You are on page 1of 6

ประวัตินักดนตรีไทย

มนตรี ตราโมท
มนตรี ตราโมท  เป็ นนักดนตรีไทย และเป็ นศล ิ ปิ นแห่งชาติ
 สาขาดนตรีไทย พ.ศ. 2528
มนตรี ตราโมท เดิมชอ ื่  "บุญธรรม" เกิดเมือ ่ 17 มิถน ุ ายน พ.ศ.
2443 ทีบ ่ ้านท่าพีเ่ ลีย
้ ง อำเภอเมืองสุพรรณบุร ี จังหวัดสุพรรณบุรี
 เป็ นบุตรนายยิม ้ นางทองอยู่ และเป็ นหลานชาย
หลวงพ่อลี่ ปุรส ิ พันธ์ซงึ่ เป็ นผู ้สง่ เสริมสนับสนุนการดนตรีไทย
ของจังหวัดสุพรรณบุรใี นสมัยนัน ้ ในสมัยทีม
่ กี ารประกาศสำนัก
นายกรัฐมนตรี เรือ ่ งการตัง้ ชอ ื่ บุคคล มนตรีจงึ เปลีย ่ นชอ ื่ เป็ น "มน
ตรี" เมือ
่ 15 เมษายน พ.ศ. 2485 นามสกุล "ตราโมท" เป็ น
นามสกุลทีหม่ ่ อมเจ ้าคำรบ ปราโมช ประทานให ้ มสำ ี เนียงล ้อ
นามสกุล "ปราโมช" ขององค์
มนตรีศึกษาทีโรงเรียนปรีชาพิทยากร สอบได ้ชันมัธยมปี ที 3 เหตุทีมนตรีมีโอกาสได ้เป็ นนัก
ดนตรีไทยก็เพราะว่าบ ้านของมนตรีอยู่ใกล ้วัดสุวรรณภูมิ ซึงมี ่ วงปี่ พาทย ์ฝึ กซ ้อมกันอยู่เป็ นประจำ
มนตรีจึงได ้ยินเสียงเพลงปี่ พาทย ์อยู่เสมอจนจำทำนองเพลงได ้เป็ นตอน ๆ
เมื่อเรียนจบ ม.3 แล ้ว จึงคิดที่จะเรียนต่อที่กรุงเทพฯสมบุญซึงเป็ ่ นนักฆ้องจึงชวนให ้หัดปี่ พาทย ์

ซึงมนตรี ก็มีใจรักอยู่แล ้วจึงฝึ กฝนด ้วยความมานะพยายาม จนมีความคล่องแคล่วพอควร มนตรี
ได ้เป็ น นักดนตรีปี่พาทย ์ อยู่ที่จังหวัดสุพรรณบุรี ประมาณ 2 ปี ต่อมาราวปี พ.ศ. 2456
มนตรีได ้ย ้ายไปอยู่ที่จังหวัดสมุทรสงคราม ที่บ ้านสมบุญ สมสุวรรณ ซึงมี ่ ทงปี ั้ ่ พาทย ์และ แตรวง
มนตรีจึงได ้มีโอกาสฝึ กหัดทังสองอย่้ าง
เมื่ออายุได ้ 17 ปี ได ้สมัครเข ้ารับราชการในกรมพิณพาทย ์ทอง กรมมหรสพ กรมมหาดเล็ก ที ่
กรมพิณพาทย ์หลวง มนตรีได ้เรียนฆอ้ งวงใหญ่จากหลวงบำรุงจิตเจริญ (ธูป สาตนะวิลยั ) และ
เรียนกลองแขก จากพระพิณบรรเลงราช (แย ้ม ประสานศัพท ์)
มนตรีมีฝีมือทางการบรรเลงฆ้องวง แต่เพื่อให ้มีฝีมือในเครื่องดนตรีชนิ ดอื่น ๆ พระยาประสานดุริย
ศัพท ์ (แปลก ประสานศัพท ์) เจ ้ากรมพิณพาทย ์หลวง จึงให ้มนตรีเปลี่ยนเป็ นครูตีระนาดทุม้
่ นวงที่จะต ้องตามเสด็จพระราชดำเนิ น
 มนตรีได ้รับเลือกให ้เข ้าประจำอยู่ในวงข ้าหลวงเดิม ซึงเป็
แปรพระราชฐานทุกแห่ง ทำให ้มนตรีเป็ นผูก้ ว ้างขวางในวงสังคมสมัยนั้น
มนตรีรบ ั ราชการอยู่ที่แผนกปี่ พาทย ์หลวงได ้ไม่นาน ก็เกิดการโอนวงปี่ พาทย ์และโขนละครไปสังกัด
อยู่กบ ั กรมศิลปากร เมื่อ พ.ศ. 2478 มนตรีจึงย ้ายไปประจำโรงเรียนศิลปากร แผนกนาฏดุริยางค ์
(ปัจจุบน ั คือวิทยาลัยนาฏศิลป์ ) หน้าที่การงานของมนตรี เจริญรุง่ เรืองมาตามลำดับจนเลื่อนเป็ น

ชันเอก ต่อมาได ้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล ้าฯ แต่งตังให ้ ้มนตรีดำรงตำแหน่ งศิลปิ นพิเศษ
เมื่อ 3 กุมภาพันธ ์ พ.ศ. 2504 นับเป็ นศิลปิ นคนแรกของกรมศิลปากรที่ได ้รับชันพิ ้ เศษ
ผลงาน
งานดุ ริยางคศิลป์ไทย
ผลงานด้านการประพันธทำ ์ นองเพลงไทยและบทร้องมีจำนวนกวา่ 200 เพลง เพลงของทา่ นเกือบทังหมดได ้ ้รับ
การยอมรับจากสังคมและยกยอ่ งใหเ้ ป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ เพลงระบำ เชน ่ ระบำ
นพรัตน์ ระบำกฤดาภินิหาร ระบำโบราณคดี ฯลฯ ถือวา่ เป็นผลงานที่ชว่ ยผดุงรักษาและสบ ื ทอดศลิ ปะวัฒนธรรม
ดา้ นดนตรี และนาฏศลิ ป์ใหไ้ ดร้ ั บความนิ ยมจนถึงปัจจุบัน ทา่ นจึงไดร้ ั บการขนานนามวา่ เจา้ แหง่ เพลงระบำ

งานดุ ริยางคศาสตร์ไทย
ครู มนตรี ตราโมทเป็ นผูเ้ ขียนตำราดุริยางคศาสตร์ไทยขึ้นเป็ นคนแรกเมื่อปี พ.ศ.2481 ตอ่ มาทา่ นยังเขียน
บทความทางวิชาการและร่างหลักสูตรการเรี ยนการสอนวิชาดนตรี และนาฏศลิ ป์

งานสืบทอดขนบประเพณี ทางดุ ริยางคศิลป์ไทย


พิธีการไหวค ้ รู เป็ นประเพณี ท่ีนักดนตรี หรื อดุริยางคศลิ ปิ น คีตศลิ ปิ น จะร่วมกันประกอบเป็ นประจำทุกปี ตาม
โอกาสจะอำนวย ครู มนตรี ตราโมท ไดร้ ั บการครอบประสท ิ ธิ์ประสาทใหเ้ ป็ นผูป ้ ระกอบพิธีไวค
้ รู ดนตรี ไทยจากครู ผู้
มีช่ือเสียง 2 ทา่ นคือ พระยาประสานดุริยศั พท(์ แปลก ประสานศั พท)์ และ หลวงประดิษฐ์ไพเราะ(ศร ศลิ ปะบรรเลง)
ตามแบบแผนของราชสำนัก และไดร้ ั บพระราชทานครอบเป็ นประธานไหวค ้ รู โขน-ละคร มาโดยตลอดกวา่ 30 ปี
งานวรรณศิลป์
-ลิลิตอิหร่านราชธรรม
-ภิญโญวาทนิ ยาย
-เลือดสุพรรณ ทางสักวา
-โคลงกลบท
-บทละคร ,บทร ้อง, บทถวายพระพร ฯลฯ
งานถ่ายทอดวิชาการ

ครูมนตรี ตราโมทได ้สร ้างผลงานเชิงวิชาการไว ้เป็ นจำนวนมากเช่นกัน ทังในรู
ปผลงาน
บทประพันธ ์ หนังสือ และตำราวิชาการ เช่นหนังสือดุริยางคศาสตร ์ไทย ภาควิชาการ
ใช ้สอนในโรงเรียนศิลปากรแผนกนาฏดุริยางค ์ ปี พ.ศ. 2481
-ศัพท ์สังคีต
-ดุริยสาส ์น
-ไหว ้ครู
-ดุริยเทพ
-เพลงพร ้อมบทร ้องหลักสูตรวิชาขับร ้องเพลงไทยสำหรับนักเรียน
รางวล

ศิลปิ นแห่งชาติ สาขาดนตรีไทย พ.ศ. 2528 (มนตรี ตราโมท
เป็ นผู ้ที่มีความสามารถในด ้านดนตรีและเพลงไทยเป็ นเยี่ยมหาผู ้ใดเทียบมิได ้
สมควรที่จะได ้เป็ นศิลปิ นแห่งชาติ สาขาดนตรีไทยอย่างแทจ้ ริง)
นักวิจยั ดีเด่นแห่งชาติ พ.ศ. 2529

-รางวัลพระเกียวทองคำ (พ.ศ.๒๕๓๕)
-รางวัลศิลปิ นตัวอย่าง แผ่นเสียงทองคำพระราชทาน (พ.ศ.๒๕๒๓)
-รางวัลเสาอากาศทองคำ ผูป้ ระพันธ ์เพลง (พ.ศ.๒๕๒๖)

You might also like