You are on page 1of 33

รายวิชา ศิลปะ (ดนตรี)

รหัสวิชา ศ22101
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เรื่อง ประวัติศาสตรดนตรีและคีตกวี
ยุคดนตรียุคคลาสสิก และยุคโรแมนติก
ครูผู้สอน ครูนันทวัน ทองทิพยย
ครูสถิตย เสมาใหญ่
เรื่อง ประวัติศาสตรดนตรีและคีตกวี
ยุคคลาสสิก และยุคโรแมนติก
จุดประสงคการเรียนรู้
เพยื่อให้ผู้เรียนสามารถอธิบายประวัติศาสตร
และบริบทที่เกี่ยวข้องกับดนตรียุคคลาสสิก
และยุคโรแมนติก
ยุคคลาสสิก (Classical period) ค.ศ. 1750 – 1830
ดนตรียุคคลาสสิก ให้ความสาคัญกับโครงสร้างทีเ่ ป็น
สัดส่วนชัดเจน บทเพยลงหนึ่งมักมีหลายท่อน ซึ่งมีลักษณะ
จังหวะและบุคลิกของเพยลงแตกต่างกันชัดเจน สอดคล้อง
กับแนวคิดหลัก คือ ความงาม-ความสง่างาม-ความสมดุล
นิยมรูปพยรรณแบบโฮโมโฟนี
ยุคคลาสสิก (Classical period) ค.ศ. 1750 – 1830
แนวทานองหลัก และแนวสนับสนุนที่ไม่ได้เป็นทานอง
รู ป แบบแนวสนั บ สนุ น ที ่ น ิ ย ม คื อ การกระจายคอร ดโดย
แนวทานองมักมีขนาดสั้น ประมาณ 4 ห้องต่อประโยคเพยลง
สามารถนาไปพยัฒนาต่อได้ จาได้ง่าย และอยู่ในบันไดเสียง
ไดอาโทนิก ส่วนเสียงประสานและการดาเนินคอรดซับซ้ อน
น้อยกว่ายุคบาโรก
ยุคคลาสสิก (Classical period) ค.ศ. 1750 – 1830
ลั ก ษณะจั ง หวะของดนตรี ย ุ ค คลาสสิ ก มี ค วาม
หลากหลายมากขึ้น โดยให้ความสาคัญกับการหยุดพยักอย่าง
มิได้คาดคิด จังหวะขัด และการเปลี่ยนค่าของโน้ตจากสั้ น
เป็นยาว บทเพยลงในยุคคลาสสิกยังปรากฏความเข้มเสียง
อย่างค่อยเป็นค่อยไป และมีช่วงความต่างของความเข้ม
เสียงกว้างกว่ายุคบาโรก
ยุคคลาสสิก (Classical period) ค.ศ. 1750 – 1830
ดนตรีมีความแตกต่างของอารมณความรู้สึก ซึ่งในหนึ่ง
บทเพยลงสามารถมีอารมณมากกว่าหนึ่งอารมณ นอกจากนี้
ยุคคลาสสิกยังเป็นยุคสมัยที่นิยมดนตรีบริสุทธิ์ ซึ่งเป็นดนตรี
ที่เน้นสาระของดนตรีโดยแท้ ไม่มีการพยรรณนาถึงสิ่งอื่ นใด
และเบื้องหลังของเสียงเพยลง นอกเหนือจากสุนทรีย ของ
เสียงดนตรีที่ได้ยิน
ยุคคลาสสิก (Classical period) ค.ศ. 1750 – 1830
รูปแบบบทเพยลงส าหรับเครื่องดนตรีที่สาคัญ ได้แก่
ซิมโฟนี อันประกอบด้วย 4 ท่อน คือ ท่อนเร็ว ท่อนช้ า
ท่อนเร็ว และท่อนเร็ว คอนแชรโต หรือคอนแชรโตเดี่ ยว
อันเป็นเพยลงเดี่ยวส าหรับเครื่องดนตรีประชันกับวงออร
เคสตรา
ยุคคลาสสิก (Classical period) ค.ศ. 1750 – 1830

เครื่องดนตรีหลายชนิดได้รับการพยัฒนาในยุคคลาสสิ ก
โดยเฉพยาะเปียโน ซึ่งคีตกวีให้ความสนใจแทนฮาร ปซิคอร ด
เครื่องดนตรีแต่ละชนิดสร้างสีสันเสียงที่มีบทบาทของตนเอง
ส่ง ผลให้ ว งออร เคสตรามีขนาดใหญ่ ข ึ ้น และเกิ ด แบบแผน
การจัดวงออรเคสตราที่เป็นมาตรฐาน
ยุคคลาสสิก (Classical period) ค.ศ. 1750 – 1830
เครื่องสาย ได้แก่ ไวโอลิน 1 โวโอลิน 2 วิโอลา เชลโล และ
ดับเบิลเบส กลุ่มเครื่องเป่าลมไม้อย่างละคู่ ได้แก่ ฟลูต โอโบ
คลาริเน็ต และบาสซูน กลุ่มเครื่องเป่าทองเหลืองอย่างละคู่
เช่น ฮอรน ทรัมเป็ต ฯลฯ และกลุ่มเครื่องกระทบ คือ ทิม ปานี
1 คู่ และต่อมามีขนาดให้ใหญ่ขึ้นโดยการเพยิ่มเครื่องเป่า ในการ
เรียบเรียงเสียงประสานของเบโทเฟน
คีตกวีที่สาคัญ
1. ฟรานซ โจเซฟ ไฮเดิน
(Franz Joseph Haydn)
คีตกวีชาวออสเตรีย เคยเป็นครูสอนทั้ง
โมซารต และ เบโธเฟน เป็นผู้พยัฒนารูปแบบ
การประพยันธต่าง ๆ ให้สมบูรณขึ้นเป็น
มาตรฐาน ได้แก่ ซิมโฟนี สตริงควอเทต
และโซนาตาสาหรับคียบอรด
คีตกวีที่สาคัญ
ไฮเดินเป็นคีตกวีตลอดช่วงเวลาที่มีชวี ิต
อยู่จึงมีผลงานเพยลงจานวนมาก ได้แก่
ซิมโฟนี 104 บท สตริงควอเท็ต 68 บท
แมส 14 บท และเพยลงอื่น ๆ อีกเป็น
จานวนมาก ด้วยจานวนบทเพยลงประเภท
ซิมโฟนีที่มีจานวนมาก ไฮเดินจึงได้รับ
สมยานามว่า บิดาแห่งซิมโฟนี
คีตกวีที่สาคัญ
2. โวลฟกัง อมาเดอุส โมซารต
(Wolfgang Amadeus Mozart)
คีตกวีชาวออสเตรีย กาเนิดในครอบครัว
นักดนตรี ณ เมืองซาลซบูรก ฉายแววอัจฉริยะ
ตั้งแต่อายุ 5 ขวบ เริ่มแสดงดนตรีตั้งแต่อายุ
6 ขวบ ขณะอายุ 13 ปี มีผลงานในการประพยันธ
ทั้ง โซนาตา คอนแชรโต ซิมโฟนี และโอเปรา
คีตกวีที่สาคัญ
ช่ ว งวั ย หนุ ่ ม แต่ เ ดิ ม เคยท างานด้ า นดนตรี
ให้กับอาร คบิชอบแห่งซาลซ บูร ก แต่ด้วยความ
ต้องการผลิตผลงานตามความต้องการของตน
จึ ง ออกจากราชส านั ก และมาด าเนิ น ชี ว ิ ต ด้ ว ย
ตนเองทาให้ช่วงปลายชีวิตของโมซารตค่อนข้ าง
ล าบาก ทั ้ ง ผลงานการประพยั น ธ ที ่ ป ระพยั น ธ ใน
ยุคนั้นก็ไม่เป็นที่เข้าใจในท้องตลาดเรียกได้ว่า
ก้าวหน้าเกินยุค ผลงานจึงไม่เป็นที่นิยมนัก
คีตกวีที่สาคัญ
3. ลุดวิก ฟาน เบโธเฟน
(Ludwig van Beethoven)
คีตกวีชาวเยอรมัน เป็นผู้นาดนตรีในรูปแบบใหม่
จากยุคคลาสสิกมาสู่ยุคโรแมนติก เบโธเฟนได้
เดินทางมาตั้งรกรากที่กรุงเวียนนาและมีโอกาสเล่น
เปียโนให้โมซารตฟัง เมื่อโมซารตได้ฟังฝีมือของ
เบโธเฟนแล้วได้กล่าวกับเพยื่อนว่าเบโธเฟนจะเป็น
ผู้ยิ่งใหญ่ต่อไปในโลกดนตรี
คีตกวีที่สาคัญ
ในขณะที่ดารงชีวิตอยู่ เบโธเฟนเริ่มมี
การไม่ได้ยินเป็นระยะ ๆ จนในที่สุด 8 ปีก่อน
เบโธเฟนเสียชีวิต เบโธเฟนหูหนวกสนิท
แต่ยังคงสร้างสรรคผลงานออกมาเสมอ
จนถึงช่วงสุดท้ายของชีวิต
คีตกวีที่สาคัญ
ผลงานต่าง ๆ ที่สาคัญประกอบไปด้วย ซิมโฟนี 9
บทสุดท้าย ทุกบทมีชื่อเสียงทั้งสิ้น โดยเฉพยาะ
หมายเลข 3 Eroica, หมายเลข 5 ในบันไดเสียง
ซีไมเนอร, หมายเลข 6 Pastoral และหมายเลข 9
Chorale เปียโนคอนแชรโต 5 บท โอเปราเพยียง
เรื่องเดียว Fidelio, เพยลงแมส Missa Solemnis,
เปียโนโซนาตา 32 บท ที่มีชื่อเสียงคือ หมายเลข 2
Moonlight และผลงานอื่น ๆ อีกมากมาย
ยุคโรแมนติก (Romantic period) ค.ศ. 1830 – 1900

ศิลปะโรแมนติกมีลักษณะต่อต้านทัศนคติแบบกรีก -โรมัน
ที่เน้นความมีเหตุผล แบบแผน และความสมบูรณ ในขณะที่
ศิลปะยุคโรแมนติกเน้นการแสดงอารมณ ความรู้สึกอย่างเสรี
และเป็นธรรมชาติ มักน าเสนอความงามของธรรมชาติหรือ
สถานที่และเวลาที่ปรากฏในจินตนาการ
ยุคโรแมนติก (Romantic period) ค.ศ. 1830 – 1900

ส่ ว นดนตรี ย ุ ค โรแมนติ ก มี ล ั ก ษณะเด่ น คื อ


แนวทานองเด่นชัด ซึ่งเต็มไปด้วยการแสดงออกถึ ง
อารมณความรู้สึก และมีลักษณะการแบ่งวรรคตอน
ของเพยลงยืดหยุ่นไม่แน่นอน
ยุคโรแมนติก (Romantic period) ค.ศ. 1830 – 1900

ดนตรียุคโรแมนติดมักมีรูปพยรรณแบบโฮโมโฟนี
โดยอาจได้รับอิทธิพยลจากแนวคิดดนตรีชาตินิย ม
หรือดนตรีที่มีความเป็นนานาชาติ และมักใช้ก าร
ประสานเสียงเพยื่อบรรยายอารมณความรู้สึก
ยุคโรแมนติก (Romantic period) ค.ศ. 1830 – 1900
โดยมีการคิดคอร ดใหม่ ๆ การใช้คอร ดที่มีเสี ยง
กระด้าง มากขึ้น การใช้โน้ตจร บันไดเสียงที่มีตั วโน้ต
ครึ่งเสียง ตลอดจนการเปลี่ยนบันไดเสียง และการใช้
บันไดเสียงเมเจอรและไมเนอร ที่ไม่เป็นไปตามกฎเกณฑ
ของยุคคลาสสิกมากนัก
คีตกวีที่สาคัญ
1. ริคารด วากเนอร (Richard Wagner)
คีตกวีชาวเยอรมันผู้นาในการเปลี่ยนแนวคิด
เกี่ยวกับดนตรี มีความสามารถในการผูกโยง
เรื่องราวให้ต่อเนื่องสอดคล้องกับดนตรี ใช้ทานอง
และไลทโททีฟ (Leitmotif) เป็นสัญลักษณของ
ตัวละคร บุคลิก และเหตุการณในอุปรากร ผลงาน
ที่สาคัญ เช่น อุปรากร บทเพยลงสาหรับวง
ออรเคสตรา และเพยลงร้องศิลป์กับวงออรเคสตรา
คีตกวีที่สาคัญ
2. เบดริค สเมตานา
(Bedřich Smetana)
คีตกวีชาวเช็ก ผู้ใช้ทานองเพยลงพยื้นบ้าน
สร้างเสียงประสานที่เป็นเอกลักษณของตนเอง
สอดแทรกแนวคิดชาตินิยม อิงประวัติศาสตร
และวรรณกรรมของชาติ ผลงานที่สาคัญ เช่น
อุปรากร บทเพยลงสาหรับวงออรเคสตรา และ
บทเพยลงเชมเบอร
คีตกวีที่สาคัญ
กลุ่มคีตกวีชาวรัสเซียในห้าแนวร่วม (The Five)
ที่ได้รับสมญานามว่า “The Mighty Handful”
ได้แก่
คีตกวีที่สาคัญ
1. มิลี อะเลกเซเยวิทช บาลาคิเรฟ
(Mily Alexeyevitch Balakirec)
คีตกวีและนักเปียโนชาวรัสเซีย เป็นผู้นาในการ
ใช้ทานองพยื้นเมืองรัสเซีย และการประสานเสียง
แบบรัสเซียสาหรับวงออรเคสตราขนาดใหญ่
ใช้เสียงวงออรเคสตราที่มีพยลัง ผลงานที่สาคัญ
เช่น ซิมโฟนี เพยลงร้องประสานเสียง เพยลงเดี่ยว
เปียโน และอุปรากร
คีตกวีที่สาคัญ
2. เซซาร คูอี
(Cesar Cui)
คีตกวีและนักวิพยากษดนตรีชาวรัสเซีย
ผู้ใช้ทานองเพยลงพยื้นบ้านรัสเซียในการ
ประพยันธเพยลง ผลงานที่สาคัญ เช่น
อุปรากร เพยลงเดี่ยวเปียโน และเพยลงร้อง
คีตกวีที่สาคัญ
3. โมเดสต มูซอรกสกี
(Modest Mussorgsky)
หนึ่งในห้าแนวร่วมของรัสเซีย มีผลงานหลาย
ชิ้นแต่งไม่จบ ซึ่งริมสกี-คอรซาคอฟเป็นผู้แต่ง
ต่อจนจบหรือนาไปเรียบเรียงสาหรับวงออร
เคสตรา ผลงานที่สาคัญ เช่น อุปรากร เพยลง
ร้องและชุดเพยลงร้อง และเพยลงเดี่ยวเปียโน
คีตกวีที่สาคัญ
4. นิโคไล ริมสกี-คอรซาคอฟ
(Nikolai Rimsky-Korsakov)
ได้ชื่อว่ามีความสามารถในการเรียบเรียง
เสียงให้กับวงออรเคสตราได้ยอดเยี่ยม
ผลงานที่สาคัญ เช่น ซิมโฟนี อุปรากร
เพยลงร้องประสานเสียง บทเพยลงสาหรับ
วงออรเคสตรา และเพยลงร้องศิลป์
คีตกวีที่สาคัญ
5. อะเลกซานเดอร โบโรดิน
(Alexander Borodin)
คีตกวีชาวรัสเซียในกระแสชาตินิยม
ผลงานที่สาคัญ เช่น เพยลงร้อง เพยลง
เดี่ยวเปียโน บทเพยลงสาหรับวงเชมเบอร
ออรเคสตราและวงซิมโฟนีออรเคสตรา
คีตกวีในกระแสความเป็นนานาชาติที่สาคัญ
ปีเตอร อีลิทช ไชคอฟสกี
(Peter Ilich Tchaikovsky)
คีตกวีชาวรัสเซียผู้สร้างผลงานยิ่งใหญ่หลายชิ้น
เป็นคีตกวีที่ได้รับการยกย่องทั่วโลก ใช้เสียง
ประสานและเสียงวงออรเคสตราได้อย่างมีสีสัน
ผลงานที่สาคัญ เช่น ซิมโฟนี คอนแชรโต
เพยลงบัลเลต เพยลงร้อง เพยลงร้องประสานเสียง
และบทเพยลงเชมเบอร
ใบงานที่ 10
ตอนที่ 1 จงเขียนแผนที่ความคิดสรุปสาระสาคัญของดนตรียุคคลาสสิกและยุคโรแมนติก

ชื่อ - สกุล ....................................................................................ชั้น ...............เลขที.่ ...............


บทเรียนครั้งต่อไป
เรื่อง
องคประกอบของนาฏศิลป์ไทย
สิ่งที่ต้องเตรียม
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง องคประกอบของนาฏศิลป์ไทย
ใบงานที่ 1 เรื่อง องคประกอบของนาฏศิลป์ไทย

สามารถดาวนโหลดได้ที่ www.dltv.ac.th

You might also like