You are on page 1of 6

แผนการสอนเครื่องลมทองเหลืองเสียงสูง

แนวความคิด

แนวทรัมเป็ตและฮอร์นเป็นองค์ประกอบสำคัญในกำรแสดงถึงควำมเป็นเพลงมำร์ช

วัตถุประสงค์

- นักเรียนสำมำรถทำท่ำทำงกำรนั่งและยืนเป่ำได้อย่ำงถูกต้อง
- นักเรียนสำมำรถวำงรูปปำกได้ถูกต้อง
- นักเรียนสำมำรถออกเสียง (Articulation) และตัดลิ้น (Tonguing) ในบทเพลง Thunderer
March ได้ถูกต้อง
- นักเรียนสำมำรถเล่นบทเพลงและมีกำรหำยใจได้อย่ำงเป็นประโยค (Phrase) ได้

เนื้อหา

ลักษณะท่าทางการปฏิบัติเครื่องดนตรี

การจับถือเครื่องดนตรี จะอยู่ในลักษณะที่เป็นธรรมชำติ ข้อมือในขณะจับจะไม่บิดง้อหรือผิดธรรมชำติ


จะทำให้ผู้เล่นรู้สึกเกร็ง และจะทำให้กำรเล่นเป็นไปอย่ำงลำบำก

ท่าทางในการนั่งปฏิบัติเครื่องดนตรี กำรนั่งจะอยู่ในลักษณะหลังตรง ไม่ควรนั่งเต็มก้น ขำตั้งตรงเต็ม


ฝำเท้ำ ไม่ควรนั่งพับขำไปใต้เก้ำอี้ หรือ นั่งยืดเหยียดขำ
ท่าทางในการยืนปฏิบัติเครื่องดนตรี ตื่นหลังตรง กำงขำเล็กน้อยให้เสมอหัวไหล ไม่ควรยืนหย่อนเขำ
และถือเครื่องดนตรีในลักษณะลำโพงไปข้ำงหน้ำ ไม่ควรให้ลำโพงชี้ลงพื้น เพรำะจะทำให้กำรเป่ำเป็นไปได้อย่ำง
ลำบำก และไม่ควรเกร็งหัวไหล

การวางรูปปาก(Embouchure)

เครื่องลมทองเหลืองเสียงสูงที่จะกล่ำวถึง คือ ทรัมเป็ต และ เมโลโฟน (Mellophone horn) ใน


ลักษณะกำรเล่นของทั้งสองเครื่องจะมีควำมคลำยคลึงกันและไม่แตกต่ำงกันมำกนัก

กำรว่ำงรูปปำกของทรัมเป็ต เริ่มจำกให้พูดคำว่ำ “m” “เอ็ม” โดยไม่ใช่กำรเม้มปำกเข้ำไป เพียงแค่ให้


ริมฝีปำกประกลบลงอย่ำงเป็นธรรมชำติ จำกนั้นให้นำกำพวด(Mouthpieces) วำงที่จุดกึ่งกลำงของริมฝีปำกทั้ง
บนและล่ำง

ภำพลักษณะกำรวำงรูปปำกตัวอย่ำง ของทรัมเป็ต
กำรวำงรู ป (Embouchure) ของ เมโลโฟน(Mellophone Horn) เริ่ ม จำกพู ด ค ำว่ ำ “m” “เอ็ ม ”
เช่นเดียวกันกับทรัมเป็ต ให้ริมฝีปำกปิดลงอย่ำงเป็นธรรมชำติ จุดที่วำงกำพวด(Mouthpieces) ของเมโลโฟน
(Mellophone Horn)จะต่ำงจำกทรัมเป็ตโดยกำรว่ำงของกำพวด(Mouthpieces) จะว่ำงบนริมฝีข้ำงบนเยอะ
กว่ำริมฝีปำกล่ำง

ภำพลักษณะกำรว่ำงรูปปำกของ เมโลโฟน(Mellophone Horn)

ทั้งนี้ในกำรวำงรูปปำก(Embouchure) นี้เป็น ลักษณะที่ควรจะเป็น แต่ขึ้นอยู่กับสรีระร่ำงกำยของแต่


ละบุคคลด้วย สำมำรถนำไปปรับใช้ได้

การออกเสียง(Articulation)

กำรออกเสียงของเครื่องลมทองเหลือง เริ่มจำกกำรใช้ลิ้น เรียกว่ำกำรตัดลิ้น(Tonguing)

การตัดลิ้น (Tonguing) คือ กำรใช้ลิ้นเพื่อให้เกิดควำมชัดเจนของโน้ต เรำใช้ส่วนของปลำยลิ้นในกำร


ตัดลิ้นโดยกำรเคลื่อนไหวขึ้นและลง บริเวณที่ปลำยลิ้นควรสัมผัสในกำรตัดลิ้น คื อ บริเวณโคนฟันบนด้ำนหน้ำ
ระหว่ำงเหงือก โดยให้แนวคิดในกำรหำจุดสัมผัสด้วยกำรพูดคำว่ำ “ทำ” หรือ “ทู” จะทำให้เรำสำมำรถเจอ
ตำแหน่งที่ดีที่สุดสำหรับกำรตัดลิ้น เมื่อตัดลิ้นแล้วลิ้นควรกลับมำอยู่ในตำแหน่งเดิม
นักดนตรีประเภทเครื่องลมทองเหลืองใช้คำพูดในกำรตัดลิ้นที่แตกต่ำงกันไปตำมช่วงเสียง (range)
เพื่อให้ช่องปำกมีควำมเหมำะสมกับควำมเร็วลมที่ใช้ในกำรตัดลิ้น เช่น

“ooh” “อู” ใช้สำหรับช่วงเสียงต่ำ

“ah” “อำ” ใช้สำหรับช่วงเสียงกลำง

“ee” “อี” ใช้สำหรับช่วงเสียงสูง

ทัง้ นี้ขึ้นอยู่กับกำรเลือกใช้คำพูดขึ้นอยู่กับควำมถนัดของแต่ละบุคคล อำจเปลี่ยนตัวอักษรเป็น ด หรือ ท ก็ได้

กำรตั ด ลิ้ น ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ ำพที่ ดี นั้ น มำจำกกำรวำงรู ป ปำ กที่ ดี (embouchure) และลมที่ ใช้
(breath control) ทำงำนไปพร้อมกัน กำรฝึกตัดลิ้นเรำจึงควรให้ควำมสำคัญเรื่องของกำรใช้ลมให้
ถูกต้องเป็นอันดับแรก

กำรออกเสียงในแบบต่ำงๆ

โน้ตปกติ ไม่มีเครื่องหมำยใดๆกำกับอยู่ให้เป่ำเต็มค่ำตัวโน้ตแยกตัวโน้ตเป็น
ตัวๆ ออกจำกกัน และให้หำงเสียงเบำลงเล็กน้อย

LEGATO (เสียงต่อเนื่อง) มีเครื่องหมำย “ . ” และเครื่องหมำยโยงเสียง


กระแสลมไหลต่อเนื่องกัน(ไม่ขำดจำกกัน)

TENATO(เสียงเต็ม) เป่ำเต็มค่ำของตัวโน้ต เป่ำแรงๆ หำงเสียงไม่เบำลง


MARCATO(เน้น) กระแทกเสียงให้ดังมำกกว่ำ เครื่องหมำยที่กำหนดควำม
ดังที่กำกับไว้ประมำณ 1 ขั้น และเบำลงเข้ำหำควำมดังจริง เช่น ถ้ำเดิมใช้
mf ให้กระแทกเสียงตัวโน้ตนั้นด้วย f แล้วเบำลงเข้ำหำ mf ตำมเดิม

STACCATO ตรงกันข้ำมกับ LEGATO แปลว่ำให้แยกออกจำกกันทำให้ค่ำ


ของตัวโน้ตเป็นครึ่งเดียวของโน้ตที่บันทึกอยู่ เช่น ถ้ำเล่นหมำยควำมว่ำให้
เป่ำเหลือ

กิจกรรมการเรียนรู้

1. ครูสอนลักษณะท่ำทำงกำรนั่งและยืนในกำรบรรเลง
- ให้นักเรียนนั่งและยืนบรรเลงตำมปกติ ครูสังเกตลักษณะกำรนั่งและยืนของนักเรียน เมื่อ
มีนักเรียนมีลักษณะท่ำทำงผิด ครูจะเข้ำไปปรับเปลี่ยนท่ำทำงเป็นรำยบุคคล
2. ครูสอนกำรวำงรูปปำก
- ให้นักเรียนเป่ำโน้ตตัวแรกของเครื่อง สังเกตพฤติกรรมกำรวำงรูปปำกของนักเรียน เมื่อมี
นักเรียนมีกำรวำงรูปปำกที่ผิด ครูจะคอยปรับเปลี่ยนตำแหน่งกำรวำง (ทัง้ นี้กำร
ปรับเปลี่ยนรูปปำกอำจจะต้องใช้ระยะเวลำและกำรปรับเปลี่ยนอย่ำงต่อเนื่อง)
3. ครูสอนกำรตัดลิ้น
- นำแบบฝึกหัดมำให้นักเรียนลองฝึกเป่ำ โดยจะให้เริ่มจำกเสียงที่หนึ่งของเครื่องมือตัวเอง
ไปถึงเสียงที่ห้ำ โดยจะมีลักษณะกำรตัดลิ้นที่แตกต่ำงกันทั้งหมด 4 แบบ สังเกตวิธีกำร
เล่นของนักเรียน และชี้แนะโดยกำรเล่นให้นักเรียนฟัง จำกนั้นให้นักเรียนเล่นตำม
4. ครูนำซ้อมเพลง The Thunderer March
- ให้นักเรียนเล่นเพลง The Thunderer โดยนำกำรตัดลิ้นจำกแบบฝึกหัดมำใช้ในบทเพลง
ให้ตรงตำมบทเพลง ชี้แนะกำรบรรเลงบทเพลงรวมถึงประโยคในบทเพลง โดยครูจะ
สำธิตกำรบรรเลงเป็นประโยคตำมลำดับ

การประเมินผล

1. สังเกตลักษณะท่ำทำงในกำรบรรเลงของนักเรียน
2. สังเกตกำรวำงรูปปำกของนักเรียน
3. สังเกตวิธีกำรออกเสียง กำรตัดลิ้น ของนักเรียน
4. สังเกตรำยละเอียดต่ำง ๆ ในกำรบรรเลงบทเพลง The Thunderer ของนักเรียน

You might also like