You are on page 1of 8

ประวัติพระเจนดุริยางค์ (ปิ ติ วาทยะกร)

พระเจนดุริยางค์หรื อปิ ติ วาทยะกร มีนามเดิมว่า “ปี เตอร์ ไฟท์” สะกดตามภาษาอังกฤษว่า “Peter Feit”
สะกดตามภาษาเยอรมันที่ถูกต้องจะใช้ “Veit” ซึ่ งต่อมาได้เปลี่ยนมาใช้อกั ษระ “F” เมื่อบิดาได้ยา้ ยไปอาศัยอยูท่ ี่
สหรัฐอเมริ กา เพื่อให้สอดคล้องกับการสะกดและออกเสี ยงแบบอเมริ กนั (สุ กรี เจริ ญสุ ขและพูนพิศ อามาตยกุล
,2554) พระเจนดุริยางค์เกิ ดเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2426 บิดาชื่ อนาย จาคอป ไฟท์ (Jacob Fiet) เป็ นชาว
อเมริ กนั เชื้ อชาติเยอรมัน เดิ นทางเข้ามาในประเทศสยามเมื่อปี พ.ศ. 2410 และได้เป็ นครู สอนแตรวงในราช
สํานักสยามในกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ (วังหน้า) ส่ วนมารดาชื่อนางทองอยู่ (ไม่ทราบนามสกุล) เป็ นคน
ไทยเชื้อสายมอญ (เจนดุริยางค์,พระ,2497: 1) พระเจนดุริยางค์มีพี่ชายที่เกิดจากมารดาเดียวกัน 2 คน คนแรกชื่อ
นาย พอล ไฟท์ (Paul Fiet) คนที่สองชื่อนายเลโอ ไฟท์ (Leo Fiet) ซึ่งพี่ชายทั้งสองคนนี้สามารถบรรเลงดนตรี ได้
ดีโดยได้รับการถ่ายทอดจากบิดาแต่เป็ นเพียงการเล่นดนตรี เพื่องามอดิเรกเท่านั้น(มนตรี ตราโมทย์, 2554)
ประวัติการศึกษาดนตรี
การศึกษาทางด้านดนตรี ของพระเจนดุริยางค์น้ นั เน้นที่การเรี ยนรู ้นอกระบบโรงเรี ยนเป็ นหลักซึ่ง
ได้รับการถ่ายทอดจากบิดานัน่ เอง พระเจนดุริยางค์เริ่ มเรี ยนดนตรี เมื่ออายุได้ 10 ปี โดยพี่ชายทั้งสองได้มีโอกาส
เรี ยนก่อน 3 ปี เนื่ องจากมีอายุและสรี ระของนิ้ วที่พร้อมแก่ การฝึ กฝนมากกว่า ในการเรี ยนดนตรี ของพระเจน
ดุริยางค์ที่ได้รับการถ่ายทอดจากบิดานั้น เป็ นไปด้วยความอุตสาหะและจริ งจังอย่างมาก พระเจนดุริยางค์ตอ้ งใช้
เวลาหลังเลิกเรี ยนทุกวันๆละ 1 ถึง2 ชัว่ โมง สําหรับวันหยุดจะเพิ่มเป็ น 3 – 5 ชัว่ โมงต่อวัน จะมีบางโอกาสที่งด
ซ้อมบ้างก็เนื่องด้วยจากการป่ วยหรื อวันหยุดตามเทศกาล เช่น วันคริ สต์มาส และวันขึ้นปี ใหม่ เป็ นต้น
ในช่วงเริ่ มแรกของการเรี ยนดนตรี ซึ่ งขณะนั้นมีอายุได้ 10 ปี พระเจนดุริยางค์เริ่ มเรี ยนซอไวโอ
ลีน (Violin) เป็ นเครื่ องดนตรี ชิ้นแรก จนกระทัง่ เวลาผ่านไป 3 ปี เมื่อสรี ระของนิ้ วมือมีขนาดใหญ่พอจึงได้เริ่ ม
ฝึ กหัดซอเชลโล (Cello) ซึ่ งเครื่ องดนตรี ชิ้นนี้ เองที่พระเจนดุริยางค์ได้ยึดถือเป็ นเครื่ องดนตรี ประจําตัวของท่าน
เมื่อรํ่าเรี ยนจนสามารถพัฒนาทักษะฝี มือได้ดีระดับหนึ่ ง พระเจนดุริยางค์จึงได้เริ่ มร่ วมบรรเลงดนตรี ร่วมกับ
พี่ชายทั้งสองคน ในรู ปแบบวงดนตรี แชมเบอร์ หรื อที่เรี ยกอีกอย่างหนึ่ งว่า “คัพภดนตรี ” (Chamber Music) ซึ่ ง
บทเพลงที่นาํ มาใช้บรรเลงล้วนได้มาจากบิดาของท่านเป็ นผูส้ รรหามาให้และล้วนแต่เป็ นเพลงคลาสสิ กทั้งสิ้ น
อีกทั้งยังได้ร่วมบรรเลงดนตรี กบั นักดนตรี ชาวต่างชาติในบางครั้ง นอกจากนี้ พระเจนดุริยางค์ยงั ได้ฝึกเรี ยน
เปี ยโนเมื่ออายุได้ 17 ปี และยังรวมไปถึงเครื่ องดนตรี ชนิ ดอื่นๆ เช่น ซอวิโอลา ซอดับเบิลเบส ฟลุท้ คลาริ เน็ท
และสไลด์ ทรอมโบน เป็ นต้น
ในส่ วนของทฤษฎี ดนตรี และวิชาการด้านดนตรี พระเจนดุริยางค์ได้คน้ คว้าตําราจากต่างประเทศหลายๆเล่ม
หลายภาษา โดยส่ วนมากจะเป็ นตําราดนตรี ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่ งเศสเพื่อเปรี ยบเทียบเนื้ อหา โดยตํารา
ทางด้า นวิ ช าการทางดนตรี ที่พ ระเจนดุ ริย างค์ไ ด้ท าํ การศึ ก ษา ได้แ ก่ ทฤษฎี ด นตรี ดุ ริ ย างค์ศ าสตร์ เ บื้ อ งต้น
(Rudiments of Music) สรุ ปหลักวิชาเบื้องต้น (Elements of Music) ตําราการประสานเสี ยง (Harmony) ตําราการ
ประพันธ์เพลง (Composition) ตําราว่าด้วยเครื่ องดนตรี ในวงดุ ริยางค์ (Orchestra) ตําราวงโยธวาทิต (Military
Band) ตําราการแยกแนวเพลง (Orchestration) ตําราประวัติการดนตรี (Musical History and Biography) หลัก
วิชาการประพันธ์ (Musical Forms) และตําราว่าด้วยการอํานวยเพลง (Art of Conducting) จนในเวลาต่อมาพระ
เจนดุริยางค์จึงได้มีโอกาสผลิตตําราด้านทฤษฎีดนตรี และการประสานเสี ยง เป็ นภาษาไทยเพื่อให้คนไทยสามารถ
เข้าถึงและรู ้จกั ทฤษฎีดนตรี ตะวันตกได้ง่ายขึ้น
ประวัติการรับราชการ
ในวันที่ 1 มกราคม ปี พ.ศ. 2446 พระเจนดุริยางค์ได้ยา้ ยเข้ารับราชการในกรมรถไฟหลวง แผนก
กองเดินรถ (Traffic Department) จนกระทัง่ ปี วันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ.2456 พระเจนดุริยางค์ได้รับพระราชทาน
สัญญาบัตร มีราชทินนามว่า “ขุนเจนรถรัฐ” ได้ปฏิบตั ิราชการในกรมรถไฟหลวงจนถึงวันที่ 31 สิ งหาคม พ.ศ.
2460 รวมเวลา 14 ปี กับ 8 เดือน ต่อมาในปี พ.ศ.2460 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั โปรดเกล้าฯ ให้
พระเจนดุริยางค์ยา้ ยมารับราชการที่กรมมหรสพ เมื่อวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2460 ดํารงตําแหน่ งผูช้ ่วยปลัดกรม
กองเครื่ องสายฝรั่งหลวง ซึ่ งรับหน้าที่ฝึกฝนนักดนตรี ให้แก่วงดนตรี ฝรั่งหลวงในราชสํานัก 1 เดือนต่อมาก็ได้รับ
พระราชทานสัญญาบัตร มีราชทิ นนามว่า “หลวงเจนดุ ริยางค์” เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ.2460 (เจนดุ ริยางค์
,พระ,2497: 1)และในปี เดียวกันนี้ เอง พระเจนดุริยางค์ก็ได้รับพระราชทานนามสกุล “วาทยะกร” และได้เปลี่ยน
จากชื่ อเดิ มจาก “ปี เตอร์ ” ใช้ชื่อใหม่ว่า “ปิ ติ ” ซึ่ งพระยาอนุ มานราชธนเป็ นผูต้ ้ งั ชื่ อใหม่ ให้ จึ งได้ใช้ชื่อและ
นามสกุลว่า “ปิ ติ วาทยะกร” ตั้งแต่น้ นั เป็ นต้นมา (มนตรี ตราโมทย์, 2554)
จนกระทัง่ วันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2463 ได้รับการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เป็ นปลัดกรม กองดนตรี
ฝรั่งหลวง ต่อมาได้พระราชทานสัญญาบัตร มีราชทินนามว่า “พระเจนดุริยางค์” เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ.2463
ซึ่งเป็ นที่รู้จกั และได้รับการเรี ยกขานจากนั้นเป็ นต้นมาจนถึงปัจจุบนั
นอกจากนี้ พระเจนดุริยางค์ยงั ได้ปฏิบตั ิราชการในหน่ วยงานต่างๆของทางราชการ ได้แก่ กรม
ศิลปากร ในปี พ.ศ.2477 กองภาพยนตร์ทหารอากาศ ในปี พ.ศ. 2485 และกรมตํารวจในปี พ.ศ.2494 จนกระทัง่ ถึง
แก่กรรมในวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ.2511
ผลงานของพระเจนดุริยางค์
ผลงานที่ ท รงคุ ณ ค่ า และมี ชื่ อ เสี ย งของพระเจนดุ ริ ย างค์ที่ ไ ด้ป ระพัน ธ์ แ ละเรี ย บเรี ย งเสี ย ง
ประสาน จําแนกตามลักษณะของการนําไปใช้งาน ดังนี้
1) ผลงานการประพันธ์เพลงรัฐพิธี
1.1) เพลงชาติไทย
ในปี พ.ศ.2574 เป็ นช่วงเวลาที่พระเจนดุริยางค์ได้ทาํ
หน้าที่ปรับปรุ งวงโยธวาฑิตและวงดุริยางค์ของกองทัพเรื อ กระทัง่ วันหนึ่งหลวงนิเทศกลกิจ (กลาง โรจนเสนา)
ซึ่งเป็ นสหายกับพระเจนดุริยางค์ ได้ร้องขอให้พระเจนดุริยางค์แต่งเพลงชาติ ซึ่งในเบื้องต้นพระเจนดุริยางค์ได้
ปฏิเสธเพราะมีเพลงสรรเสริ ญพระบารมีอยูแ่ ล้ว และด้วยไม่ใช่คาํ สัง่ จากผูบ้ งั คับบัญชาในต้นสังกัดของพระเจน
ดุริยางค์ อย่างไรก็ตามหลวงนิเทศกลกิจก็คงรบเร้าให้แต่งเพลงชาติไว้ไปพลางก่อน เมื่อมีโอกาสจะได้ทวงถาม
อีกครั้ง จากนั้นมาพระเจนดุริยางค์กพ็ ยายามเลี่ยงที่จะพบกับหลวงนิเทศกลกิจโดยตลอด จนกระทัง่ เกิดเหตุการณ์
ปฎิวตั ิในวันศุกร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.2475 โดยคณะราษฎร ภายหลังจากนั้นเป็ นเวลา 5 วันซึ่งตรงกับวันพุธที่ 29
มิถุนายน พ.ศ. 2475 (ตามบันทึกความทรงจําของพระเจนดุริยางค์) หลวงนิเทศกลกิจซึ่งเป็ นหนึ่งในคณะผูก้ ่อการ
ได้มาทวงถามเพลงชาติจากพระเจนดุริยางค์ แต่เนื่องจากพระเจนดุริยางค์ยงั ไม่ได้ทาํ การแต่งเพลงชาติแต่อย่างใด
ภายใต้สถานการณ์ที่สบั สน และเสี่ ยงต่อความมัน่ คงต่อหน้าที่และการงาน พระเจนดุริยางค์จึงได้ขอเลื่อนเวลา
ออกไปอีก 7 วัน หลวงนิเทศกลกิจจึงตอบตกลงที่จะประพันธ์เพลงชาติไทย
โน้ตเพลงชาติที่จดบันทึกด้วยลายมือของพระเจนดุริยางค์ เขียนที่สวนมิสกวัน เมื่อวัน
จันทร์ที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ.2475 เวลา 08.00น. ถูกเก็บรักษาอย่างดีโดยนายประศานน์ วาทยะกร บุตรของพระเจน
ดุริยางค์
ภาพจาก สุ กรี เจริ ญสุ ข

อย่างไรก็ตามมีขอ้ สังเกตบางประการเกี่ยวกับ
วิธีการนับลําดับวันที่เกิดเหตุการณ์สาํ คัญของพระเจนดุริยางค์ นัน่ คือวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.2475 ซึ่งเป็ นวันศุกร์
เป็ นลําดับวันที่ 1 ซึ่งเป็ นวันปฎิวตั ิ วันอังคารที่ 28 มิถุนายน พ.ศ.2475 ซึ่งเป็ นลําดับวันที่ 5 เป็ นเหตุการณ์ที่หลวง
นิเทศกลกิจทวงถามเพลงชาติ จากนั้นพระเจนดุริยางค์จึงขอเลื่อนส่ งเพลงชาติออกไปอีก 7 วัน แสดงว่าพระเจน
ดุริยางค์นบั ให้วนั อังคารที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2475 เป็ นลําดับวันที่ 1 และวันจันทร์ที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2475 เป็ น
ลําดับวันที่ 7 และออกแสดงครั้งแรกในวันพฤหัสบดีที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ.2475 และถูกใช้เป็ นทํานองเพลงชาติ
เรื่ อยมาจนการประกาศใช้คาํ รองของพันเอกหลวงสารานุประพันธ์ (นวล ปาจิณพยัคฆ์) ในปี พ.ศ.2482 เป็ นต้น
มา
คําร้องเพลงชาติไทยที่ชนะการประกวดคําร้องเพลงชาติไทย ที่เขียนด้วยลายมือของ
พันเอกหลวงสารานุประพันธ์
ภาพจาก สุ กรี เจริ ญสุ ข

2. ผลงานการประพันธ์เพลงและเรี ยบเรี ยงเสี ยงประสานให้กบั


หน่วยงานราชการ
2.1) กรมศิลปากร
2.1.1) เพลงกฤษดาภินิหาร
พระเจนดุริยางค์ได้นาํ ทํานองเพลงไทยเดิม
4 เพลง ได้แก่ เพลงรัวดึกดําบรรพ์ เพลงครวญหา เพลงจีนรัว และเพลงจีนถอน มาเรี ยบเรี ยงเสี ยงประสานให้วง
ดุริยางค์สากลกรมศิลปากรบรรเลงประกอบการแสดงละครเรื่ องเกียรติศกั ดิ์ทหารไทย ของกรมศิลปากรเมื่อปี
พ.ศ.2482 โดยมีเรื่ องราวเกี่ยวกับการบูชาอัญเชิญสิ่ งศักดิ์สิทธิ์และเทพเทวาทั้งหลาย มาช่วยปัดเป่ าทุกข์ภยั เพื่อ
ความร่ มเย็นเป็ นสุ ขของชาติบา้ นเมือง ประพันธ์คาํ ร้องโดยมนตรี ตราโมทย์ (ชมรมศิษย์พระเจนดุริยางค์,2536:
8)

2.2) กองทัพบก
2.2.1) เพลงทหารของชาติ
ในปี พ.ศ.2499 พระเจนดุริยางค์ได้
ประพันธ์เพลงประกอบละครอิงประวัติศาสตร์เรื่ อง “พระราชมนู” ของกรมศิลปากร ออกแสดง ณ โรงละคร
แห่ งชาติ โดยประพันธ์ทาํ นองและเรี ยบเรี ยงเสี ยงประสานเพลงที่มีชื่อว่า ทหารของชาติ ประพันธ์คาํ ร้องโดย พัน
ตรี โพธิ์ ทศนุ (ชมรมศิษย์พระเจนดุริยางค์,2536: 12)

2.3) กองทัพอากาศ
2.3.1) บ้านไร่ นาเรา
เมื่ อ พระเจนดุ ริ ย างค์ไ ด้ป ฏิ บ ัติ ร าชการที่
กองทัพอากาศ ได้มีบทบาทในการประพันธ์เพลงและเรี ยบเรี ยงเสี ยงประสานบทเพลงหลายบทเพลงและหลาย
รู ปแบบ อาทิ เพลงประกอบภาพยนตร์ “บ้านไร่ นาเรา” ประพันธ์คาํ ร้องโดยขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาค
พันธ์) (กองดุริยางค์ทหารอากาศ,2539:)

นักแสดงนําฝ่ ายชาย(ด้านซ้าย) นายเรื ออากาศเอกทวี จุ ลละทรั พย์ รั บบทเป็ นชาญ


บําเพ็ญดี นักแสดงนําฝ่ ายหญิง(ด้านขวา) นางสาวอารี ปิ่ นทอง รับบทเป็ นขําคม บํารุ งชาติ ในภาพยนตร์ เรื่ อง
บ้านไร่ นาเรา
ภาพจาก อาศรมดนตรี มหาวิทยาลัยมหิ ดล

2.3.2) ศรี อยุธยา


แต่เดิมเพลงศรี อยุธยาแต่เดิมใช้ชื่อว่า เพลง
พระเจ้าจักรา (King Chakra) พระเจนดุริยางค์เรี ยบเรี ยงเสี ยงประสาน ในปี พ.ศ.2480 ประกอบภาพยนตร์เรื่ อง
พระเจ้าช้างเผือก (The King of The White Elephant) สร้างโดยนายปรี ดี พนมยงค์ ต่อมานาวาเอกขุนสวัสดิ์ ฑิ
ฆัมพร ได้ประพันธ์บทร้องและเปลี่ยนชื่อเป็ น เพลงศรี อยุธยา และมีการปรับปรุ งเนื้อร้องใหม่อีกครั้งโดยมนตรี
ตราโมทย์ (สุ กรี จรกรรณ,2526: 5) มี 3 ท่อนเพลง คือ ท่อนที่ 1 เป็ นเพลงไตเติลในภาพยนตร์ มีแต่ทาํ นองไม่มีคาํ
ร้อง ท่อนที่ 2 และ 3 เป็ นท่อนที่มีคาํ ร้องซึ่งพระเจนดุริยางค์ได้ประพันธ์ทาํ นองและเรี ยบเรี ยงเสี ยงประสานโดย
ขุนสวัสดิ์ ฑิฆมั พรประพันธ์คาํ ร้องและต่อมามนตรี ตราโมท ได้ปรับปรุ งคําร้องเพิ่มเติม (กองดุริยางค์ทหาร
อากาศ,2539: 94)
2.3.3) ดารณี
มหาอุปรากรเรื่ อง ดารณี เป็ นอุปรากรที่ถูก
สร้างขึ้นในปี พ.ศ.2486 ภายใต้ยคุ รัฐบาลของจอมพลแปลก พิบูลสงคราม หรื อหลวงพิบูลสงคราม นิพนธ์โดย
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา ดารณี เป็ นอุปรากรเรื่ องแรกๆของไทยที่มีเนื้อเรื่ องเป็ นภาษาไทย
เนื้อหาเกี่ยวกับสงครามและสันติภาพ นอกจากนี้ยงั แฝงหรื อสะท้อนนโยบายของรัฐบาลสมัยจอมพลแปลก พิบลู
สงครามอย่างชัดเจน ส่วนการประพันธ์ดนตรี ประกอบนั้นพระเจนดุริยางค์ อาจารย์เดเก็น พร้อมด้วยคณะลูก
ศิษย์คือนารถ ถาวรบุตร และโพธิ์ ศานติกลุ ร่ วมกันประพันธ์ข้ ึนมา (อติภพ ภัทธรเดชไพศาล,2558: 213) อย่างไร
ก็ตามอุปรากรดังกล่าวไม่ได้นาํ ออกแสดงเนื่องจากอยูใ่ นภาวะสงครามมหาเอเชียบูรพา

2.4) กองทัพเรื อ
2.4.1) นํ้าใจทหารเรื อ
พระเจนดุริยางค์เป็ นผูป้ ระพันธ์ทาํ นอง
ให้กบั กองทัพเรื อโดยมีนาวาเอกสําเร็ จ นิยมเดช เป็ นผูป้ ระพันธ์คาํ ร้อง (กรมศิลปากรและชมรมศิษย์พระเจน
ดุริยางค์,2526: 4)

2.5) กรมตํารวจ
2.5.1) เพลงมาร์ชพิทกั ษ์สนั ติราช เรี ยบเรี ยงโดยพระ
เจนดุริยางค์ คําร้องทํานองโดยนารถ ถาวรบุตร เมื่อปี พ.ศ. 2495 ต่อมาเมื่อกรมตํารวจได้จดั ตั้งวงดนตรี ไทยขึ้น
ร้อยตํารวจตรี กาหลง พึ่งทองคํา จึงได้นาํ เพลงมาร์ชพิทกั ษ์สนั ติราช มาปรับปรุ งและนําไปขยายเป็ นเพลงเถา เพือ่
ใช้บรรเลงในวงดนตรี ไทยในปี พ.ศ.2500 (พูนพิศ อามาตยกุลและคณะ,2549: 569)
พระเจนดุริยางค์ในฐานะครู ดนตรี ที่เป็ นแรงบันดาลใจแก่ลกู ศิษย์จนประสบความสําเร็ จในวิชาชีพทางดนตรี

พระเจนดุริยางค์ (พ.ศ.2426 - 2511)


 

ครู นารถ ถาวรบุตร ครู เอื้อ สุ นทรสนาน ครู ไสล ไกรเลิศ ครู สมาน กาญจนผลิน ครู มนตรี ตราโมท จ.ท.สง่า อารัมภีร พ.ต.ท.ดร.ทีฆา โพธิ เวส พ.อ.อ. มนัส ปิ ติสานต์ น.ท.ปรี ชา เมตไตร
(พ.ศ.2457 - 2529) (พ.ศ.2464 - 2538) (พ.ศ.2443 - 2538) (พ.ศ.2464 - 2542) (พ.ศ.2474 – ปั จจุบนั ) (พ.ศ.2471 – ปั จจุบนั ) (พ.ศ.2472 – ปั จจุบนั )
(พ.ศ.2448 - 2524) (พ.ศ.2453 - 2524)
ได้รับการเชิดชูเกียรติ มีบทบาทสําคัญในการ ได้รับการเชิดชูเกียรติให้ เป็ นผูก้ ่อตั้งวงดนตรี ลกู ฟ้ า
ฉายาราชาเพลงมาร์ช เป็ นหัวหน้าวงดนตรี ได้รับรางวัล เป็ นผูท้ ี่มีความ ได้รับการเชิดชูให้
พัฒนาวงการวงโยธวาฑิต เป็ นศิลปิ นแห่งชาติสาขา แห่งกองทัพอากาศ มี
ของเมืองไทยผลงาน สุ นทราภรณ์ได้รับ แผ่นเสี ยงทองคํา ให้เป็ นศิลปิ น เชี่ยวชาญทั้งดนตรี เป็ นศิลปิ นแห่งชาติ
ของประเทศไทย ให้กา้ วสู่ ศิลปะการแสดง (เพลง ความรู ้ความสามารถใน
เรี ยบเรี ยงเสี ยงประ การยกย่องให้เป็ น พระราชทาน ในปี แห่งชาติสาขา ไทยและดนตรี สากล สาขาศิลปะการแสดง
ระดับสากล เคยถวายงาน ไทยสากล)ประจําปี พ.ศ. การเรี ยบเรี ยงเสี ยง
สานที่มีชื่อเสี ยง เช่น บุคคลดีเด่นของโลก พ.ศ. 2527 จาก ศิลปะการแสดง  นอกจากนี้ยงั มีความรู้ (เพลงไทยสากล) เมื่อ
บรรเลงดนตรี แก่พระบาท 2555 มีผลงานประพันธ์ ประสาน อยูเ่ บื่องหลังใน
มาร์ชกราวกีฬา เพลง จาก องค์การยูเนสโก เพลง "ม่านประ (เพลงไทยสากล) ความสามารถ พ.ศ. 2531 ผลงาน เพลงรักและเพลงประกอบ
สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาล การเรี ยบเรี ยงเสี ยง
มหาฤกษ์ เป็ นต้น ประจําปี พ.ศ.2553 มี เพณี " และเป็ น ประจําปี พ.ศ.2531 ทางด้านวิชาการทาง เพลงที่มีชื่อเสี ยง ที่ 9 และได้รับพระราชทาน ละครโทรทัศน์มากมาย ประสานให้กบั ศิลปิ นดัง
ผลงานการประพันธ์ เจ้าของผลงาน ผลงานที่มีชื่อเสี ยง ดนตรี ได้รับรางวัล ได้แก่ นํ้าตาแสงไต้ ดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์สาขา อาทิ สเน่หาอาลัย สี่ ยอด หลายท่านอาทิ มนัส ปิ ติ
เพลงมากกว่า 3,000 เพลง ผูช้ นะสิ บทิศ ได้แก่ สดุดีมหาราชา ศิลปิ นแห่งชาติ สาขา และ เรื อนแพ ฯลฯ ดนตรี ศึกษา จากมหาวิทยา กุมาร ปอบผีฟ้า ขวานฟ้ า สานต์ สง่า อารัมภีร เป็ น
เพลง ฯลฯ จําเลยรัก เป็ นต้น ดนตรี ไทย พ.ศ. 2528 ลัยราชภัฏร้อยเอ็ด ประจําปี หน้าดํา แม่นาคพระโขนง ต้น
การศึกษา 2555 ฯลฯ

You might also like