You are on page 1of 14

ความรูเบื้องตนและขอควรรูเกี่ยวกับดนตรีสากล

เรื่อง ประวัติและวิวัฒนาการดนตรีสากล
ความรูเบื้องตนและขอควรรูเกี่ยวกับดนตรีสากล

สาระการเรียนรู
๑. ประวัติศาสตรดนตรีสากล
๒. วิวัฒนาการของดนตรีสากล
ประวัติศาสตรดนตรีสากล
ดนตรีในยุคเริ่มตน

ดนตรีสากลในยุคเริ่มตนนับจากการที่กลุมคนในแถบ
ประเทศทางตะวันตก ริเริ่มการสรางเครื่องดนตรีโดยเฉพาะ
ชนชาติกรีกโบราณ ที่ถือวาเปนแหลงกําเนิดของความรูทาง
ศิลปวิทยาทั้งหลาย
การรองรําทําเพลงในยุคโบราณ เปนเครื่องสรรเสริญ
และบู ช าเทพเจ า หรื อ บวงสรวงอ อ นวอน สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ใ น
การชวยดลบันดาลสิ่งที่มุงหวังหลังจากประสบผลที่คาดหวัง
แลว ดนตรียังมีบทบาทสําคัญ ในการบูชาแสดงความสํานึก
ขอบคุณที่เทพเจาชวยดลบันดาลสิ่งตาง ๆ
ประวัติศาสตรดนตรีสากล

ดนตรีในยุคเริ่มตน

เมื่อมีศาสนาหลักเกิดขึ้น เชน ศาสนาคริสต ดนตรีก็ไดรับการพัฒนาตอเนื่องสู


เพลงเพื่ อ รั บ ใช ศ าสนาโดยตรง ความคิ ด ริ เ ริ่ ม สร า งสรรค ข องคี ต กวี ก็ อ ยู
ภายใตการอุปถัมภ ขององคกรทางศาสนาเปนหลัก
ประวัติศาสตรดนตรีสากล
ดนตรีกับการศาสนา
ดนตรีสากลมีตนกําเนิดทางกลุมประเทศในทวีปยุโรป(ตะวันตก) ในยุคแรก ๆ เปนดนตรีที่
ถูกนํามาใชกับกิจการทางศาสนาเพื่อประโยชนในการสรางศรัทธาทางศาสนา เปนกิจกรรม
แสดงความสามัคคีของศาสนิกชน ดนตรีสากลมีปฏิสัมพันธกับศาสนาหลักของทวีปยุโรป คือ
คริสตศาสนา

ในคราวเริ่มแรกเปนดนตรีเพื่อประกอบ
การสวดสรรเสริ ญ พระเจ า หลั ง จากนั้ น
เพลงและดนตรี ก็ ไ ด รั บ การพั ฒ นาอย า ง
แพรหลายและมีประโยชน นอกเหนือไปจาก
การใชเพียงในโบสถ
ประวัติศาสตรดนตรีสากล
การแบงยุคทางดนตรี

ดนตรีตะวันตกไดรับการศึกษา จัดระเบียบและแบงยุคทางดนตรีโดยการแบงยุคสมัยเปน
ลําดับ ของการเปลี่ยนแปลงทางดนตรี ยุคสมัยทางดนตรีของตะวันตกมีอายุยาวนานนับพันป
การแบ ง ยุ ค ที่ ชั ด เจนเป น ประโยชน ใ นการจํ า แนกรู ป แบบเพลง และง า ยต อ การศึ ก ษาทาง
ประวัติศาสตร

ยุคฟนฟู
ยุคกลาง ยุคบาโรก ยุคคลาสสิก
ศิลปวิทยา

ยุคศตวรรษ ยุคอิมเพรส
ที่ ๒๐ ชันนิสซึม ยุคโรแมนติก
วิวัฒนาการดนตรีสากล

สาเหตุและปจจัยที่สงผลตอวิวัฒนาการดนตรีสากล

ศาสนา ลัทธิความเชื่อ

วิวัฒนาการทางเทคโนโลยี การเมืองการปกครอง

การเขามาของวัฒนธรรมดนตรีเอเชีย หรือดนตรีชนเผา

การอพยพยายถิ่นของผูคนจากที่หนึง่ ไปอีกทีห
่ นึ่ง
วิวัฒนาการดนตรีสากล
มีอีกชื่อหนึ่งวายุคเมดิอีวัล
(Medieval Period)
ยุคกลาง (The Middle Ages 850 - 1450 A.D.)
ในยุคนี้ดนตรีพึ่งพิงและอยูควบคูกับคริสตศาสนา
ราวคริสตศตวรรษที่ ๑๑ ซึ่งใชสําหรับขับรองในโบสถเปนหลัก
จากนั้ นเพลงและดนตรี ได ข ยายวงกว า ง สู กิ จกรรมของคฤหั ส ถ ขั บ รอ งเพื่อ ความ
บันเทิงเริงรมย

Pope Gregory the Great


คีตกวีผูมีชื่อเสียงแหงยุคกลาง
วิวัฒนาการดนตรีสากล

ยุคฟนฟูศิลปวิทยา (The Renaissance Period 1450 - 1600 A.D.)


Renaissance แปลวา การเกิดใหม โดยแนวคิด
แหงการฟนฟูศิลปวิทยานี้ เกิดจากปญญาชนแถบ
Soprano Recorder
ตะวั น ตกสนใจความรู ที่ น อกเหนื อ จากศาสนา
พยายามออกจากรู ป แบบที่ เ คร ง ครั ด ของ
ศาสนา ดนตรี ใ นยุ ค นี้ มั ก จะเป น การเริ่ ม ร อ งหมู
เล็ก ๆ สวนใหญเพื่อสรรเสริญพระเจา และเพื่อ
ความบั น เทิ ง ร อ งกั น ในโบสถ มี ๔ แนว คื อ
โซปราโน อัลโต เทเนอร และเบส การรองจะมี
ออรแกนหรือขลุยคลอ ดนตรีในสมัยนี้ยังไมมีโนต
อานประกอบการบรรเลง และมักเลนดนตรี ตาม
เสียงรอง
Guillaum Dufay
วิวัฒนาการดนตรีสากล

ยุคบาโรก (Baroque ค.ศ. ๑๖๕๐ – ๑๗๕๐)


ยุ ค บาโรก เป น คํ า ที่ ม าจากภาษาโปรตุ เ กส หมายถึ ง ไข มุ ก ที่ บิ ด เบี้ ย วอธิ บ ายความ
หลากหลายทางศิลปะที่มีการตกแตงสรางความสวยงาม ซึ่งดนตรีก็ถือเปนหนึ่งในนั้น ยุคบาโรก
เปนชวงเวลาที่นักดนตรีใหความสนใจกับการสรางรสทางดนตรีใหสอดคลองกับความรูสึกและ
อารมณของมนุษย มีการใชเครื่องดนตรีหลากหลายชนิดในการสรางสรรคเพลง
นอกจากนั้นยังเกิดวิวัฒนาการ ของดนตรีที่นําเสนอความแตกตางกันอยางชัดเจน เชน
ความเร็วและชา ความดังและคอย การบรรเลงเดี่ยว และบรรเลงรวมวง

ในยุคบาโรกเปนยุคแหงการวางรากฐานการบันทึกโนตที่สงผลมาถึงปจจุบัน

J.S. Bach
วิวัฒนาการดนตรีสากล

ยุคคลาสสิก (Classical Period 1750 - 1825 A.D.)


ราวปลายคริ ส ต ศ ตวรรษที่ ๑๘ สมั ย นี้ ต รงกั บ การปฏิ วั ติ แ ละการปฏิ รู ป ในสหรั ฐ อเมริ ก า และ
ประชาชนในยุโรปมีความตื่นตัวเรื่องการเมืองและประชาธิปไตยมากขึ้น ลักษณะของดนตรีในสมัยคลาสสิก
ที่เปลี่ยนไปจากสมัยบาโรกที่เห็นไดชัด คือ ไมนิยมการสอดประสานของทํานองที่เรียกวาเคานเตอร
พอยต(Counterpoint) หันมานิยมการเนนทํานอง สมัยนี้เปนสมัยที่ดนตรีมีการสรางกฎเกณฑรูปแบบ
สําหรับทุกมิติของการประพันธเพลง ซึ่งเปนรากฐานของการวางโครงสราง การประพันธเพลง นักดนตรี
ตองศึกษาและเลนใหถูกตองตามแบบแผน

Haydn Mozart Beethoven


วิวัฒนาการดนตรีสากล

ยุคโรแมนติก (Romantic Period 1825 - 1900 A.D.)

สมั ย นี้ ต รงกั บ สมั ย นโปเลี ย นแห ง ฝรั่ ง เศส เป น ยุ ค ที่ ค อ นข า งจะตรงกั น ข า มกั บ ยุ ค คลาสสิ ก ที่
เครงครัดกฎระเบียบทางการประพันธ ยุคโรแมนติกจะเนนที่เนื้อหาอารมณของบทเพลงเปนหลัก โดย
ใหอารมณของเพลงตามจินตนาการของคีตกวี ฉะนั้นโครงสรางของบทเพลงยอมมีความหลากหลาย
ละเอียดออนและมีความแตกตาง มีการคิดคนหลักการประสานเสียงใหมใหเกิดความแตกตางจากยุค
กอนหนา ทั้งยังมีการใชสีสันของเสียงที่เกิดจากเครื่องดนตรีใหสื่อและแสดงออกทางอารมณ วงซิมโฟนี
ไดรับการพัฒนาขนาดวงที่ใหญขึ้นจากการเพิ่มเครื่องดนตรี ในยุคนี้แตละประเทศในยุโรปจะมีความนิยมไม
เหมือนกัน
วิวัฒนาการดนตรีสากล

ยุคอิมเพรสชันนิสซึม (Impressionism 1850 - 1930 A.D.)

เป น สมั ย ที่ ใ ห ค วามสํ า คั ญ กั บ ความคิ ด สร า งสรรค ดั ด แปลง


ผลผลิ ต ทางดนตรี ดั้ ง เดิ ม จากสมั ย โรแมนติ ก ให แ ปลกออกไปตาม
จินตนาการของผูแตง มีการทดลองดัดแปลงสิ่งใหมๆ หรือเกิดการ
คนควาทฤษฎีทางดนตรีใหมๆ เปรียบเทียบไดกับการใชสีสันในการเขียน
รูปใหฉูดฉาดของจิตรกร การประสานเสียงบางครั้งไมรื่นหูแตกตางจาก
ยุคกอนหนาที่ดูเปนระบบระเบียบมากกวา ทํานองเพลงอาจนํามาจาก
กลิ่นอายของทางเอเชียหรือประเทศใกลเคียง แลวมาประยุกตดัดแปลง
ใหเหมาะสมกับดนตรีในยุคนี้ Claude-Achille Debussy
วิวัฒนาการดนตรีสากล
ยุคศตวรรษที่ ๒๐
ยุคศตวรรษที่ ๒๐ นับจาก ค.ศ. ๑๙๐๐
ความรูทางดนตรีไดรับการจัดระบบระเบียบ และมีวิธีในการศึกษาในสถาบันที่
จริงจัง จึงทําใหดนตรีมีความหลากหลายมากขึน ้ จนเกิดเปนองคความรูใหม ๆ ทั้งยังมี
ความคิดทดลองใชเสียง การประสานเสียงที่แปลกใหม คีตกวีออกนอกกรอบและ
ระเบี ย บของดนตรี อ ย า งเป น อิ ส ระ รวมถึ ง เกิ ด เครื่ อ งดนตรี ที่ ใ ช ไ ฟฟ า ผนวกกั บ
แนวคิดทางวิทยาศาสตรหรือแนวคิดของศาสตรสาขาอื่น ๆ
แนวทางของดนตรีจึงเปนอิสระและมีขอบเขตที่กวางขวาง ยากที่จะคาดคะเน
รวมทั้งมีการเปลี่ยนแปลงทางดนตรีอยางรวดเร็วตามยุคสมัยของเทคโนโลยี บางครั้ง
เสียงของดนตรีอาจเกิดจากระบบคอมพิวเตอร โดยที่ปราศจากการใชเครื่องดนตรี
จริง

You might also like