You are on page 1of 13

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑

ดนตรีกับวัฒนธรรม

จุดประสงค์การเรียนรู้
๑. เปรียบเทียบอารมณ์และความรู้สึกที่ได้รับจากงานดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมต่างกันได้
๒. เปรียบเทียบลักษณะเด่นของดนตรีในวัฒนธรรมต่างๆ ได้
ดนตรีมีความเกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมและสังคมมนุษย์มาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
โดยเป็นหลักฐานสาคัญอย่างหนึ่งที่สะท้อนให้เห็นถึงเรื่องราวของสังคมได้เป็นอย่างดี

๑. ปัจจัยสาคัญที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี

ศาสนา วิถีชีวิต

ความเชื่อ เทคโนโลยี
๒. ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
๒.๑ วัฒนธรรมดนตรีจีน

• วัฒนธรรมดนตรีจีนมีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน นักปราชญ์ ราชบัณฑิต และชนชั้นสูงของจีนต่างมีค่านิยม


ในการศึกษาและบรรเลงดนตรี
• ลักษณะที่โดดเด่นที่สุดของดนตรีจีน คือ การใช้เครื่องดนตรีที่มีสีสันของเสียงสอดคล้องกับแนวทานองเพลงจีน
• ประเภทของเครื่องดนตรีจีน จัดแบ่งออกเป็น ๘ หมวดหมู่ ตามวัสดุอุปกรณ์ที่นามาใช้ทาเครื่องดนตรี คือ โลหะ
หิน ไม้ ดิน หนัง ไม้ไผ่ น้าเต้า และไหม เครื่องดนตรีที่สาคัญและควรรู้จักมีดังต่อไปนี้

กู่ฉิน (Gu Qin) ดี (Di) เอ่อหู (Erhu)

เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องดีด เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่า เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสี


ตัวเครื่องเป็นกล่องดาลงรักฝังเปลือกมุก (เป่าด้านข้าง) ทาจากไม้ไผ่ บางครั้ง มี ๒ สาย ขนหางม้าของคันชัก
มี ๗ สาย ซึ่งถือว่าเป็นเครื่องดนตรีที่ เลี่ยมด้วยงาช้างทั้งหัวและท้าย หรือ จะอยู่ตรงกลางระหว่างสายทั้ง ๒ สาย
บรรเลงได้ยากมาก เนื่องจากเวลาดีด แกะสลักเป็นหัวมังกรและหางมังกร ส่วนกล่องเสียงเป็นรูปทรงหกเหลี่ยม
จะต้องดีดให้ออกเสียงตรงตามเครื่อง มีรูเปิด – ปิด เพื่อเปลี่ยนระดับเสียง หุ้มด้านหน้าด้วยหนังงู หัวซอนิยม
หมายที่กาหนดไว้ ๑๓ จุด เสียงที่ออกมา นิยมนามาบรรเลงแบบเดี่ยว แบบรวม แกะสลักเป็นรูปมังกร ระดับเสียงของ
จึงจะไม่ผิดเพี้ยน วงออร์เคสตรา (Orchestra) และแบบ ซอจะกว้างถึง ๓ ช่อง เสียงจะสามารถ
ประกอบการแสดงอุปรากรจีนด้วย ถ่ายทอดถึงอารมณ์ ความหนักแน่น
และความอ่อนหวานผสมผสานกัน
๒.๒ วัฒนธรรมดนตรีอินเดีย

• ดนตรีของประเทศอินเดียที่เป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปก็คือ “ดนตรีศิลป์” (Art Music) หรือ “ดนตรีคลาสสิกของ


อินเดีย” (Classical music of India) ซึ่งเป็นดนตรีในแบบแผนศิลปะชั้นสูงทีไ่ ด้รับการศึกษาค้นคว้าและ
บันทึกเสียงอย่างกว้างขวาง
• การประสมวงดนตรีของประเทศอินเดียจะมีผู้บรรเลงเพียง ๓-๕ คน ซึ่งชาวอินเดียใช้ดนตรีทั้งในการบวงสรวง
เทพเจ้า และใช้ในการสร้างความรื่นเริงบันเทิงใจให้กับผู้คนในสังคมอีกด้วย
• เครื่องดนตรีของประเทศอินเดีย นอกจากมีในประเทศอินเดียแล้ว บางชนิดก็แพร่กระจายไปยังประเทศ
เนปาล ประเทศเมียนมา ประเทศไทย ประเทศกัมพูชา และประเทศลาว ซึ่งเครื่องดนตรีที่สาคัญและควรรู้จัก
มีดังต่อไปนี้

ตาบลา (Tabla) ซีตาร์ (Sitar) เชห์ไน (Shehnai)

เป็ น เครื่ อ งดนตรี ป ระเภทเครื่ อ ง ตี เป็ น เครื่ อ งดนตรี ป ระเภทเครื่ อ งดี ด เป็ น เครื่ อ งดนตรี ป ระเภทเครื่ อ งเป่ า
ที่มีบทบาทมากที่สุด สามารถทาเสีย ง แต่เดิมมีสายจานวน๓ สาย ต่อมาได้มี มี ลั ก ษณะเป็ น ปี่ ลิ้ น คู่ ให้ เสี ย งที่ มี
จังหวะได้หลายรูปแบบ ซึ่งจะประกอบ การพัฒนาให้มีจานวนสายเพิ่มขึ้นเป็น ลักษณะแหลมเล็ก ลาตัวทาจากไม้ ตรง
ไปด้ว ยกลอง๒ ใบ กลองใบที่อ ยู่ด้า น ๒๐ สาย ส่ ว นการจั ด เรี ย งสายมี ทั้ ง ส่วนปลายมีลาโพงเป็นรูปทรงกรวยทา
ขวามือของผู้บรรเลงจะเรียกว่า ด้ า นบนและด้ า นล่ า งของตั ว เครื่ อ ง ด้ว ยโลหะ มี รูเ ปิ ด -ปิ ดนิ้ ว เพื่ อ เปลี่ ย น
“คาบาน” ให้เสียงสูง ส่วนกลองใบที่ ดนตรี จัดเป็นเครื่องดนตรีที่มีอิทธิพล ระดั บ เสี ย งไปตามท านองเพลง นิ ย ม
อยู่ด้านซ้ายมือของผู้บรรเลงจะเรียกว่า อย่ า งมา ก ในทา งตอ น เห นื อ ขอ ง นามาใช้เป่าเพื่อเลียนเสียงผู้ขับร้อง ใน
“บายาน” ให้เสียงต่า ข้างกลองแต่ละ ประเทศอินเดีย ประเทศไทยจะเรี ย กปี่ ที่ มี ลั ก ษณะ
ใบมีไม้ขึงไว้เพื่อปรับระดับเสียง รูปทรงเช่นนี้ว่า “ปี่ไฉน”
๒.๓ วัฒนธรรมดนตรีอินโดนีเซีย

• ดนตรีกาเมลันเป็นวัฒนธรรมดนตรีที่รู้จักกันมากที่สุดในประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งเป็นดนตรีที่มีความเกี่ยวข้องกับ
ศิลปะแขนงต่างๆ ทั้งในด้านวรรณศิลป์ นาฏศิลป์ และการละคร
• ลักษณะของดนตรีมีสาเนียงแปลกไปจากดนตรีในวัฒนธรรมอื่นๆ ของโลก เนื่องจากมีบันไดเสียงที่แตกต่างกัน
• ประเทศอินโดนีเซียได้รับอิทธิพลเครื่องดนตรีสาริดจากวัฒนธรรมดองซอนของประเทศเวียดนามซึ่งได้มีการ
สร้างกลองมโหระทึก ฆ้อง และเครื่องดนตรีอีกหลากหลายชนิด ซึง่ เครื่ องดนตรี ที่สำคัญและควรรู้จกั
มีดงั ต่อไปนี ้

โบนัง (Bonang) เกนเดอร์ (Gender) ซูลิง (Suling)

เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตี เป็ น เครื่ อ งดนตรี ป ระเภทเครื่ อ งตี เป็ น เครื่ อ งดนตรี ป ระเภทเครื่ อ งเป่ า
นิยมนามาใช้บรรเลงอยู่ในวงกาเมลัน นิยมนามาใช้บรรเลงอยู่ในวงกาเมลัน ที่ทาด้วยไม้ไผ่ มีลักษณะคล้ายกับขลุ่ย
จัดเป็นเครื่องตีที่เป็นเสียงหลักในการ มีลั ก ษณะเป็ น โลหะบางแบบระนาด มี ห ลายขนาด ให้ เ สี ย งที่ ไ พเราะ ใช้
บรรเลง ทานอง โดยส่วนใหญ่จะ เหล็ก มี ๗ คู่ ด้านล่างของเครื่องดนตรี ประสมอยู่ในวงกาเมลัน นิยมนามาใช้
บรรเลงด้วยความรวดเร็ว โบนังที่นิยม มีท่อ ลาไม้ไผ่ ขยายเสีย ง บรรเลงโดย บรรเลงประกอบการขั บ ร้ อ งและ
เล่นมีอยู่ด้วยกัน ๓ ชนิด ได้แก่ โบนัง การใช้ไ ม้ก ลมแบนตี ด้ว ยมือ ข้ า งหนึ่ ง ประกอบกิจกรรมต่างๆ
พาเนรุส โบนังบารุง และโบนังพาเนม และใช้มืออีกข้างหนึ่งคอยกดห้ามเสียง
บัง หรือปล่อยเสียงให้ดังกังวาน
๒.๔ วัฒนธรรมดนตรีอาหรับ

• เครื่องดนตรีอาหรับส่วนใหญ่เป็นประเภทเครื่องสาย (Chordophone) และเครื่องเป่า (Idiophone)


• การแสดงดนตรีอาหรับโดยส่วนใหญ่จะเป็นลักษณะที่ไม่เป็นทางการ ซึ่งจะเน้นให้ความสนุกสนานเพลิดเพลิน
ใจ รวมถึงการแสดงตามสถานบันเทิงต่างๆ ให้นักท่องเที่ยวได้ชม
• เครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลงอยู่ในตะวันออกกลางจะมีอยู่ด้วยกันหลายประเภท ซึ่งเครื่องดนตรีที่มี
ความสาคัญและควรรู้จัก มีดังต่อไปนี้

อุด (Ud) หรือโอด (Uod) รือบับ (Rebab) ต็อมบัก (Tom- Bak)

เป็ น เครื่ อ งดนตรี ป ระเภทเครื่ อ งดี ด เป็นเครื่องดนตรีประเภทสี เกิดขึ้นมา เป็ น เครื่ อ งดนตรี ป ระเภทเครื่ อ ง ตี
ชนิดหนึ่งในกลุ่มเครื่องสายโบราณ ตั้ ง แ ต่ ค ริ ส ต์ ศ ต ว ร ร ษ ที่ ๘ แ ล ะ ที่มี รูป ร่า งคล้า ยกับแก้ว ไวน์ หรือ บาง
มี รู ป ทรงของล าตั ว เป็ น รู ป ลู ก แพร์ แพร่กระจายไปทั่วโลกที่มีประชากรนับ ชิ้นมีรูปร่างคล้ายกับนาฬิกาทราย
ด้านหน้ามีลักษณะเป็นรูปวงรี มีขนาด ถือ ศาสนาอิ สลาม โดยเชื่อ กัน ว่า เป็ น
ใหญ่ ก ว่ า กี ต าร์ ที่ ใ ช้ เ ล่ น ในปั จ จุ บั น “ เ ค รื่ อ ง ด น ต รี บ ร ร พ บุ รุ ษ ข อ ง
เล็ ก น้ อ ย จั ด เป็ น เครื่ อ งดนตรีที่ ไ ด้ รั บ ไวโอลิน”
ความนิยมเป็นอย่างมากในกลุ่มชนชาว
อาหรับ โดยชาวอาหรับยกย่องเครื่อ ง
ดนตรีชนิดนี้ว่าเป็น “ราชาแห่งเครื่อง
ดนตรี”
๒.๕ วัฒนธรรมดนตรีแอฟริกัน

• ดนตรีของชาวแอฟริกันเป็นดนตรีที่ผู้ฟังมีส่วนร่วม สามารถเป็นได้ทั้งผู้เล่น ผู้เต้นรา และผู้ฟังไปในเวลา


เดียวกันได้ รูปแบบของดนตรีแอฟริกันมีความโดดเด่นในด้านการบรรเลงเครื่องตีที่มีจังหวะเร้าใจ
• เครื่องดนตรีในวัฒนธรรมดนตรีแอฟริกันมีเป็นจานวนมากและมีความหลากหลาย ส่วนใหญ่ที่นิยมใช้
มักเป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตี

วูวูเซลา (Vuvuzela)
โคร่า (Kora) หรือเลปาตาตา (Lepatata)
ดีเจมเบ้ (Djembe)

เป็ น เครื่ อ งดนตรี ป ระเภทเครื่ อ งดี ด เป็ น เครื่ อ งดนตรี ป ระเภทเครื่ อ งเป่ า เป็ นเครื่ อ งดนตรี ป ระเภทตี ที่ม าจาก
ที่ มี ลั ก ษณะเช่ น เดี ย วกั บ พิ ณ นิ ย มใช้ คล้ายกับทรัมเป็ต (Trumpet) มี แอฟริกาตะวันตก มีรูปร่างคล้ายกับ โถ
เล่นกันทั่วไปในแอฟริกาตะวันตก โดย ความยาวประมาณ ๑ เมตร เสี ย ง หน้ากลองขึงด้วยหนังสัตว์ ได้รับความ
มีการนาผลน้าเต้า ขนาดใหญ่มาผ่าซีก ของวูวูเซลาจะมีความดังกึกก้องคล้าย นิ ย มมาอย่ า งยาวนานตั้ ง แต่ ป ลาย
แล้ ว ขึ ง ด้ ว ยหนั ง วั ว เพื่ อ ให้ เ กิ ด เสี ย ง กับเสียงร้องของช้าง ปัจจุบันนิยมนาา ศตวรรษที่ ๒๐
สะท้ อ น ประกอบเข้ า กั บ สะพานสาย มาใช้ในการเชียร์กีฬา
เช่ น เดี ย วกั บ กี ต าร์ (Guitar) ซึ่ ง เสี ย ง
ของโคร่ า จะมี ลั ก ษณะคล้ า ยคลึ ง กั บ
เสียงของฮาร์ป (Harp)
สรุป
ดนตรีมีความสัมพันธ์กับสังคมมนุษย์มาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ปัจจัยสาคัญที่มีผลต่อการ
สร้างสรรค์งานดนตรีมีหลายประการ เช่น ความเชื่อ ศาสนา วิถีชีวิต เทคโนโลยี เป็นต้น ซึ่งการสร้างสรรค์ดนตรี
ของแต่ละวัฒนธรรมจะมีเอกลักษณ์ที่แตกต่างกันออกไปตามสภาพสังคม ความเป็นอยู่ ฯลฯ ดังนั้น เราจึงควร
ศึกษาลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม เพื่อใช้เป็นพื้นฐานความรู้ ในด้านดนตรีที่มาจากวัฒนธรรม
ต่างๆ และนามาใช้ ในการพัฒนารูปแบบงานดนตรีของตนเองต่อไป ในอนาคต

You might also like