยู่ ให้เป็ น
หมวดหมู่ เปลี่ยนคำร้องจากภาษากรีกให้เป็ นภาษาละติน
กำหนดลำดับเพลงสวดไว้อย่างชัดเจน เพื่อให้ทุกคนปฏิบัติ

1
เหมือนกัน ผลงานการรวบรวมบทสวดของสันตะปาปาเกรกอรี
ถูกเรียกว่า เกรกอรีชานท์ หรือบทสวดของเกรกอรี ซึ่งในศาสนา
คริสต์นิกายโรมันแคธอลิคก็ยังนำมาใช้อยู่จนปั จจุบัน ชานท์เป็ น
บทเพลงรองที่มีแต่ทำนอง ไม่มีการประสานเสียงและไม่มีการ
บังคับจังหวะ แต่ขน
ึ้ อยู่กับความเชี่ยวชาญและรสนิยมของนัก
ร้องเอง เพลงประเภทนีถ
้ ูกเรียกว่า เพลงเสียงเดียว หรือเรียกว่า
โมโนโฟนี
              วิวัฒนาการที่สำคัญที่สุดของดนตรีเกิดขึน
้ ที่ปลายยุค
กลาง ราวคริสต์ศตวรรษที่ 9 คือ การเพิ่มแนวร้องขึน
้ อีกแนว
หนึ่ง เป็ นเสียงร้องที่เป็ นคู่ขนานกับทำนองหลัก กำหนดให้ร้อง
พร้อมกันไป วิธีการเขียนเพลงที่มี 2 แนวนีเ้ รียกว่า ออร์แกนุม
จากจุดเริ่มนีเ้ องดนตรีสากลก็ได้พัฒนาไปอย่างมากมาย จากแนว
สองแนวที่ขนานกันเป็ นสองแนวแต่ไม่จำเป็ นต้องขนานกันเสมอไ
ป สวนทางกันได้ ต่อมาได้เพิ่มเสียงสองแนวเป็ นสามแนวและ
เป็ นสี่แนว จากเพลงร้องดัง้ เดิมที่มีเพียงเสียงเดียว ได้พัฒนาขึน

กลายเป็ นเพลงหลายแนวเสียงหรือเรียกว่าโพลีโฟนี

ยุคฟื้ นฟูศิลปะวิทยาการ

2
  สมัยเรเนสซองส์ หรือ สมัยฟื้ นฟูศิลปวิทยา เริ่มประมาณ

ค.ศ. 1400 – 1600 เพลงศาสนายังมีความสำคัญอยู่เช่นเดิม


เพลงสำหรับประชาชนทั่วไป เพื่อให้ความบันเทิง ความ
สนุกสนาน ก็เกิดขึน
้ ด้วย การประสานเสียงได้รับการพัฒนาให้
กลมกลืนขึน
้ เพลงศาสนาเป็ นรากฐานของทฤษฎีการประสาน
เสียง เพลงในยุคนีแ
้ บ่งเป็ นสองแบบ ส่วนใหญ่จะเป็ นแบบที่เรียก
ว่า อิมมิเททีฟโพลีโฟนี (Imitative Polyphony) คือ มีหลาย
แนว และแต่ละแนวจะเริ่มไม่พร้อมกัน ทุกแนวเสียงมีความ
สำคัญแบบที่สองเรียกว่า โฮโมโฟนี (Homophony) คือ มีหลาย
แนวเสียงและบรรเลงไปพร้อมกัน มีเพียงแนวเสียงเดียวที่เด่น
แนวเสียงอื่นๆ เป็ นเพียงเสียงประกอบ เพลงในสมัยนี ้ ยังไม่มีการ
แบ่งจังหวะที่แน่นอน คือ ยังไม่มีการแบ่งห้องออกเป็ น 3/4 หรือ
4/4 เพลงส่วนใหญ่ก็ยังเกี่ยวข้องกับคริสต์ศาสนาอยู่เพลงประ
กอบขัน
้ ต อนต่างๆ ของพิธีทางศาสนาที่สำคัญ คือ เพลงแมส
(Mass) และโมเต็ท (Motet) คำร้องเป็ นภาษาละติน เพลงที่
ไม่ใช่เพลงศาสนาก็เริ่มนิยมกันมากขึน
้ ได้แก่ เพลงประเภท แม
ดริกัล (Madrigal) ซึ่งมีเนื้อร้องเกี่ยวกับความรัก หรือยกย่อง
บุคคลสำคัญ และมักจะมีจังหวะสนุกสนาน นอกจากนีย
้ ังใช้
ภาษาประจำชาติของแต่ละชาติ

3
            เพลงบรรเลงเริ่มมีบทบาทในยุคนี ้ เครื่องดนตรีที่นำมา
ใช้ในการบรรเลง คือ ลูท ออร์แกนลม ฮาร์พซิคอร์ด เวอจินัล
ขลุ่ยเรคอร์เดอร์ ซอวิโอล องค์ประกอบสำคัญอย่างหนึ่งของ
ดนตรียุคนีท
้ ี่ถูกนำมาใช้ คือ ความดัง - เบาของเสียงดนตรี
(Dynamic)

ลักษณะของดนตรีในสมัยนีย
้ ังคงมีรูปแบบคล้ายในสมัย
ศิลป์ ใหม่ แต่ได้มีการปรับปรุงพัฒนารูปแบบมากขึน
้ ลักษณะการ
สอดประสานทำนอง ยังคงเป็ นลักษณะเด่น เพลงร้องยังคงนิยม
กัน แต่เพลงบรรเลงเริ่มมีบทบาทมากขึน
้ ในช่วงศตวรรษที่ 15
และ 16 รูปแบบของดนตรีมีความแตกต่างกัน

4
ยุคบาโรค

        เป็ นยุคของดนตรีในระหว่างศตวรรษที่17-18 (ราว ค.ศ.


1600-1750) การสอดประสานเป็ นลักษณะที่พบได้เสมอในปลาย
ยุค ช่วงต้นยุคมีการใช้ลักษณะ การใส่เสียงประสาน เริ่มนิยมการ
ใช้เสียงเมเจอร์   และไมเนอร์   แทนการใช้โหมดต่างๆ การ
ประสานเสียงมีหลักเกณฑ์เป็ นระบบ   มีการใช้เสียงหลัก อัตรา
จังหวะเป็ นสิ่งสำคัญของบทเพลง    การใช้ลักษณะของเสียง
เกี่ยวกับความดังค่อย  เป็ นลักษณะของความดัง-ค่อย   มากกว่า
จะใช้ลักษณะค่อยๆ ดังขึน
้ หรือค่อยๆลง  ไม่มีลักษณะของความ
ดังค่อยอย่างมาก บทเพลงบรรเลงด้วยเครื่องดนตรีเป็ นที่นิยม
มากขึน
้      บทเพลงร้องยังคงมีอยู่และเป็ นทีนิยมเช่นกัน   นิยม
การนำวงดนตรีเล่นผสมกับการเล่นเดี่ยวของกลุ่ม  เครื่องดนตรี 
2-3 ชิน
้  นักดนตรีที่ควรรู้จัก คือ มอนเมแวร์ดี  คอเรลลี วิวั
ลดี  บาค ฮันเดล

3
ยุคคลาสสิค

เป็ นยุคที่ดนตรีมีกฎเกณฑ์แบบแผนอย่างมาก  อยู่ใน
ระหว่างศตวรรษที่ 18  และช่วงต้นศตวรรษที่ 19 (ค.ศ. 1750-
1825) การใส่เสียงประสานเป็ นลักษณะเด่นของยุคนี ้   การสอด
ประสานพบได้บ้างแต่ไม่เด่นเท่าการใส่เสียงประสาน  การใช้
บันไดเสียงเมเจอร์ และไมเนอร์  เป็ นหลักในการประพันธ์
เพลง   ลักษณะของบทเพลงมีความสวยงามมีแบบแผน 
บริสุทธิ ์ มีการใช้ลักษณะของเสียงเกี่ยวกับความดังค่อยเป็ น
สำคัญ  ลีลาของเพลงอยู่ในขอบเขตที่นักประพันธ์ในยุคนีย
้ อมรับ
กัน   ไม่มีการแสดงอารมณ์   หรือความรู้สึกของผู้ประพันธ์ไว้ใน

4
บทเพลงอย่างเด่นชัด   การผสมวงดนตรีพัฒนามากขึน
้    การ
บรรเลงโดยใช้วงและการเดี่ยวดนตรีของผู้เล่นเพียงคนเดียวเป็ น
ลักษณะที่นิยมในยุคนี ้   บทเพลลงประเภทซิมโฟนีมีแบบแผนที่
นิยมกันในยุคนีเ้ ช่นเดียวกับ     เพลงเดี่ยวด้วยเครื่องดนตรีชนิด
ต่างๆ บทเพลงบรรเลงด้วยเครื่องดนตรีที่นิยมเป็ นอย่างมาก  
บทเพลงร้องมีลักษณะซับซ้อนกันมากขึน
้   เช่นเดียวกับบทเพลง
บรรเลงด้วยเครื่องดนตรี    นักดนตรีที่ควรรู้จักในยุคนี ้
คือ กลุค  ไฮเดิน  โมทซาร์ท  และเบโธเฟน

5
ยุคโรแมนติก

ดนตรีสมัยนีเ้ ริ่มประมาณปี ค.ศ. 1820 – 1900 ถือว่าเป็ น


์ องผู้นำทางศาสนาหรือ
ยุคทองของดนตรี ดนตรีมิได้เป็ นเอกสิทธิข
การปกครอง ได้มีการแสดงดนตรี (Concert) สำหรับ
สาธารณชนอย่างแพร่หลาย นักดนตรีแต่ละคนมีโอกาสแสดงออก
ซึ่งความรู้สึกของตนเองได้เต็มที ่ และต้องการสร้างสไตล์การ
เขียนเพลงของตนเองด้วย ทำให้เกิดสไตล์การเขียนเพลงของ
แต่ละท่านแตกต่างกันอย่างมาก ในยุคนีใ้ ช้ดนตรีเป็ นเครื่อง
แสดงออกของอารมณ์อย่างเต็มที่ ทุกๆ อารมณ์สามารถถ่ายทอด
ออกมาได้ด้วยเสียงดนตรีอย่างเห็นได้ชัด ดนตรีในยุคนีจ
้ ึงไม่คำนึง
ถึงรูปแบบ และความสมดุล แต่จะเน้นเนื้อหา ว่าดนตรีกำลังจะ
บอกเรื่องอะไร ให้อารมณ์อย่างไร เช่น แสดงออกถึงความรัก
ความโกรธ ความเศร้าโศกเสียใจ หรือความกลัว ด้านเสียง
ประสานก็มักจะใช้คอร์ดที่มีเสียงไม่กลมกลืน เช่น ดอร์ดโครมา
ติค (Chromatic Chord) หรือ คอร์ดที่มีระยะขัน
้ คู่เสียงกว้าง
มากขึน
้ ๆ เช่น คอร์ด 7,9 หรือ 11 นอกจากจะแสดงถึงอารมณ์
แล้ว คีตกวียังชอบเขียนเพลงบรรยายธรรมชาติเรื่องนิยายหรือ
ความคิดฝั น ของตนเอง โดยพยายามทำเสียงดนตรีออกมาให้

6
ฟั งได้ใกล้เคียงกับสิ่งที่กำลังบ รรยายมากที่สุด เพลงที่มีแนวเรื่อง
หรือทิวทัศน์ธรรมชาติเป็ นแนวการเขียนนีเ้ รีย กว่า ดนตรี
พรรณนา (Descriptive Music) หรือ โปรแกรมมิวสิค
(Program Music) สำหรับบทเพลงที่คีตกวีได้พยายามถ่ายทอด
เนื้อความมาจากคำประพันธ ์หรือบทร้อยกรอง (Poem) ต่างๆ
แล้วพรรณนาสิ่งเหล่านีอ
้ อกมาด้วยเสียงของดนตรีอย่างเหมาะ
สมนัน ้ ่า ซิมโฟนิคโพเอ็ม ต่อมาภายหลัง
้ จะเรียกบทเพลงแบบนีว
เรียกว่า โทนโพเอ็ม      

     ในยุคนีเ้ ป็ นสมัยชาตินิยมทางดนตรีด้วย คือ คีตกวีจะ


แสดงออกโดยใช้ทำนองเพลงพื้นเมืองประกอบไว้ในเพลงที่แต่ ง
ขึน
้ หรือแต่งให้มีสำเนียงของชาติตนเองมากที่สุด โดยใช้บันได
เสียงพิเศษของแต่ละชาติ ซึ่งเป็ นผลให้คนในชาติเดียวกันเกิด
ความรักใคร่กลมเกลียวกัน รักชาติบ้านเมืองเกิดความหวงแหน
ทุกสิ่งทุกอย่างบนแผ่นดินที่อาศ ัยอยู่ เช่น ซีเบลิอุส แต่งเพลง
ฟิ นแลนเดีย โชแปง แต่งเพลง มาซูกา และโพโลเนียส นอกจากนี ้
ยังมีคีตกวีชาติอ่ น
ื ๆ อีกมาก

7
ยุคสตวรรษที่ 20

เริ่มจากปี ค.ศ. 1900 จนถึงปั จจุบัน ดนตรีในยุคนีม


้ ีความ
หลากหลายมาก เนื่องจากสภาพสังคมที่เป็ นอยู่ คีตกวีพยายามที่
จะสร้างองค์ความรู้ใหม่ขน
ึ ้ มา มีการทดลองการใช้เสียงแบบ
แปลกๆ การประสาน ทำนองเพลงมีทงั ้ รูปแบบเดิม และรูปแบบ
ใหม่ คีตกวีเริ่มเบื่อและรู้สึกอึดอัดที่จะต้องแต่งเพลงไปตามกฎ
เกณฑ์ ที่ถูกบังคับ โดยระบบกุญแจหลักและบันไดเสียงเมเจอร์
และไมเนอร์ จึงพยายามหาทางออกต่างๆ กันไป มีการใช้เสียง
ประสานอย่างอิสระ ไม่เป็ นไปตามกฎของดนตรี จัดลำดับคอร์ด
ทำตามความต้องการของตน ตามสีสันของเสียงที่ตนต้องการ
ทำนองไม่มีแนวที่ชัดเจนรัดกุม เหมือนทำนองยุคคลาสสิค หรือ
โรแมนติค ฟั งเพลงเหมือนไม่มีกลุ่มเสียงหลัก ในครึ่งหลังของสมัย
นี ้ การดนตรีรุดหน้าไปอย่างไม่ลดละ นอกจากมีการฝ่ าฝื นกฎ
เกณฑ์ทางด้านทฤษฎีแล้ว ยังมีการใช้เครื่องไฟฟ้ าเข้ามาประกอบ
ด้วย เช่น มีการใช้เสียงซึ่งทำขึน
้ โดยระบบไฟฟ้ า เป็ นสัญญาณ
เสียงในระบบอนาล็อกหรือดิจิตอล หรือใช้เทปอัดเสียงในสิ่ง
แวดล้อมต่างๆ มาเปิ ดร่วมกับดนตรีที่แสดงสดๆ บนเวที และเสีย
งอื่นๆ อีกมากยุคนีจ
้ ึงเป็ นสมัยของการทดลองและบุกเบิก

หลังจากดนตรีสมัยโรแมนติกผ่านไป ความเจริญในด้านต่าง
ๆ ก็มีความสำคัญและมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตลอดมา ความ
เจริญทางด้านการค้าความเจริญทางด้านเทคโนโลยี ความ
ก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์ การขนส่ง การสื่อสาร ดาวเทียม

8
หรือ แม้กระทั่งทางด้านคอมพิวเตอร์ ทำให้แนวความคิดทัศนคติ
ของมนุษย์เราเปลี่ยนแปลงไปและแตกต่างจาก แนวคิดของคนใน
สมัยก่อน ๆ จึงส่งผลให้ดนตรีมีการพัฒนาเกิดขึน
้ หลายรูปแบบ
คีตกวีทงั ้ หลายต่างก็ได้พยายามคิดวิธีการแต่งเพลง การสร้าง
เสียงใหม่ ๆ รวมถึงรูปแบบการบรรเลงดนตรี เป็ นต้น

ลักษณะของบทเพลงในสมัยศตวรรษที่ 20

ดนตรีในศตวรรษที่ 20 นีไ้ ม่อาจที่จะคาดคะเนได้มากนัก


เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วตามความเจริญ
ก้าวหน้าทาง ด้านเทคโนโลยีการเลื่อนไหลทางวัฒนธรรม คนใน
โลกเริ่มใกล้ชิดกันมากขึน
้ (Globalization) โดยใช้เครือข่าย
คอมพิวเตอร์ หรืออินเตอร์เน็ต (Internet) ในส่วนขององค์
ประกอบทางดนตรีในศตวรรษนีม
้ ีความซับซ้อนมากขึน
้ มา ตร
ฐานของรูปแบบที่ใช้ในการประพันธ์และการทำเสียงประสานโดย
ยึดแบ บแผนมาจากสมัยคลาสสิก ได้มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
และสร้างทฤษฎีขน
ึ้ มาใหม่เพื่อรองรับ

You might also like