You are on page 1of 22

หน่วยการเรียนรู ้ที่ 5

เรือ
่ ง ยุคสมัยของดนตรี
จ ัดทำโดย
นางสาว จินตนา เพชรแก้ว ชนั้ ม.6
โรงเรียนน้ำรอบวิทยา
ยุคสม ัยของดนตรีไทย
ดนตรีไทย เป็นศล ิ ปะแขนงหนึง่ ของไทย ได้
ร ับอิทธิพลมา จากประเทศ
ต่างๆ เชน ่  อินเดีย, จีน, อินโดนีเซยี  และอืน ่ ๆ เครือ
่ ง
ดนตรีม ี 4 ประเภท ดีด ส ี ตี เป่า ดนตรีไทย ถือว่า
เป็นมรดกทางว ัฒนธรรมอ ันล้ำค่าของชนชาติไทย
มาตงแต่
ั้ ครงโบราณซ
ั้ งึ่ ดนตรีไทยได้มก ี ารพ ัฒนา
มาเรือ ่ ยๆ ตงแต่
ั้ อดีตจนถึงปัจจุบ ัน ซงึ่ จะขอแบ่งยุค
ของดนตรีไทย เพือ ่ ให้สะดวกต่อการศก ึ ษา ด ังนี้
 
สม ัยก่อนกรุงสุโขท ัยเป็นราชธานี

ดนตรีไทยสมัยก่อนกรุงสุโขทัยเป็ นราชธานี
 มีประวัตค ิ วามเป็ นมาควบคูก ่ บ
ั ชนชาติไทย ก่อนทีจ่ ะอพยพ
มาสูถ ่ น
ิ่ แหลมทองในปั จจุบน ั  เครือ ิ้ แรกทีค
่ งดนตรีชน ่ ้นพบ
คือ กลองและแคน ต่อมาได ้พัฒนาจากแคนเป็ นปี่ ซอและ
ขลุย่  ซงึ่ เป็ นเครือ
่ งดนตรีประเภทเป่ า เพราะทำได ้ง่ายเพียง
แต่เจาะรูแล ้วทำเครือ ่ งบังคับลมก็สามารถเป่ าเป็ นเสย ี ง
ดนตรีได ้แล ้ว
สม ัยกรุงสุโขท ัยเป็นราชธานี

เครือ
่ งดนตรีไทยในสมัยสุโขทัยเป็ นราชธานีนัน ้
เครือ่ งดนตรีมค ี รบ ทัง้  4 ประเภท อย่างเชน ่ สมัยปั จจุบน ั
คือ เครือ่ งดีด ได ้แก่ พิณ เป็ นต ้น เครือ
่ งเป่ า ได ้แก่ ปี่ ขลุย ่
เป็ นต ้น เครือ
่ งตี ได ้แก่ ระนาด ฆ ้อง กลอง เป็ นต ้นเครือ ่ งส ี
ได ้แก่ ซอ เป็ นต ้น
สม ัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี

ดนตรีไทยในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็ นราชธานี ได ้
พัฒนาอย่างต่อเนือ ่ งจากสมัยสุโขทัยเป็ นราชธานี  และมี
การคิดค ้นเครือ
่ งดนตรีเพิม
่ เติมประชาชนนิยมเล่นดนตรี
ไทย กันอย่างกว ้างขวาง แม ้แต่ในเขตพระราชฐาน จนต ้อง
มีการออกกฎมณเฑียรบาลเกีย ่ วกับการห ้ามเล่นดนตรีไทย
ในเขตพระราชฐาน
 
สม ัยกรุงธนบุร ี

เนือ่ งจากพระมหากรุณาธิคณ ุ ทีม


่ ต
ี อ
่ แผ่นดินไทยอย่าง
อเนกอนันต์รัฐบาลไทยจึงได ้ประกาศให ้วันที ่ 28 ธันวาคม
ของทุกปี เป็ น "ว ันสมเด็จพระเจ้าตากสน ิ " และยังทรงได ้
รับสมัญญานาม มหาราช แม ้ตลอดรัชกาลเป็ นชว่ งระยะ
เวลาอันสน ั ้ เพียงแค่ 15 ปี  ประกอบกับเป็ นสมัยแห่งการก่อ
ร่างสร ้างเมือง และการป้ องกันประเทศเสย ี โดยมาก วง
ดนตรีไทยในสมัยนีจ ้ งึ ไม่ปรากฏหลักฐานไว ้ว่า ได ้มีการ
พัฒนาเปลีย ่ นแปลงขึน ั นิษฐานว่า ยังคงเป็ นลักษณะ
้  สน
และรูปแบบของ ดนตรีไทย ในสมัยกรุงศรีอยุธยานั่นเอง
ิ ทร์ 
สม ัยกรุงร ัตนโกสน

หลังจากบ ้านเมืองได ้ผ่านพ ้นจากภาวะศก ึ สงครามและได ้มีการ


ก่อสร ้างเมืองให ้มั่นคงเป็ นปึ กแผ่น เกิดความ สงบร่มเย็น โดยทั่วไป
แล ้ว ศลิ ป วัฒนธรรม ของชาติ ก็ได ้รับการฟื้ นฟูทะนุบำรุง และสง่
เสริมให ้เจริญรุง่ เรืองขึน
้ โดยเฉพาะ ทางด ้าน ดนตรีไทย ในสมัยนีไ ้ ด้
มีการพัฒนาเปลีย ่ นแปลงเจริญขึน ้ เป็ นลำดับ
 
สม ัยร ัชกาลที ่ 1  
 

ในสมัยนีด ้ นตรีไทยสว่ นใหญ่


ยังคงมีลก ั ษณะรูปแบบตามทีม ่ ม ี า
ตัง้ แต่ สมัยกรุงศรีอยุธยา ที่
พัฒนาขึน ้ บ ้างในสมัยนีก ้ ็คอ
ื การ
เพิม ่ กลองทัด ขึน ้ อีก 1 ลูก ใน วง
ปี่ พาทย์ ซงึ่ แต่เดิมมา มีแค่ 1 ลูก
รวม มี กลองทัด 2 ลูก มีเสย ี งสูง
(ตัวผู ้) ลูกหนึง่ และ เสย ี งต่ำ (ตัว
เมีย) ลูกหนึง่ และการใช ้ กลอง
ทัด 2 ลูก ในวงปี่ พาทย์นี้ ก็เป็ นที่
นิยมกันมา จนกระทั่งปั จจุบน ั นี้
 
สม ัยร ัชกาลที ่ 2  

การพัฒนาเปลีย ่ นแปลง
ของดนตรีไทยในสมัยนีก ้ ็คอื
ได ้มีการนำเอา วงปี่ พาทย์มา
บรรเลง ประกอบการขับเสภา
เป็ นครัง้ แรก นอกจากนี้ ยังมี
กลองชนิดหนึง่ เกิดขึน ้ โดย
ดัดแปลงจาก "เปิ งมาง" ของ
มอญ ต่อมาเรียกกลองชนิดนี้
ว่า "สองหน ้า" ใชตี้ กำกับ
จังหวะแทนเสย ี งตะโพนในวง
ปี่ พาทย์ ประกอบการขับเสภา
เนือ่ งจากเห็นว่าตะโพนดัง
เกินไป จนกระทัง่ กลบเสย ี ง
สม ัยร ัชกาลที ่ 3  

วงปี่ พาทย์ได ้พัฒนาขึน ้


เป็ นวงปี่ พาทย์เครือ
่ งคู่ เพราะ
ได ้มีการประดิษฐ์ระนาดทุ ้ม
มาคูก่ บ
ั ระนาดเอก และ
ประดิษฐ์ฆ ้องวงเล็กมาคูก ่ บ

ฆ ้องวงใหญ่
สม ัยร ัชกาลที ่ 4  

วงปี่ พาทย์ได ้พัฒนาขึน ้ เป็ นวง


ปี่ พาทย์เครือ ่ งใหญ่ เพราะได ้มี
การประดิษฐ์ เครือ ่ งดนตรี เพิม ่ ขึน

อีก 2 ชนิด เลียนแบบ ระนาดเอก

และระนาดทุ ้ม โดยใชโลหะทำลู ก
ระนาด และทำรางระนาดให ้แตก
ต่างไปจากรางระนาดเอก และ
ระนาดทุ ้ม (ไม ้) เรียกว่า ระนาดเอก
เหล็ก และระนาดทุ ้มเหล็ก นำมา
บรรเลงเพิม ่ ในวงปี่ พาทย์เครือ่ งคู่
ทำให ้ ขนาดของ วงปี่ พาทย์ขยาย
ใหญ่ขน ึ้ จึงเรียกว่า วงปี่ พาทย์
เครือ่ งใหญ่ อนึง่ ในสมัยนี้
สม ัยร ัชกาลที ่ 5  

ได ้มีการปรับปรุงวงปี่
พาทย์ขน ึ้ ใหม่ชนิดหนึง่ ซงึ่
ต่อมาเรียกว่า "วงปี่ พาทย์
ดึกดำบรรพ์" โดยสมเด็จ
กรมพระยานริศรานุวด ั ติวงศ ์
สำหรับใชบรรเลงประกอบ

การแสดง "ละคร
ดึกดำบรรพ์" ซงึ่ เป็ น ละคร
ทีเ่ พิง่ ปรับปรุงขึน ้ ในสมัย
รัชกาลนีเ้ ชน ่ กัน หลักการ
ปรับปรุงของท่านก็โดยการ
ตัดเครือ ่ งดนตรีชนิดเสย ี ง
สม ัยร ัชกาลที ่ 6  

ได ้มีการปรับปรุงวงปี่
พาทย์ขน ึ้ มาอีกชนิดหนึง่
โดยนำวงดนตรีของมอญมา
ผสมกับ วงปี่ พาทย์ของไทย
ต่อมาเรียกวงดนตรีผสมนีว้ า่
"วงปี่ พาทย์มอญโดยหลวง
ประดิษฐไพเราะ  นอกจากนี้
ยังได ้มี การนำเครือ่ งดนตรี
ของต่างชาติ เข ้ามาบรรเลง
ผสมกับ วงดนตรีไทย บาง
ชนิดก็นำมาดัดแปลงเป็ น
เครือ
่ งดนตรีของไทย ทำให ้
สม ัยร ัชกาลที่ 7

เนือ
่ งจากวิถชี วี ต
ิ และสงั คม
ไทยเปลีย ่ นแปลงไปจากเดิม
วัฒนธรรมทางดนตรีของต่าง
ชาติ ได ้เข ้ามามีบทบาทใน
ชวี ต
ิ ประจำวันของคนไทยเป็ น
อันมาก ดนตรีทเี่ ราได ้ยินได ้
ฟั ง และได ้เห็นกันทางวิทยุ
โทรทัศน์ หรือทีบ ่ รรเลงตาม
งานต่าง ๆ โดยมากก็เป็ น
ดนตรีของต่างชาติ หาใช ่
"เสย ี งพาทย์ เสย ี งพิณ" ดังแต่
ก่อนไม่
สม ัยร ัชกาลที่ 8

พระองค์เสด็จสวรรคตด ้วย
ทรงต ้องพระแสงปื นเมือ ่ วัน
ที ่ 9 มิถน
ุ ายน พ.ศ.
2489 ณ ห ้องพระ
บรรทม พระทีน ่ ั่งบรม
พิมาน ภายในพระบรม
มหาราชวัง
สม ัยร ัชกาลที่ 9

  ด ้วยพระองค์ได ้ทรงเชย ี่ วชาญ


ทางด ้านดนตรีสากลในแนวดนตรี
แจ๊สเป็ นพิเศษ แต่ก็มไิ ด ้ละทิง้
แขนงดนตรีไทย ทรงให ้กา
รอุปถัมป์ วงการดนตรีไทยเรือ ่ ยมา
พระองค์ได ้ทรงพระราชนิพนธ์
บทเพลง ทรงเชย ี่ วชาญรอบรู ้เรือ ่ ง
ดนตรีเป็ นอย่างดีและทรงเครือ ่ ง
ดนตรีได ้หลายชนิด เชน ่  แซก ็ โซ
โฟน คราริเน็ ต ทรัมเป็ ต กีตาร์ และ
เปี ยโน โปรดดนตรีแจ๊สเป็ นอย่าง
มากและพระองค์ได ้พระราชนิพนธ์
เพลงทีม ่ ค
ี วามหมายและไพเราะ
หลายเพลง
สรุปใจความสำค ัญ
 

จากสมัยสุโขทัยสบ ื ต่อมาสมัยอยุธยาจนถึงปั จจุบน ั ดนตรีไทยจัด


เป็ นดนตรีทม ี่ แ
ี บบแผนหรือดนตรีคลาสสก ิ (Classic Music) เครือ
่ งดนตรี
ไทยนัน ้ กรมศล ิ ปากร จำแนกไว ้รวมทัง้ สน ิ้  56 ชนิด ประกอบด ้วยเครือ ่ ง
ตี เครือ ่ งเป่ า เครือ ่ งดีด และเครือ ่ งส ี เครือ
่ งดนตรีไทยทีน ่ ยิ มใชกั้ นมาก
ดังนี้
 - เครือ ่ งดีด ได ้แก่ พิณน้ำเต ้า พิณ เพ ้ย กระจับปี่ ซงึ จะเข ้
 - เครือ ่ งส ี ได ้แก่ ซอด ้วง ซออู ้ ซอสามสาย ซอล ้อ
- เครือ่ งตีประเภทไม ้ ได ้แก่ เกราะ โกร่ง กรับ ระนาดเอก ระนาดทุ ้ม
เครือ่ งตีทท ี่ ำด ้วยโลหะ ได ้แก่ ระนาดเอกเหล็ก ระนาดทุ ้มเหล็ก ฉิง่
ฉาบ โหม่ง ฆ ้อง หุย ่ และเครือ ่ งตีทที่ ำด ้วยหนัง ได ้แก่ กลองทุก
ประเภท
- เครือ ่ งเป่ า ได ้แก่ ขลุย ่ ปี่ แคน แตร สงั ข์ เป็ นต ้น
ยุคสมัยของดนตรีสากล
• ดนตรีสากลแบ่งเป็น 7 สม ัยใหญ่ ๆ ด ังนี้
• 1. สม ัยกลาง  พ.ศ. 1393 – 1993 ก่อนสมัยนีร้ าวศตวรรษที่ 6
ดนตรีขน ึ้ อยูก
่ บ
ั ศาสนา เป็ นผู ้รวบรวมบทสวด เป็ นทำนองเดียว
โดยได ้ต ้นฉบับจากกรีก เป็ นภาษาละติน ต่อมาจึงมี 2 ทำนอง
ศตวรรษที่ 11 การศก ึ ษาเริม
่ ในโบสถ์ในสมัยกลางนีเ้ องได ้เริม ่ มีการ
บันทึกตัวโน ้ต ขึน ้
• 2. สม ัยฟื้ นฟูศล ิ ปวิทยา ยุคนีเ้ ริม
่ ตัง้ แต่ พ.ศ. 1993 – 2143 ตรงกับ
สมัยโคลัมบัส และเชคสเปี ยร์ ดนตรีในยุคนีม ้ ักจะเป็ นการเริม
่ ร ้อง
หมูเ่ ล็ก ๆ สว่ นใหญ่จะเกีย ่ วกับการร ้องเพือ ่ สรรเสริญพระเจ ้า ร ้องกัน
ในโบสถ์ม ี 4 แนว คือ โซปราโน อัลโต เทเนอร์ และเบส การร ้องจะ
มีออร์แกนหรือขลุย ่ คลอ ดนตรีในสมัยนีย ้ ังไม่มโี น ้ตอ่าน และมัก
เล่นตามเสย ี งร ้อง
• 3. สม ัยโบราค  ยุคนีเ้ ริม ่ ตัง้ แต่ พ.ศ. 2143 – 2293 และนักดนตรีทม ี่ ช ื่
ี อ
เสย ี งในยุคนีไ ้ ด ้แก่ บาค ไฮเดิล ในยุคต ้นของสมัยบาโรค ( พ.ศ. 2143 –
2218 ) มีเครือ ่ งดนตรีประมาณ 20 – 30 ชน ิ้ สลับกันเล่น เพือ ่ ให ้มีรสชาติใน
การฟั งเครือ ่ งดนตรีในการคลอเสย ี งร ้อง เชน ่ ลิว้ ท์ ขลุย่ ต่อมาได ้
วิวฒ
ั นาการใชเครื ้ อ ่ งสายมากขึน ้ เพือ่ ประกอบการเต ้นรำ รวมทัง้ เครือ ่ งลม
ไม ้ด ้วย ในสมัยนีผ ้ ู ้อำนวยเพลงจะเล่นฮาร์พซค ิ อร์ด
•             4. สม ัยคลาสสค ิ ตัง้ แต่ พ.ศ. 2273 – 2368 สมัยนีต ้ รงกับการปฏิวต ั ิ
และการปฏิรป ู ในอเมริกา ไฮเดิลเป็ นผู ้ริเริม ่ ในการแต่งเพลงและคลาสส ค ิ
การแต่งเพลงในยุคนีเ้ กิดจากความคิดสร ้างสรรค์ และจินตนาการของคีต
กวีทจ ี่ ะเลือกใชเครื ้ อ ่ งมือให ้เหมาะสมกับลีลา และโอกาสตามอารมณ์ของ
ดนตรี เชน ่ ดนตรีลก ั ษณะหวานก็ใชไวโอลิ ้ น ถ ้าแสดงความองอาจกล ้า
หาญ ก็ใชแตรทรั ้ มเปต มีการเดีย ่ วเครือ ่ งดนตรี นักดนตรีต ้องศก ึ ษาและเล่น
ให ้ถูกต ้องตามแบบแผน เพราะดนตรีในยุคนีเ้ ริม ่ เข ้าร่องเข ้ารอย คีตกวีใน
ยุคทีม ่ ไี ฮเดิล โมสาร์ท กลุก ๊ บีโธเฟน โดยเฉพาะบีโธเฟน เป็ นคีตกวีใน
สมัยโรแมนติกด ้วย
   
•    5. สม ัยโรแมน พ.ศ. 2368 – 2443 สมัยนีต
้ รงกับสมัยนโปเลียนแห่ง
ฝรั่งเศส เพลงในสมัยนี้ ผิดไปจากเพลงในสมัยก่อน ๆ คือเมือ ่ ก่อนเริม ่ แรก
เกีย่ วกับศาสนา ต่อมามีการเลือกใชเครื ้ อ่ งดนตรีและในสมัยนี้ จะแต่งตาม
จุดประสงค์ตามความคิดฝั นของคีตกวี เน ้นอารมณ์เป็ นสำคัญนักแต่ง
เพลงทีม ่ ช ื่ เสย
ี อ ี งในสมัยนัน ้ มี ชูเบิรต ์ เสตร ้าส ์ เมนโดโซน โชแปง ชูมานน์
บราหมส ์ ไชคอฟสกี้ โดยเฉพาะในยุคนี้ แต่ละประเทศในยุโรปจะมีความ
นิยมไม่เหมือนกัน เชน ่ ลักษณะของเพลงร ้อง เพลงประกอบละคร เพลง
เต ้นรำแบบวอลท์ เป็ นไปตามคีตกวีและความนิยมสว่ นใหญ่
•     6. สม ัยอิมเพรสชน ่ ั นิสซม ึ  ประมาณ พ.ศ. 2393 – 2473 เป็ นสมัย
แห่งการใชความคิ ้ ดสร ้างสรรค์ ดัดแปลงดัง้ เดิมจากสมัยโรแมนติกให ้
แปลกออกไปตามจินตนาการของผู ้แต่ง เปรียบเทียบได ้กับการใชส้ ส ี นั ใน
การเขียนรูปให ้ฉูดฉาด ในด ้านดนตรีผู ้ประพันธ์มักสรรหาเครือ ่ งดนตรี
แปลก ๆ จากต่างประเทศ เชน ่ จากอินเดียมาผสมให ้มีรสชาติดข ี น
ึ้ การ
ประสานเสย ี งบางครัง้ แปร่ง ๆ ไม่รน ื่ หูเหมือนสมัยก่อน ทำนองเพลงอาจ
นำมาจากทางเอเชย ี หรือประเทศใกล ้เคียง แล ้วมาดัดแปลงให ้เหมาะสม
กับดุรย ิ างค์ นักดนตรีทม ี่ ช
ี อื่ เสย ี งในสมัยนัน ้ มี คลาวด์อบุชช ี อิกอร์ สตรา
วินสกี่ อาร์โนลด์ โชนเบิรล ์
•     7. สม ัยคอนเทมพอลารี ตัง้ แต่ พ.ศ. 2473 จนถึง
ั ชวี ต
ปั จจุบน ิ ของคนในปั จจุบน ั อยูก
่ บ
ี ความก ้าวหน ้า ทาง
วิทยาศาสตร์ได ้รู ้ได ้เห็นสงิ่ แปลก ๆ ใหม่ ๆ เชน ่ ไอพ่น
ยานอวกาศโทรทัศน์ นักแต่งเพลงปั จจุบน ั จึงเปลีย
่ นวิธ ี
การของการประพันธ์เพลงให ้เป็ นไปในแบบปั จจุบน ั
จบการนำเสนอค่ะ
ขอบคุณค่ะ

You might also like