Untitled

You might also like

You are on page 1of 62

การวิเคราะห์โครงสร้างหน่วยการจัดประสบการณ์ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช

2560
หน่วยที่ 6 อาหารดีมีประโยชน์ ชัน
้ อนุบาลปี ที่ 1-3 ภาคเรียนที่ 1

รายการ อนุบาลปี ที่ 1 อนุบาลปี ที่ 2 อนุบาลปี ที่ 3

สาระที่ควร 1. ชื่อของอาหาร และส่วน 1. อาหารหลัก 5 หมู่ 1. อาหารหลัก 5 หมู่


เรียนรู้ ประกอบของอาหาร 2. อาหารแต่ละชนิดมีรสชาติ 2. อาหารที่มีประโยชน์และ
2. อาหารที่ควรรับประทานและ ที่แตกต่างกัน อาหารที่ไม่มี
อาหารที่ไม่ควร เช่น ขม หวาน เปรีย
้ ว เค็ม ประโยชน์
รับประทาน เผ็ด 3. ประโยชน์ของอาหาร
3. อุปกรณ์ในการรับประทาน 3. สุขนิสัยและมารยาทที่ดีใน 4. อาหารประจำภาคทัง้ 4 ภาค
อาหาร การรับประทาน คือ ภาคเหนือ
4. มารยาทในการรับประทาน อาหาร ภาคกลาง ภาคอีสาน และ
อาหาร 4. ประโยชน์ของอาหาร ภาคใต้
5. เวลาในการรับประทานอาหาร 5. วิธีการประกอบอาหาร เช่น 5. การประกอบอาหารไทย
6. ประโยชน์ของอาหาร ต้ม ผัด แกง ประเภท ส้มตำไทย
7. การประกอบอาหารไข่เจียวหมู ทอด 6. การจำแนกและจัดกลุ่มอ้วน –
สับ 6. การประกอบอาหารต้มจืด ผอม
เต้าหู้หมูสบ
ั 7. การจำแนกและจัดกลุ่มภาพ
7. การจำแนกและจัดกลุ่ม กับสัญลักษณ์
อาหารแต่ละชนิด
ออกเป็ นหมู่
8. การเรียงลำดับสิ่งของหรือ
เหตุการณ์
มาตรฐาน มฐ 1 ตบช. 1.3 (1.3.1) มฐ 1 ตบช. 1.3 (1.3.1) มฐ 1 ตบช. 1.3 (1.3.1)
ตัวบ่งชี ้ มฐ 2 ตบช. 2.2 (2.2.1) มฐ 1 ตบช. 2.1 (2.1.4) มฐ 2 ตบช. 2.2 (2.2.1)
สภาพที่พึง มฐ 3 ตบช. 3.2 (3.2.1) มฐ 2 ตบช. 2.2 (2.2.1) มฐ 3 ตบช. 3.2 (3.2.1)
ประสงค์ มฐ 4 ตบช. 4.1 (4.1.1) (4.1.3) มฐ 3 ตบช. 3.2 (3.2.1) มฐ 4 ตบช. 4.1 (4.1.1) (4.1.3)
มฐ 6 ตบช. 6.1 (6.1.2) มฐ 4 ตบช. 4.1 (4.1.1) มฐ 8 ตบช. 8.2 (8.2.1)
มฐ 8 ตบช. 8.2 (8.2.1) (4.1.3) มฐ 1 ตบช. 8.3 (8.3.2)
มฐ 9 ตบช. 9.1 (9.1.1) มฐ 6 ตบช. 6.1 (6.1.2) มฐ 9 ตบช. 9.1 (9.1.1)
มฐ 10 ตบช. 10.1 (10.1.1) มฐ 8 ตบช. 8.2 (8.2.1) มฐ 10 ตบช. 10.1 (10.1.2)
มฐ 1 (10.1.2) (10.1.3) (10.1.4) มฐ 1 ตบช. 8.3 (8.3.2) มฐ 1 (10.1.3) (10.1.4)
มฐ 10 ตบช. 10.1 (10.1.1)
มฐ 1 (10.1.2) (10.1.3)
(10.1.4)
รายการ อนุบาลปี ที่ 1 อนุบาลปี ที่ 2 อนุบาลปี ที่ 3

ประสบการณ์ ร่างกาย ร่างกาย ร่างกาย


สำคัญ 1.1.1 (1) การเคลื่อนไหวอยู่กับที่ 1.1.1 (1) การเคลื่อนไหวอยู่ 1.1.1 (1) การเคลื่อนไหวอยู่กับที่
1.1.1 (2) การเคลื่อนไหวเคลื่อนที่ กับที่ 1.1.1 (2) การเคลื่อนไหว
1.1.1 (3) การเคลื่อนไหวพร้อม 1.1.1 (2) การเคลื่อนไหว เคลื่อนที่
วัสดุอุปกรณ์ เคลื่อนที่ 1.1.2 (2) การเขียนภาพและการ
1.1.2 (2) การเขียนภาพและการ 1.1.1 (3) การเคลื่อนไหว เล่นกับสี
เล่นกับสี พร้อมวัสดุอุปกรณ์ 1.1.1 (3) การปั ้ น
1.1.1 (3) การปั ้ น 1.1.1 (4) การเคลื่อนไหวที่ใช้ 1.1.1 (4) การประดิษฐ์สิ่งต่างๆ
1.1.1 (5) การหยิบจับ การใช้ ประสาน ด้วยเศษวัสดุ
กรรไกร การฉีก 1.1.1 สัมพันธ์ของการใช้ 1.1. (5) การหยิบจับ การใช้
1.1.1 การตัด การปะ และการ กล้ามเนื้อ กรรไกร การฉีก 1.1.1 การ
ร้อยวัสดุ 1.1.1 ใหญ่ ในการขว้าง ตัด การปะ และการร้อยวัสดุ
1.1.4 (1) การปฏิบัติตนให้ การจับ การโยน 1.1.1 1.1.4 (1) การปฏิบัติตนให้
ปลอดภัยในกิจวัตร การเตะ ปลอดภัยในกิจวัตร
1.1.1 ประจำวัน 1.1.2 (2) การเขียนภาพและ 1.1.1 ประจำวัน
1.1.1 (3) การเล่นเครื่องเล่นอย่าง การเล่นกับสี 1.1.1 (3) การเล่นเครื่องเล่น
ปลอดภัย 1.1.1 (3) การปั ้ น อย่างปลอดภัย
อารมณ์ 1.1.1 (5) การหยิบจับ การใช้ อารมณ์
1.2.1 (1) การฟั งเพลง การร้อง กรรไกรการฉีก 1.1.1 การ 1.2.1 (1) การฟั งเพลง การร้อง
เพลงและการแสดง 1.1.1 ตัด การปะ และการร้อยวัสดุ เพลงและการ
ปฏิกิริยาโต้ตอบเสียงดนตรี 1.1.4 (1) การปฏิบัติตนให้ แสดงปฏิกิริยาโต้ตอบเสียงดนตรี
1.1.1 (3) การเคลื่อนไหวตามเสียง ปลอดภัยใน 1.1.1 (3) การเคลื่อนไหวตาม
เพลง/ดนตรี 1.1.1 กิจวัตรประจำวัน เสียงเพลง/ดนตรี
1.2.2(3)การเล่นตามมุม 1.1.1 (3) การเล่นเครื่องเล่น 1.2.2 (1) การเล่นอิสระ
ประสบการณ์/มุมเล่นต่างๆ อย่างปลอดภัย 1.1.1 (3) การเล่นตามมุม
1.2.4 (2) การเล่นบทบาทสมมุติ อารมณ์ ประสบการณ์/มุมเล่น 1.1.1
1.1.1 (๕) การทำงานศิลปะ 1.2.1 (1) การฟั งเพลง การ ต่างๆ
ร้องเพลงและ
1.1.1 การแสดงปฏิกิริยา
โต้ตอบ
1.1.1 เสียงดนตรี
1.1.1 (3) การเคลื่อนไหวตาม
เสียงเพลง/
1.1.1 ดนตรี
รายการ อนุบาลปี ที่ 1 อนุบาลปี ที่ 2 อนุบาลปี ที่ 3

สังคม 1.1.1 (4) การเล่นบทบาท 1.2.4 (2) การเล่นบทบาทสมมุติ


1.3.1 (1) การช่วยเหลือตนเองใน สมมุติ 1.1.1 (๕) การทำงานศิลปะ
กิจวัตรประจำวัน 1.2.2 (1) การเล่นอิสระ สังคม
1.3.3 (3) การประกอบอาหารไทย 1.1.1 (3) การเล่นตามมุม 1.3.3 (3) การประกอบอาหาร
1.3.5 (2) การเล่นและการทำงาน ประสบการณ์/ ไทย
ร่วมกับผู้อ่ น
ื 1.1.1 มุมเล่นต่าง ๆ 1.3.4 (2) การปฏิบัติเป็ นสมาชิก
สติปัญญา 1.2.4 (2) การเล่นบทบาท ที่ดีของ
1.1.4 (3) การฟั งเพลง นิทานคำ สมมุติ 1.1.1 ห้องเรียน
คล้องจอง 1.1.1 (๕) การทำงานศิลปะ 1.3.5 (2) การเล่นและการ
1.1.1 บทร้อยกรอง หรือเรื่อง สังคม ทำงานร่วมกับผู้อ่ น

ราวต่างๆ 1.3.1 (1) การช่วยเหลือ 1.1.1 (3) การทำศิลปะแบบร่วม
1.1.1 (๔) การพูดแสดงความคิด ตนเองใน มือ
เห็นความรู้สึกและ 1.1.1 1.1.1 กิจวัตรประจำวัน สติปัญญา
ความต้องการ 1.3.3 (3) การประกอบอาหาร 1.1.4 (3) การฟั งเพลง นิทานคำ
1.1.1 (6) การพูดอธิบายเกี่ยวกับ ไทย คล้องจอง
สิ่งของ เหตุการณ์ 1.1.1 และ 1.3.4 (2) การปฏิบัติเป็ น 1.1.1 บทร้อยกรองหรือเรื่อง
ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ สมาชิกที่ดีของ ราวต่างๆ
1.1.1 (19) การเห็นแบบอย่างการ 1.1.1 ห้องเรียน 1.1.1 (๔) การพูดแสดงความคิด
เขียนที่ถูกต้อง 1.3.5 (2) การเล่นและการ เห็นความรู้สึก
1.4.2 (1) การสังเกตลักษณะส่วน ทำงาน 1.1.1 และความต้องการ
ประกอบการ ร่วมกับผู้อ่ น
ื 1.1.1 (6) การพูดอธิบายเกี่ยวกับ
เปลี่ยนแปลงและความสัมพันธ์ของ สติปัญญา สิ่งของ
สิ่งต่างๆ โดยใช้ 1.1.4 (3) การฟั งเพลง นิทาน 1.1.1 เหตุการณ์ และความ
ประสาทสัมผัสอย่างเหมาะสม คำคล้องจอง 1.1.1 บท สัมพันธ์
1.1.1 (5) การคัดแยก การจัดกลุ่ม ร้อยกรอง หรือเรื่องราวต่างๆ 1.1.1 ของสิง่ ต่างๆ
และการจำแนก 1.1.1 สิ่งต่างๆ 1.1.1 (๔) การพูดแสดงความ 1.4.2 (5) การคัดแยก การจัด
ตามลักษณะและรูปร่าง รูปทรง คิดเห็น กลุ่ม และการ 1.1.1 จำแนก
1.1.1 ความรู้สึกและ สิ่งต่างๆ ตามลักษณะและ
ความต้องการ 1.1.1 รูปร่าง รูปทรง
1.1.1 (6) การพูดอธิบายเกี่ยว 1.1.1 (6) การต่อของชิน
้ เล็กเติม
กับสิง่ ของ ในชิน
้ ใหญ่ให้
1.1.1 เหตุการณ์ และ 1.1.1 สมบูรณ์และการแยก
ความสัมพันธ์ของ 1.1.1 ชิน
้ ส่วน
สิ่งต่างๆ 1.1.1 (13) การจับคู่ การเปรียบ
1.4.2 (1) การสังเกตลักษณะ เทียบและ
ส่วนประกอบ 1.1.1 การเรียงลำดับ สิ่ง
การเปลี่ยนแปลง และการ ต่างๆ ตาม
เปลี่ยนแปลง และ

รายการ อนุบาลปี ที่ 1 อนุบาลปี ที่ 2 อนุบาลปี ที่ 3

1.1.1 (13) การจับคู่ การเปรียบ 1.1.1 ความสัมพันธ์ของ 1.1.1 ลักษณะ ความ


เทียบและการ สิ่งต่างๆโดยใช้ ยาว/ความสูง น้ำหนัก
1.1.2 เรียงลำดับ สิง่ ต่างๆ 1.1. 1 ประสาทสัมผัส 1.1. 1 ปริมาตร
ตามลักษณะ อย่างเหมาะสม 1.1.1 (14) การบอกและเรียง
1.1.3 1.1.1 ความยาว/ความสูง 1.1.1 (5) การคัดแยก การจัด ลำดับกิจกรรมหรือ 1.1.1
น้ำหนัก ปริมาตร กลุ่ม และ เหตุการณ์ตามช่วงเวลา
1.1.1 (14) การบอกและเรียงลำดับ 1.1.1 การจำแนกสิ่ง 1.4.3 (2) การแสดงความคิด
กิจกรรมหรือ ต่างๆ ตามลักษณะ 1.1.1 สร้างสรรค์ผ่าน
1.1.2 เหตุการณ์ตามช่วง และรูปร่าง รูปทรง 1.1.1 ภาษาท่าทางการ
เวลา 1.1.1 (6) การต่อของชิน
้ เล็ก เคลื่อนไหวและศิลปะ
1.4.3 (2) การแสดงความคิด เติมในชิน
้ ใหญ่1.1.1 ให้
สร้างสรรค์ผ่านภาษา สมบูรณ์และการแยกชิน
้ ส่วน
1.1.1 ท่าทางการเคลื่อนไหว 1.1.1 (13) การจับคู่ การ
และศิลปะ เปรียบเทียบและ
1.1.1 การเรียงลำดับ
สิ่งต่างๆตาม
1.1.1 ลักษณะ ความ
ยาว/ความสูง
1.1.1 น้ำหนัก ปริมาตร
1.1.1 (14) การบอกและเรียง
ลำดับ
1.1.1 กิจกรรมหรือ
เหตุการณ์ตาม
1.1.1 ช่วงเวลา
1.4.3 (2) การแสดงความคิด
สร้างสรรค์
1.1.1 ผ่านภาษาท่าทาง
การเคลื่อนไหว 1.1.1
และศิลปะ
คณิตศาสตร์ 1. นับปากเปล่า 1-5 1. นับปากเปล่า 1-10 1. นับปากเปล่า 1-20
2. นับแสดงจำนวน 1 : 1 2. นับและแสดงจำนวน 3 2. นับและแสดงจำนวน 6
3. จับคู่และเปรียบเทียบ 3. จับคู่เปรียบเทียบจำนวน
4. การรวมและการแยก
วิทยาศาสตร์ -ทักษะการสังเกต -ทักษะการสังเกต 1. ทักษะการสังเกต
2. อธิบายเชื่อมโยงสาเหตุและ
ผลที่
เกิดขึน
้ ในเหตุการณ์หรือการกระ
ทำ
พัฒนาการทาง
ภาษาและการรู้
หนังสือ

รายการ อนุบาลปี ที่ 1 อนุบาลปี ที่ 2 อนุบาลปี ที่ 3

พัฒนาการทาง 1. การฟั งและปฏิบัติตามคำสั่งคำ 1. การฟั งและปฏิบัติตามคำ 1. การฟั งและปฏิบัติตามคำสัง่


ภาษาและการรู้ แนะนำ สั่ง คำแนะนำ คำแนะนำ
หนังสือ 2. การฟั งเพลง นิทาน คำ 2. การฟั งเพลง นิทาน คำ 2. การฟั งเพลง นิทาน คำ
คล้องจองบทร้อยกรอง คล้องจอง คล้องจองบทร้อยกรอง
หรือเรื่องราวต่างๆ บทร้อยกรองหรือเรื่องราว หรือเรื่องราวต่างๆ
3. การเห็นแบบอย่างการเขียนที่ ต่างๆ 3. การพูดแสดงความคิดเห็น
ถูกต้อง 3. การพูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึกและ
4. การพูดแสดงความคิดเห็นความ ความรู้สึก ความต้องการ
รู้สึกและ และความต้องการ 4. การพูดอธิบายเกี่ยวกับสิ่งของ
ความต้องการ 4. การพูดอธิบายเกี่ยวกับ เหตุการณ์ และ
5. การพูดอธิบายเกี่ยวกับสิ่งของ สิ่งของเหตุการณ์ ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ
เหตุการณ์ และ และความสัมพันธ์ของสิ่ง
ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ ต่างๆ
หน่วยการจัดปะสบการณ์ที่ 6 อาหารดีมีประโยชน์ ชัน
้ อนุบาลปี ที่ 3
แนวคิด
อาหารเป็ นสิ่งที่จำเป็ นสำหรับเรา เพราะร่างกายของเราต้องการอาหารเพื่อช่วยในการเจริญ
เติบโต เราต้อง เลือกกินอาหารที่ดีมีประโยชน์ ได้แก่ ข้าว เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ นม และน้ำดื่ม
สะอาด อาหารมีมากมายหลายชนิด อาหารบางชนิดทำให้เกิดประโยชน์ อาหารบางชนิดทำให้เกิด
โทษ เราควรเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย อาหารในแต่ละภาคของ
ประเทศไทยก็จะมีรสชาติและมีช่ อ
ื เรียกแตกต่างกันไป
มาตรฐานหลักสูตรปฐมวัย สาระการเรียนรู้
จุดประสงค์
สภาพที่พึง
มาตรฐาน ตัวบ่งชี ้ การเรียนรู้ ประสบการสำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้
ประสงค์
มาตรฐานที่ 1 1.3 รักษาความ 1.3.1 เล่น ทำ 1. เล่น ทำ 1.1.4 การรักษา 1. อาหารหลัก 5 หมู่
ร่างกายเจริญ ปลอดภัยของ กิจกรรมและ กิจกรรมและ ความปลอดภัย 2. อาหารที่มีประโยชน์
เติบโต ตนเองและผู้อ่ น
ื ปฏิบัติต่อผู้อ่ น
ื ปฏิบัติต่อผู้อ่ น
ื (1) การปฏิบัติตนให้ และอาหาร
ตามวัยและมี อย่าง อย่างปลอดภัย ปลอดภัยในกิจวัตร ที่ไม่มีประโยชน์
สุขนิสัยที่ดี ปลอดภัย ได้ ประจำวัน 3. ประโยชน์ของอาหาร
(3) การเล่นเครื่อง 4. อาหารประจำภาคทัง้
เล่นอย่าง 4 ภาค
2.2 ใช้มือ – ตา 2.2.1.ใช้ ปลอดภัย คือ ภาคเหนือ ภาคกลาง
มาตรฐานที่ 2 ประสานสัมพันธ์ กรรไกรตัด 2.ใช้กรรไกร ภาคอีสาน และ ภาคใต้
กล้ามเนื้อใหญ่ กัน กระดาษตาม ตัดกระดาษ 1.1.2 การใช้กล้าม 5. การประกอบอาหาร
และ แนวเส้น ตามแนว เนื้อเล็ก ไทยประเภท
กล้ามเนื้อเล็ก โค้งได้ เส้นโค้งได้ (5) การหยิบจับ การ ส้มตำไทย
แข็งแรง ใช้ได้ ใช้กรรไกร 6. การจำแนกและจัด
อย่าง การฉีก การตัด การ กลุ่ม
คล่องแคล่วและ ปะ และการ อ้วน – ผอม
ประสาน ร้อยวัสดุ 7. การจำแนกและจัด
สัมพันธ์กัน กลุ่มภาพกับ
สัญลักษณ์
8. นับปากเปล่า 1- 20
9. นับและแสดงจำนวน
6
10. การจับคู่และเปรียบ
เทียบ

มาตรฐานหลักสูตรปฐมวัย สาระการเรียนรู้
จุดประสงค์
สภาพที่พึง
มาตรฐาน ตัวบ่งชี ้ การเรียนรู้ ประสบการสำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้
ประสงค์
มาตรฐานที่ 3 3.2 มีความรู้สึก 3.2.1 กล้าพูด 3. กล้าพูดกล้า 1.4.1 การใช้ภาษา
มีสุขภาพจิต ที่ดี กล้าแสดงออก แสดง ออก (๔) การพูดแสดงความคิด
และมี ต่อตนเองและผู้ อย่าง อย่างเหมาะ เห็นความรู้สึกและความ
ความสุข อื่น เหมาะสมตาม สม ต้องการ
สถานการณ์ ตาม
สถานการณ์
มาตรฐานที่ 4 4.1.1 สนใจมี 1.4.3 จินตนาการและ
ชื่นชมและ 4.1 สนใจมี ความสุขและ ความคิดสร้างสรรค์
แสดงออก ความสุข แสดงออกผ่าน 4. สนใจมี (2)การแสดงความคิด
ทางศิลปะ และแสดงออก งาน ความสุขและ สร้างสรรค์ผ่านสื่อวัสดุ
ดนตรี ผ่าน ศิลปะ แสดงออกผ่าน ต่างๆผ่านภาษาท่าทาง
และการ งานศิลปะ งานศิลปะ การ
เคลื่อนไหว ดนตรี เคลื่อนไหวและศิลปะ
และการ ๑.๒.๔ การแสดงออก
เคลื่อนไหว ทางอารมณ์
(2) การเล่นบทบาทสมมุติ
(๕) การทำงานศิลปะ
1.1.2 การใช้กล้ามเนื้อ
เล็ก
4.1.3 สนใจ (2) การเขียนภาพและ
มีความสุขและ การเล่นกับสี
แสดง 5. สนใจ มี (3) การปั ้ น
ท่าทาง/ ความสุข และ (4) การประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆ
เคลื่อนไหว แสดงท่าทาง ด้วยเศษวัสดุ
ประกอบเพลง เคลื่อนไหว (5) การหยิบจับ การใช้
จังหวะและ ประกอบ กรรไกร การฉีก
ดนตรี เพลง จังหวะ การตัด การปะ และการ
ดนตรี คำสั่ง ร้อยวัสดุ
และคำ 1.1.1 การใช้กล้ามเนื้อ
บรรยายได้ ใหญ่
(1) การเคลื่อนไหวอยู่กับ
ที่
(2) การเคลื่อนไหว
เคลื่อนที่
1.4.1 การใช้ภาษา

มาตรฐานหลักสูตรปฐมวัย จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้


สภาพที่พึง
มาตรฐาน ตัวบ่งชี ้ การเรียนรู้ ประสบการสำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้
ประสงค์
(3) การฟั งเพลง นิทาน
คำคล้องจอง
บทร้อยกรองหรือเรื่องราว
ต่างๆ
1.2.1 สุนทรีภาพ ดนตรี
(1) การฟั งเพลง การร้อง
เพลงและการ
แสดงปฏิกิริยาโต้ตอบ
มาตรฐานที่ 8 8.2 มี 8.2.1 เล่นหรือ 6. เล่นหรือ เสียงดนตรี
อยู่ร่วมกับผู้อ่ น
ื ปฏิสัมพันธ์ที่ ทำงานร่วมมือกับ ทำงาน (3)การเคลื่อนไหวตาม
ได้อย่าง ดี เพื่อนอย่างมีเป้ า ร่วมมือกับ เสียงเพลง/ดนตรี
มีความสุขและ กับผู้อ่ น
ื หมาย เพื่อนอย่างมี
ปฏิบัติ เป้ าหมายได้ 1.2.2 การเล่น
ตนเป็ นสมาชิก (1) การเล่นอิสระ
ที่ดีของ (3) การเล่นตามมุม
สังคมในระบอบ ประสบการณ์/มุม
ประชาธิปไตย เล่นต่าง ๆ
อันมี 8.3.2 ปฏิบัติตน 1.3.5 การเล่นและ
พระมหา 8.3 ปฏิบัติตน เป็ น 7. ปฏิบัติตน ทำงานแบบร่วมมือ
กษัตริย์ทรง เบื้องต้นใน ผู้นำและผู้ตามได้ เป็ นผู้นำ ร่วมใจ
เป็ นประมุข การเป็ น เหมาะสมกับ ผู้ตามได้ (๒) การเล่นและการ
สมาชิกที่ดี สถานการณ์ เหมาะสมกับ ทำงานร่วมกับอื่น
ของสังคม 9.1.1 ฟั งผู้อ่ น
ื พูด สถานการณ์ (3) การทำศิลปะแบบร่วม
จบ มือ
9.1 สนทนา และสนทนา 8. บอกชื่อ 1.3.4 การมีปฏิสัมพันธ์
มาตรฐานที่ 9 โต้ตอบ โต้ตอบอย่างต่อ ลักษณะเด่น มีวินัย มีส่วนร่วมและ
ใช้ภาษาสื่อสาร และเล่าเรื่อง เนื่องเชื่อมโยงกับ ของอาหาร บทบาทสมาชิกของ
ให้ ให้ผู้อ่ น
ื เรื่องที่ฟัง แต่ละภาคได้ สังคม
เหมาะสมกับวัย เข้าใจ (2)การปฏิบัติตนเป็ น
สมาชิกที่ดีของและสังคม
1.4.1 การใช้ภาษา
(4) การพูดแสดงความคิด
ความรู้สึก
และความต้องการ
มาตรฐานหลักสูตรปฐมวัย สาระการเรียนรู้
จุดประสงค์
สภาพที่พึง
มาตรฐาน ตัวบ่งชี ้ การเรียนรู้ ประสบการสำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้
ประสงค์
(๖) การพูดอธิบายเกี่ยว
กับสิ่งของ
เหตุการณ์และความ
สัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ
มาตรฐานที่ 10 10.1 มีความ 10.1.2 จับคู่ 9. จับคูแ
่ ละ
มีความสามารถ สามารถ และ เปรียบเทียบ 1.4.2 การคิดรวบยอด
ในการ ในการคิดรวบ เปรียบเทียบ ความแตกต่าง การคิดเชิง
คิดที่เป็ นพื้น ยอด ความ และความ เหตุผล การตัดสินใจและ
ฐานใน แตกต่างและ เหมือนของสิ่ง แก้ปัญหา
การเรียนรู้ ความ ต่างๆได้ (6) การต่อของชิน
้ เล็กเติม
เหมือนของสิ่ง ในชิน
้ ใหญ่ให้
ต่างๆโดยใช้ สมบูรณ์ และการแยกชิน

ลักษณะที่ ส่วน
สังเกตพบสอง (13) การจับคู่ การเปรียบ
ลักษณะขึน
้ ไป 10. จำแนก เทียบ และ
และจัดกลุ่ม การเรียงลำดับสิง่ ต่างๆ
10.1.3 จำแนก อ้วน – ผอมได้ ตามลักษณะ
และจัดกลุ่มสิง่ 11. จำแนก ความยาว/ความสูง น้ำ
ต่างๆ โดยใช้ และจัดกลุ่ม หนัก ปริมาตร
ตัง้ แต่สอง อาหารได้
ลักษณะขึน
้ ไป 12. จำแนก 1.4.2 การคิดรวบยอด
เป็ นเกณฑ์ และจัดกลุ่ม การคิดเชิง
อาหารที่มี เหตุผล การตัดสินใจและ
ประโยชน์และ แก้ปัญหา
อาหารที่ไม่มี (5) การคัดแยก การจัด
ประโยชน์ได้ กลุ่ม และการ
จำแนกสิ่งต่างๆ ตาม
ลักษณะและรูปร่างรูป
ทรง

มาตรฐานหลักสูตรปฐมวัย สาระการเรียนรู้
จุดประสงค์
สภาพที่พึง
มาตรฐาน ตัวบ่งชี ้ การเรียนรู้ ประสบการสำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้
ประสงค์
10.1.4 เรียง 13. บอกลำดับ 1.4.2 การคิดรวบยอด
ลำดับ ขัน
้ ตอนการ การคิดเชิง
สิ่งของหรือ ประกอบ เหตุผล การตัดสินใจและ
เหตุการณ์ อาหารส้มตำ แก้ปัญหา
อย่างน้อย 5 ไทยได้ (14) การบอกและเรียง
ลำดับ ลำดับ กิจกรรมหรือ
เหตุการณ์ตามช่วงเวลา
1.3.3 การปฏิบัติตาม
วัฒนธรรม
ท้องถิ่นและความเป็ น
ไทย
(3) การประกอบอาหาร
ไทย
การวางแผนกิจกรรมรายหน่วยการจัดประสบการณ์
ชัน
้ อนุบาลปี ที่ ๓ หน่วยอาหารดีมีประโยชน์
กิจกรรม
วัน
เคลื่อนไหวและ เสริม ศิลปะ การเล่นตาม การเล่นกลาง
ที่ เกมการศึกษา
จังหวะ ประสบการณ์ สร้างสรรค์ มุม แจ้ง
1 - เคลื่อนไหวพื้น -นำอาหารของ -ตัด ปะภาพ -เล่นมุมระ เล่นเกมจัดหมวด เกมจับคู่ภาพกับ
ฐาน จริงมาให้เด็กดู อาหารจาก สบการณ์ใน หมู่ จำนวน
- ร้องเพลงและ -สนทนาเกี่ยวกับ แผ่นโฆษณาของ ห้องเรียน มุม ประเภทของ
ทำท่าทาง อาหาร ห้างร้าน ใหม่คือมุม อาหาร
ประกอบเพลง หลัก 5 หมู่ -วาดรูปอิสระ บทบาท
อาหารดี -จำแนกและจัด ด้วยสีเทียน สมมุติร้าน
กลุ่ม ขายผลไม้
อาหารตามหมู่
อาหาร
2 - การเคลื่อนไหว -วิทยากร -ศิลปะแบบร่วม เล่นมุมระสบ เล่นเครื่องเล่น เกมจัดหมวดหมู่
พื้นฐาน บรรยายอาหารที่ มือทำ การณ์ใน สนาม ภาพซ้อนผัก
- การเคลื่อนไหว มีประโยชน์และ หนังสือภาพ ห้องเรียน
ตาม อาหารที่ไม่มี อาหารที่มี
จังหวะเมื่อเคาะ ประโยชน์ ประโยชน์ และ
จังหวะ -อภิปรายเกี่ยว อาหารที่
หยุด ให้เด็กที่ถือ กับลักษณะของ ไม่มีประโยชน์
ภาพ อาหารที่มี
อาหารที่มี ประโยชน์และ
ประโยชน์ อาหารที่
เข้ารวมกลุ่มกัน ไม่มีประโยชน์
และเด็ก -จำแนก และจัด
ที่ถือภาพอาหาร กลุ่ม
ที่ไม่มี ภาพอาหารที่มี
ประโยชน์เข้า ประโยชน์และ
รวมกลุ่มกัน อาหารที่
ไม่มีประโยชน์
3 การเคลื่อนไหว - เล่านิทาน โจ้ -ปั ้ นดินน้ำมัน เล่นมุมระสบ เล่นเกมโยน เกมจับคู่ภาพกับ
พื้นฐาน เอกหน่อย -ประดิษฐ์ส้มจาก การณ์ใน โบว์ลิ่ง เงาคน
- การปฏิบัติตน - นำภาพเด็กที่ ฝา ห้องเรียน อ้วน-ผอม
เป็ นผู้นำ อ้วนมาก ครอบแก้วน้ำ
ผู้ตาม เด็กที่สข
ุ ภาพดี
และเด็กที่

กิจกรรม
วัน
เคลื่อนไหวและ เสริม ศิลปะ การเล่นตาม การเล่นกลาง
ที่ เกมการศึกษา
จังหวะ ประสบการณ์ สร้างสรรค์ มุม แจ้ง
มีรูปร่างผอมมา
ให้เด็กดู
-สนทนาเกี่ยวกับ
ประโยชน์ของ
การรับประทาน
อาหารและ
โทษของการไม่
รับประทาน
อาหาร
-จำแนกและจัด
กลุ่มเด็ก
อ้วน- ผอม
4 - การเคลื่อนไหว -ดูวีดีทัศน์ -วาดภาพอาหาร เล่นมุมระสบ เล่นอุปกรณ์กีฬา เกมภาพตัดต่อ
พื้นฐาน รายการกระจก ที่ชอบ การณ์ใน อาหาร
- การเคลื่อนไหว หกด้าน ตอน -ตัดภาพทำเมนู ห้องเรียน มุม ประจําภาค
อยู่กับที่ อาหารไทย อาหาร ใหม่คือมุม
- การเคลื่อนไหว -นำภาพอาหาร บทบาท
ตาม ประจำ สมมุติห้อง
คำสั่ง ภาคต่างๆ มาให้ ครัวประกอบ
เด็กดู อาหาร
-สนทนาเกี่ยวกับ
อาหาร
ประจำภาค
-แสดงบทบาท
สมมุติเป็ นคน
ภาคต่างๆ
แนะนำอาหาร
ประจำภาค
5 -เคลื่อนไหวพื้น -แนะนำวัสดุ -วาดภาพการทำ เล่นมุมระสบ -เล่นเกมตะล็อก เกมจัดหมวดหมู่
ฐาน อุปกรณ์ ส้มตำ การณ์ใน ต๊อก ภาพกับ
- ทำท่าทางตาม -สนทนาเกี่ยวกับ -พิมพ์ภาพจาก ห้องเรียน แต๊ก สัญลักษณ์
จินตนาการ การทำ ผัก ผลไม้
ประกอบ ส้มตำ
เพลงส้มตำ -ลงมือทำส้มตำ

๓. กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
ผังความคิดแผนการจัดประสบการณ์หน่วยอาหารดีมีประโยชน์ ชัน
้ อนุบาลปี ที่ ๓
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ๒ . กิ จ กรรมเสริ มประสบการณ์
1. ตัด ปะภาพอาหารจากแผ่น
1. ร้องเพลงและทำท่าทางประกอบ 1. อาหารหลัก 5 หมู่ โฆษณาของห้าง
เพลงอาหารดี 2. อาหารที่มีประโยชน์และอาหาร ร้านวาดรูปอิสระด้วยสีเทียน
2. การเคลื่อนไหวตามข้อตกลง ที่ไม่มีประโยชน์ 2. ศิลปะแบบร่วมมือทำหนังสือ
4. การเคลื่อนไหวตามคำสั่ง 4. อาหารไทย 4 ภาค ประโยชน์และอาหารที่ไม่มี
5. การทำท่าทางตามจินตนาการ 5. การประกอบอาหารส้มตำไทย ประโยชน์
ประกอบเพลงส้มตำ 3. ปั ้ นดินน้ำมัน ประดิษฐ์ส้มจาก
ฝาครอบแก้วน้ำ
4. วาดภาพอาหารที่ชอบ ตัด
ภาพทำเมนูอาหาร
5. วาดภาพการทำส้มตำ พิมพ์
ภาพจากผัก ผลไม้

หน่วย
๔. กิจกรรมเล่นตามมุม ๖. กิจกรรมเกมการศึกษา
อาหารดีมี
ประโยชน์
1. เกมจับคู่ภาพกับจำนวน
เล่นตามมุมประสบการณ์
2. เกมจัดหมวดหมู่ภาพซ้อน
ผัก
๕. กิจกรรมการเล่นกลางแจ้ง
3. เกมจับคู่ภาพกับเงาคน
อ้วนผอม
1. การเล่นเกมจัดหมวดหมู่
4. เกมภาพตัดต่ออาหาร
ประเภทของอาหาร
ประจำภาค
2. การเล่นเครื่องเล่นสนาม
3. การเล่นเกมโยนโบว์ลิ่ง
สัญลักษณ์
4. การเล่นอุปกรณ์กีฬา
5. การเล่นเกมตะล็อกต๊อกแต๊ก

แผนการจัดประสบการณ์รายวัน วันที่ 1 หน่วย อาหารดีมีประโยชน์ ชัน


้ อนุบาลปี ที่ 3

สาระการเรียนรู้
จุดประสงค์ การประเมิน
ประสบการณ์ สาระที่ควร กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรียนรู้ พัฒนาการ
สำคัญ เรียนรู้
กิจกรรม (1) การฟั งเพลง 1. กิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐาน ให้ 1. เครื่องเคาะ สังเกต
เคลื่อนไหว การร้องเพลง เด็กเคลื่อนไหว จังหวะ การแสดง
และจังหวะ และการ ร่างกายไปทั่วบริเวณอย่างอิสระ 2. เพลง พฤติกรรม
สนใจ มีความ แสดงปฏิกิริยา ตามจังหวะเมื่อได้ยินสัญญาณหยุด อาหารดี ความสนใจ มี
สุข และ โต้ตอบเสียง ให้หยุดเคลื่อนไหวในท่านัน
้ ทันที ความสุข
แสดงท่าทาง ดนตรี 2. ให้เด็กเคลื่อนไหวโดยทำท่าทาง และแสดง
เคลื่อนไหว (3) การ ประกอบเพลง ท่าทาง
ประกอบเพลง เคลื่อนไหว อาหารดี โดยให้แต่ละคนคิด เคลื่อนไหว
จังหวะดนตรี ตามเสียง ท่าทางอย่างอิสระ ประกอบเพลง
คำสัง่ และคำ เพลง/ดนตรี จังหวะและ
บรรยายได้ ดนตรี
กิจกรรมเสริม (5) การคัดแยก 1. อาหาร 1. ครูนำอาหารของจริง จำนวน 1. อาหารของ สังเกต
ประสบการณ์ การจัดกลุ่ม หลัก 5 หมู่ 20 เช่น นม ถั่ว จริง -การจำแนกและ
-จำแนกและจัด และการจำแนก หมู่ 1 เนื้อ ไข่ ผัก ผลไม้ ข้าว ฯลฯ ไปวางไว้ หมู่ที่ 1 ได้แก่ จัด
กลุ่ม สิ่งต่างๆตาม สัตว์ ไข่ ตามจุดต่าง ๆ นม กลุ่มอาหาร
อาหารได้ ลักษณะและ ถั่ว นม ภายในห้องเรียน เนื้อหมู ถั่ว
รูปร่าง รูปทรง หมู่ 2 ข้าว 2. ให้อาสาสมัครออกไปหยิบ ลิสง ไข่
แป้ ง อาหารมาให้ครูคน หมู่ที่ 2 ข้าว
น้ำตาล เผือก ละ 1 ประเภท จนครบทุกประเภท แป้ ง
มัน แล้วช่วยกัน ขนมปั ง เผือก
หมู่3 ผักต่างๆ นับว่ามีจำนวนเท่าไร และชื่อ หมู่ที่ 3
หมู่ 4 ผลไม้ อาหารอะไร กะหล่ำปลี
ต่างๆ 3. ครูให้เด็กดูภาพอาหารหมู่ที่ ผักบุง้ คะน้า
หมู่ 5 ไขมัน 1,2,3,4 และ 5 แครอท
จาก แล้วสนทนาโดยใช้คำถามดังนี ้ หมู่ที่ 4 ส้ม
สัตว์และพืช - สิ่งที่เด็กเห็นในภาพมีอะไรบ้าง กล้วย
2. นับปาก 4. อภิปรายเพิ่มเติมเกี่ยวกับ แอปเปิ ้ ล เงาะ
เปล่า อาหารแต่ละหมู่ว่ามี หมู่ที่ 5 น้ำมัน
1- 20 ประโยชน์อย่างไรโดยใช้คำถาม พืช
3. การรวม ดังนี ้ น้ำมันหมู เนย
และ - สิ่งที่เราเห็นในภาพใช้ทำอะไร ชีส
การแยก - เราต้องการอาหารหรือไม่ 2. ภาพ
- ทำไมเราจึงต้องการอาหาร อาหารหลัก
5. ครูและเด็กร่วมกันสรุปเรื่อง ทัง้ 5 หมู่
อาหารหลัก

สาระการเรียนรู้
จุดประสงค์ การประเมิน
ประสบการณ์ สาระที่ควร กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรียนรู้ พัฒนาการ
สำคัญ เรียนรู้
5 หมู่อีกครัง้ และให้เด็ก ๆ ช่วย
กันจัดอาหารชนิดต่างๆ จำนวน
20 ชนิด เข้าหมวดหมู่ให้ถูกต้อง
กิจกรรมศิลปะ (2) การเขียน 1. ครูเตรียมอุปกรณ์กิจกรรม 2 1. กระดาษ สังเกต
สร้างสรรค์ ภาพและการ กิจกรรม ได้แก่ A4 1. ใช้กรรไกรตัด
1. ใช้กรรไกร เล่นกับสี ตัด ปะภาพอาหารจากแผ่น 2. แผ่น กระดาษตาม
ตัด (5) การหยิบจับ โฆษณาของห้างร้าน วาดรูปอิสระ โฆษณาของ แนวเส้น
กระดาษตาม การใช้กรรไกร ด้วยสีเทียน ห้างร้าน โค้ง
แนวเส้น การฉีก การตัด 2. ครูแนะนำกิจกรรมใหม่ “ตัด 3. กรรไกร 2. สังเกต
โค้งได้ การปะและการ ปะภาพอาหารจาก 4. กาว พฤติกรรมการก
2.กล้าพูดกล้า ร้อย แผ่นโฆษณาของห้างร้าน” โดย 5. สีเทียน ล้าแสดงออกใน
แสดงออกอย่าง วัสดุ การตัดภาพตาม การเล่าเรื่องเพื่อ
เหมาะสมตาม (๕) การทำงาน รูปร่างอาหาร แล้วนำมาแปะใน นำเสนอผลงาน
สถานการณ์ ศิลปะ กระดาษ พร้อม
(๔) การพูด คัดลอกชื่ออาหาร
แสดง 3. ให้เด็กเลือกทำกิจกรรม
ความคิดเห็น สร้างสรรค์ 1-2 กิจกรรมตามความ
ความรู้สึกและ สนใจ
ความต้องการ 4. เด็กร่วมกันเก็บอุปกรณ์และส่ง
ผลงานพร้อม
เล่าผลงาน
กิจกรรมเล่น (1) การเล่น 1. เด็กเลือกกิจกรรมเสรีตามมุม - มุม สังเกต
ตามมุม อิสระ ประสบการณ์ตาม ประสบการณ์ การเล่นร่วมมือ
เล่นหรือทำงาน (๒) การเล่น ความสนใจ เช่น ใน กับเพื่อน
ร่วมมือ และการ - มุมธรรมชาติศึกษา - มุมหนังสือ ห้องเรียน อย่างมีเป้ าหมาย
กับเพื่อนอย่าง ทำงานร่วมกับผู้ - มุมบล็อก - มุมเกมการ
มี อื่น ศึกษา
เป้ าหมายได้ (3) การเล่น - บทบาทสมมติ - มุมเครื่อง
ตามมุม เล่นสัมผัส
ประสบการณ์/ 2. เมื่อหมดเวลาเด็กเก็บของเข้าที่
มุม ให้เรียบร้อย
เล่นต่าง ๆ

สาระการเรียนรู้
จุดประสงค์ การประเมิน
ประสบการณ์ สาระที่ควร กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรียนรู้ พัฒนาการ
สำคัญ เรียนรู้
กิจกรรมกลาง (2) การเล่น 1. ครูแนะนำข้อตกลงในการเล่น 1. ที่สวม สังเกต
แจ้ง และ เกมจัดหมวดหมู่ ศีรษะภาพ -การเล่นร่วมกับ
-เล่นและ ทำงานร่วมกับผู้ ประเภทอาหาร พร้อมทัง้ แนะนำ อาหาร เพื่อน
ทำงานร่วมกับ อื่น วิธีการเล่นอย่าง 2. เครื่องเล่น อย่างมีเป้ าหมาย
เพื่อนอย่างมี ปลอดภัย เพลง
เป้ าหมาย 2. ครูแจกที่สวมศีรษะภาพอาหาร 3. เพลง
หมู่ที่ 1 ,2 ,3 อาหารดี
4,5 หมูล
่ ะ 6 ชนิด แก่เด็กทุกคน
คนละ 1 ใบ
3. ให้เด็ก ๆ เคลื่อนไหวอย่างอิสระ
ตามเพลงเมื่อเพลงหยุดให้จับกลุ่ม
อาหารที่อยู่ในหมู่เดียวกัน
รวมกัน
4. ให้เด็กๆช่วยกันนับสมาชิก
ภายในกลุ่มว่ามีกี่คน
5. ให้เด็ก ๆ เปลี่ยนที่สวมศีรษะ
กันเองแล้วปฏิบัติซ้ำ ข้อ 3
5. เมื่อครูให้สัญญาณหมดเวลาเด็ก
เข้าแถวและ
ทำความสะอาดร่างกาย
กิจกรรมเกม (13) การจับคู่ การจับคู่ 1. ครูแนะนำเกมจับคู่ภาพกับ 1. เกมจับคู่ สังเกต
การศึกษา เปรียบเทียบ จำนวนที่ จำนวน ภาพกับ -การจับคู่ภาพ
จับคู่และ และ เท่ากัน 2. แบ่งเด็กเป็ น 5 กลุ่ม ให้เด็ก 1 จำนวน กับจำนวน
เปรียบเทียบ การเรียงลำดับ กลุ่มรับเกมที่ 2. เกมการ ที่เท่ากัน
ความแตกต่าง สิ่งต่างๆตาม แนะนำไปเล่น กลุ่มอื่นๆ เล่นเกม ศึกษาชุด
และ ลักษณะความ การศึกษาชุดเดิม เดิม
ความเหมือน ยาว/ความสูง 3. เด็กเล่นเกมโดยหมุนเวียนสลับ
ของสิง่ น้ำหนัก เปลี่ยนกันในแต่ละกลุ่มโดยทุก
ต่างๆได้ ปริมาตร กลุ่มได้เล่นเกมจับคู่ภาพกับจำนวน
3. ครูให้สัญญาณหมดเวลา เด็ก
เก็บเกมการศึกษา

แผนการจัดประสบการณ์รายวัน วันที่ 2 หน่วย อาหารดีมีประโยชน์ ชัน


้ อนุบาลปี ที่ 3

จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ การประเมิน


ประสบการณ์ สาระที่ควร
การเรียนรู้ พัฒนาการ
สำคัญ เรียนรู้
กิจกรรม (2) การ 1. กิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐาน ให้ 1. เครื่องเคาะ สังเกต
เคลื่อนไหว เคลื่อนไหว เด็กเคลื่อนไหว จังหวะ -การจำแนกและ
และจังหวะ เคลื่อนที่ ร่างกายไปทั่วบริเวณอย่างอิสระ 2. บัตรภาพ จัดกลุ่มอาหารที่
จำแนกและจัด (5) การคัดแยก ตามจังหวะเมื่อได้ยินสัญญาณหยุด อาหารที่ มีประโยชน์และ
กลุ่ม การจัดกลุ่ม ให้หยุดเคลื่อนไหวในท่านัน
้ ทันที มีประโยชน์ อาหารที่ไม่มี
อาหารที่มี และการจำแนก 2. ครูแจกภาพอาหารให้เด็ก ให้ 3. บัตรภาพ ประโยชน์
ประโยชน์ สิ่งต่างๆตาม เด็กเคลื่อนไหวตามจังหวะ เมื่อ อาหารที่
และอาหารที่ ลักษณะและ เคาะจังหวะหยุดให้เด็กจับกลุ่มกัน ไม่มีประโยชน์
ไม่มี รูปร่าง รูปทรง รวมกันตามเกณฑ์ คือกลุ่มอาหาร
ประโยชน์ได้ ที่มีประโยชน์ และกลุ่มอาหารที่
ไม่มีประโยชน์
3. ให้เด็กเปลี่ยนภาพกัน แล้ว
ปฏิบัติซ้ำตามข้อ 2
ใหม่
กิจกรรมเสริม (5) จำแนกและ อาหารที่มี 1. ครูเล่านิทานเรื่องเกี่ยวกับโทษ 1. นิทานเรื่อง สังเกต
ประสบการณ์ จัดกลุ่มอาหาร ประโยชน์คือ ของลูกอม และ เกี่ยว กับโทษ -การจำแนกและ
จำแนกและจัด ที่มีประโยชน์ อาหาร ให้เด็กแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ ของลูกอม จัดกลุ่มอาหารที่
กลุ่ม และอาหารที่ ที่รับประทาน เนื้อหาในนิทาน 2. วิทยากร มีประโยชน์และ
อาหารที่มี ไม่มี แล้ว 2. ครูและเด็กตัง้ ข้อตกลงเกี่ยวกับ เจ้าหน้าที่ อาหารที่ไม่มี
ประโยชน์ ประโยชน์ ทำให้ร่างกาย การปฏิบัติตนในขณะที่วิทยากรให้ สาธารณสุข ประโยชน์
และอาหารที่ (3) การฟั งเพลง แข็งแรง ความรู้ 3. อาหารที่มี
ไม่มี นิทาน คำ เจริญเติบโต 3. ครูแนะนำวิทยากรให้ความรู้ ประโยชน์
ประโยชน์ได้ คล้องจอง อาหารที่ไม่มี เรื่องประโยชน์และโทษของอาหาร เช่น นม
บทร้อยกรอง ประโยชน์คือ 4. วิทยากรนำอาหารที่มีประโยชน์ ข้าว ผัก ผลไม้
หรือ อาหารที่รับ และอาหารที่ ฯลฯ
เรื่องราวต่างๆ ประทานแล้ว ไม่มีประโยชน์มาวางบนโต๊ะ แล้ว 4. อาหารที่
อาจทำให้เกิด สนทนาและซักถามเด็ก ดังนี ้ ไม่มี
โทษหรือไม่ให้ - อาหารชนิดใดที่มีประโยชน์และ ประโยชน์
สารอาหาร อาหารชนิดใดที่ไม่มีประโยชน์ เช่น ลูกอม
ต่อร่างกาย - อาหารที่ไม่มีประโยชน์ก่อให้เกิด ของหมักดอง
โทษอย่างไร ขนม
กรุบกรอบ
กาแฟฯลฯ
สาระการเรียนรู้
จุดประสงค์ การประเมิน
ประสบการณ์ สาระที่ควร กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรียนรู้ พัฒนาการ
สำคัญ เรียนรู้
- ทำไมเด็กๆจึงไม่ควรดื่มน้ำอัดลมและ 5. เพลง ดื่ม
รับประทานลูกอม นม
- การดื่มนมหรือการรับประทาน
อาหารที่มีประโยชน์ให้ผลต่อร่างกาย
ของเราอย่างไรบ้าง
-เด็กรู้จักอาหารอะไรบ้างที่มีประโยชน์
และอาหารอะไรบ้างที่ไม่มีประโยชน์
5. ให้อาสาสมัครออกมาจัดกลุ่ม
อาหารที่มีประโยชน์และอาหารที่ไม่มี
ประโยชน์
6. ให้เด็กร้องเพลงและทำท่าทาง
ประกอบเพลง“ดื่มนม”
กิจกรรม (3) การทำ 1. ครูบอกข้อตกลงในการทำศิลปะ 1. สมุดวาด สังเกต
ศิลปะ ศิลปะ แบบร่วมมือโดยมีเป้ าหมายเพื่อทำ เขียนเล่ม -พฤติกรรม
สร้างสรรค์ แบบร่วมมือ หนังสือภาพอาหารที่มีประโยชน์ ใหญ่ การ
ทำงาน (4) การ จำนวน 6 ชนิด และอาหารที่ไม่มี 2. แผ่น ทำงานร่วมกับ
ร่วมกับเพื่อน ประดิษฐ์สิ่ง ประโยชน์ จำนวน 6 ชนิด พร้อมทัง้ โฆษณาของ เพื่อน
อย่างมี ต่าง ๆด้วยเศษ เขียนชื่ออาหารไว้ให้ภาพ โดยการ ห้างร้าน อย่างมีเป้ า
เป้ าหมายได้ วัสดุ เขียนตามตัวอย่างที่ครูเขียนให้ 3. กาว หมาย
2. แบ่งเด็กเป็ น 2 กลุ่ม ให้กลุ่มหนึ่งทำ 4. สีดินสอ
หนังสือภาพอาหารที่มีประโยชน์และ 5. กรรไกร
อีกกลุ่มหนึง่ ทำหนังสือภาพอาหารที่
ไม่มีประโยชน์ เมื่อหมดเวลาครูให้
สัญญาณ เด็กช่วยกันเก็บของ
3. ให้เด็กนำผลงานออกมานำเสนอที
ละกลุ่ม
ให้เพื่อนถามคำถามหรือแสดงความคิด
เห็น
สาระการเรียนรู้
จุดประสงค์ การประเมิน
ประสบการณ์ สาระที่ควร กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรียนรู้ พัฒนาการ
สำคัญ เรียนรู้
กิจกรรมเล่น (1) การเล่น 1. เด็กเลือกกิจกรรมเสรีตามมุม - มุม สังเกต
ตามมุม อิสระ ประสบการณ์ตามความสนใจ เช่น ประสบการณ์ การเล่นกับ
เล่นกับเพื่อน (3) การเล่น - มุมธรรมชาติศึกษา - มุมหนังสือ ใน เพื่อน
อย่างมี ตามมุม - มุมบล็อก - มุมเกมการ ห้องเรียน อย่างมีเป้ า
เป้ าหมายได้ ประสบการณ์/ ศึกษา หมาย
มุมเล่นต่าง ๆ - บทบาทสมมติ - มุมเครื่อง
(๒) การเล่น เล่นสัมผัส
และการ 2. เมื่อหมดเวลาเด็กเก็บของเข้าที่ให้
ทำงานร่วมกับผู้ เรียบร้อย
อื่น
กิจกรรมกลาง (1) การปฏิบัติ 1. ครูแนะนำข้อตกลงในการเล่น เครื่องเล่น สังเกต
แจ้ง ตนให้ เครื่องเล่นสนามแต่ละชนิดพร้อมทัง้ สนาม พฤติกรรมการ
เล่น ทำ ปลอดภัยใน แนะนำวิธีการเล่นอย่างปลอดภัย เล่น
กิจกรรมและ กิจวัตร 2. เด็กเล่นเครื่องเล่นสนามโดยมีครู และปฏิบัติต่อ
ปฏิบัติต่อผู้อ่ น
ื ประจำวัน ดูแลอย่างใกล้ชิด ผู้อ่ น

อย่าง (3) การเล่น 3. เมื่อครูให้สัญญาณหมดเวลาให้เด็ก อย่างปลอดภัย
ปลอดภัยได้ เครื่องเล่นอย่าง เข้าแถวและทำความสะอาดร่างกาย
ปลอดภัย
กิจกรรมเกม (13) การจับคู่ การเปรียบ 1. ครูแนะนำเกมจัดหมวดหมู่ภาพ 1. เกมจัด สังเกต
การศึกษา การ เทียบ ซ้อนผัก หมวดหมู่ การจับคู่และ
จับคู่และ เปรียบเทียบ ภาพที่ซ้อน 2. แบ่งเด็กเป็ น 5 กลุ่ม ให้เด็ก 1 กลุ่ม ภาพซ้อนผัก เปรียบเทียบ
เปรียบเทียบ และการเรียง กัน รับเกมที่แนะนำไปเล่น กลุ่มอื่นๆ เล่น 2. เกมการ ความ
ความแตกต่าง ลำดับสิ่งต่างๆ เกมการศึกษาชุดเดิม ศึกษาชุด แตกต่างและ
และความ ตาม 3. ให้เด็กเก็บเกมการศึกษา เดิม ความ
เหมือนของสิง่ ลักษณะ ความ เหมือนของสิง่
ต่างๆได้ ยาว/ ต่างๆ
ความสูง น้ำ
หนัก
ปริมาตร
แผนการจัดประสบการณ์รายวัน วันที่ 3 หน่วย อาหารดีมีประโยชน์ ชัน
้ อนุบาลปี ที่ 3

สาระการเรียนรู้
จุดประสงค์ การประเมิน
ประสบการณ์ สาระที่ควร กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรียนรู้ พัฒนาการ
สำคัญ เรียนรู้
กิจกรรม (1) การ 1. กิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐาน ให้ เครื่องเคาะ สังเกต
เคลื่อนไหว เคลื่อนไหวอยู่ เด็กเคลื่อนไหว จังหวะ การปฏิบัติตน
และจังหวะ กับที่ ร่างกายไปทั่วบริเวณอย่างอิสระ เป็ นผู้นำ
-ปฏิบัติตนเป็ น (2) การ ตามจังหวะเมื่อได้ยินสัญญาณหยุด ผู้ตาม
ผู้นำผู้ เคลื่อนไหว ให้หยุดเคลื่อนไหวในท่านัน
้ ทันที
ตามได้เหมาะ เคลื่อนที่ 2. ให้เด็กจับมือเป็ นวงกลมผลัดกัน
สมกับ (2) การปฏิบัติ ไปยืนอยู่ตรง
สถานการณ์ ตนเป็ นสมาชิก กลางวงทีละคน ให้คนที่อยู่ตรง
ที่ดีของและ กลางวงทำท่าทาง
สังคม อย่างอิสระแล้วคนที่อยู่รอบวงต้อง
ทำท่าคนที่อยู่ใน
วง เมื่อได้ยินสัญญาณ “หยุด” ให้
หยุดทันทีแล้วเปลี่ยนให้คนถัดไป
เข้ามาอยู่กลางวงแทนและทำท่า
อิสระเช่นเดิมแต่ห้ามซ้ำกับท่าที่
เพื่อนทำมาแล้ว
3. เด็กปฏิบัติตามข้อ 2 จนครบทุก
คน
กิจกรรมเสริม (3) การฟั งเพลง 1. อาหารมี 1. ครูนำภาพเด็ก 3 คน คนที่ 1 มี 1. ภาพเด็กที่ สังเกต
ประสบการณ์ นิทาน คำ ประโยชน์ต่อ รูปร่างอ้วนมาก คนที่ 2 มีรูปร่าง อ้วน การจำแนกและ
จำแนกและจัด คล้องจอง ร่างกายคือ สมส่วนร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง มากเด็กที่ จัด
กลุ่มอ้วน– บทร้อยกรอง รับประทาน และคนที่ 3 รูปร่างผอมแห้งและ สุขภาพดี กลุ่มอ้วน – ผอม
ผอมได้ หรือ แล้วทำ ป่ วยไม่สบาย มาให้เด็กดู และเด็กที่มี
เรื่องราวต่างๆ ให้ร่างกาย 2. ครูและเด็กร่วมสนทนาเกี่ยวกับ รูปร่าง
(5) การคัดแยก เจริญเติบโต เนื้อหาในนิทาน ผอม
การจัดกลุ่ม แข็งแรง แต่ ดังนี ้ 2. บทร้อย
และการจำแนก ถ้าไม่รับ - ใครมีรูปร่างอ้วนมาก เพราะอะไร กรอง
สิ่งต่างๆตาม ประทาน - ใครมีรูปร่างผอมและป่ วยบ่อย “อาหารดีมี
ลักษณะและ อาหารก็จะ เพราะอะไร ประโยชน์”
รูปร่าง รูปทรง ทำให้ 3. ภาพเด็ก
ร่างกาย ขาด
อาหาร
สาระการเรียนรู้
จุดประสงค์ การประเมิน
ประสบการณ์ สาระที่ควร กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรียนรู้ พัฒนาการ
สำคัญ เรียนรู้
ไม่แข็งแรง - ใครที่ได้รับคำชมว่ามีสุขภาพ
ขาดสาร สมบูรณ์แข็งแรง
อาหาร เพราะอะไร
2. การรวม - เด็กอยากมีสุขภาพเหมือนใคร
และการ เพราะอะไร
แยก - เด็กควรปฏิบัติตนอย่างไรในการ
เลือกรับประทานอาหาร
3. ให้อาสาสมัครออกมา 20 คน
แจกภาพเด็กอ้วน ผอม คนละ 1
ใบ
4. ให้อาสาสมัครทัง้ 20 คนจับ
กลุ่มแยกประเภท
ว่ากลุ่มไหนภาพเด็กอ้วนกลุ่มไหน
ภาพเด็กผอม
5. ให้สมาชิกในกลุ่มทัง้ สอง
อภิปรายถึงสาเหตุของภาพเด็ก
อ้วนและผอม
6. เด็กและครูร่วมกันสรุปโทษของ
การรับประทานอาหารที่ไม่เพียง
พอหรือรับประทานอาหารไม่ครบ
5 หมู่โดยให้ดูภาพเด็กที่เป็ นโรค
ขาดอาหาร
7. ครูให้เด็กท่องบทร้อยกรอง
“อาหารดีมี
ประโยชน์”
กิจกรรมศิลปะ (3) การปั ้ น 1. ครูเตรียมอุปกรณ์กิจกรรม 2 1. ดินน้ำมัน สังเกต
สร้างสรรค์ (4) การ กิจกรรม ได้แก่ 2. ฝาครอบ 1. พฤติกรรม
1. สนใจมีความ ประดิษฐ์สิ่ง ปั ้ นดินน้ำมัน ประดิษฐ์ส้มจากฝา แก้วน้ำ ความสนใจมี
สุขและ ต่าง ๆด้วยเศษ ครอบแก้วน้ำ 2 ชิน
้ /คน ความสุขและ
แสดงออกผ่าน วัสดุ 2. ครูแนะนำกิจกรรมใหม่ 3. เทปใส แสดงออกผ่าน
งานศิลปะ (๔) การพูด “ประดิษฐ์ส้มจากฝา 4. กระดาษสี งานศิลปะ
2. กล้าพูด กล้า แสดง ครอบแก้วน้ำ” 5. กาว 2. สังเกต
แสดงออกอย่าง ความคิดเห็น 3. ให้เด็กเลือกทำกิจกรรม พฤติกรรม
เหมาะสมตาม ความรู้สึกและ สร้างสรรค์ 1-2 กิจกรรมตามความ การกล้า
สถานการณ์ ความต้องการ สนใจ แสดงออก

สาระการเรียนรู้
จุดประสงค์ การประเมิน
ประสบการณ์ สาระที่ควร กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรียนรู้ พัฒนาการ
สำคัญ เรียนรู้
4. เด็กร่วมกันเก็บอุปกรณ์และส่ง ในการเล่าเรื่อง
ผลงานพร้อมเล่าผลงาน เพื่อ
นำเสนอผลงาน
กิจกรรมเล่น (1) การเล่น 1. เด็กเลือกกิจกรรมเสรีตามมุม - มุม สังเกต
ตามมุม อิสระ ประสบการณ์ตามความสนใจ เช่น ประสบการณ์ การเล่นกับเพื่อน
เล่นร่วมกับ (3) การเล่น - มุมธรรมชาติศึกษา - มุม ใน อย่างมีเป้ าหมาย
เพื่อนอย่าง ตามมุม หนังสือ ห้องเรียน
มีเป้ าหมายได้ ประสบการณ์/ - มุมบล็อก - มุมเกม
มุมเล่นต่าง ๆ การศึกษา
(๒) การเล่น - บทบาทสมมติ - มุมเครื่อง
และการ เล่นสัมผัส
ทำงานร่วมกับผู้ 2. เมื่อหมดเวลาเด็กเก็บของเข้าที่
อื่น ให้เรียบร้อย
กิจกรรมกลาง (2) การเล่น 1. ให้เด็กเคลื่อนไหวร่างกายด้วย 1. ลูกบอล สังเกต
แจ้ง และ การสะบัดมือ เท้า หมุนไหล่ ยืน 2. ขวดน้ำ 20 การเล่นร่วมกับ
-เล่นร่วมกับ ทำงานร่วมกับผู้ ปลายเท้า กระโดด เพื่ออบอุ่น ขวด เพื่อน
เพื่อนอย่าง อื่น ร่างกาย อย่างมีเป้ าหมาย
มีเป้ าหมายได้ 2. แบ่งเด็กออกเป็ นกลุ่ม กลุ่มละ
3-5 คน
3. ให้เด็กกลิง้ บอลเพื่อให้โดนขวด
น้ำ ถ้าขวดน้ำ
ล้ม 1 ขวด จะได้ 1 คะแนน กลิง้
บอลจนครบทุกคน ทีมใดได้
คะแนนมากที่สุดจะเป็ นผู้ชนะ
กิจกรรมเกม (5) การคัดแยก การจำแนก 1. ครูแนะนำเกมจับคู่ภาพกับเงา 1. เกมเกม สังเกต
การศึกษา การจัดกลุ่ม จับคู่ คนอ้วน ผอม จำแนก การจำแนกและ
จำแนกและจัด และการจำแนก อ้วน ผอม 2. แบ่งเด็กเป็ น 5 กลุ่ม ให้เด็ก 1 ภาพในการ จัดกลุ่มอ้วน –
กลุ่ม สิ่งต่างๆตาม กลุ่มรับเกมที่ ประกอบ ผอม
อ้วน – ผอมได้ ลักษณะและ แนะนำไปเล่น กลุ่มอื่นๆ เล่นเกม อาหาร
รูปร่าง รูปทรง การศึกษาชุดเดิม 2. เกมการ
3. ให้เด็กเก็บเกมการศึกษา ศึกษาชุด
เดิม

แผนการจัดประสบการณ์รายวัน วันที่ 4 หน่วย อาหารดีมีประโยชน์ ชัน


้ อนุบาลปี ที่ 3

สาระการเรียนรู้
จุดประสงค์ การประเมิน
ประสบการณ์ สาระที่ควร กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรียนรู้ พัฒนาการ
สำคัญ เรียนรู้
กิจกรรม (1) การ 1. กิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐาน ให้ เครื่องเคาะ สังเกต
เคลื่อนไหว เคลื่อนไหว เด็กเคลื่อนไหว จังหวะ การแสดง
และจังหวะ อยู่กับที่ ร่างกายไปทั่วบริเวณอย่างอิสระ พฤติกรรม
สนใจ มีความ (2) การ ตามจังหวะเมื่อได้ยินสัญญาณหยุด ความสนใจ มี
สุข และ เคลื่อนไหว ให้หยุดเคลื่อนไหวในท่านัน
้ ทันที ความสุข
แสดงท่าทาง เคลื่อนที่ 2. ให้เด็กเคลื่อนไหวร่างกายโดย และแสดง
เคลื่อนไหว อิสระเมื่อได้ยิน ท่าทาง
ประกอบ สัญญาณ หยุด ให้เด็กปฏิบัติตาม เคลื่อนไหว
เพลง จังหวะ คำสั่ง เช่น กระโดดไปข้างหน้า 3 ประกอบคำสั่ง
ดนตรี คำสั่ง ครัง้ กระโดดไปข้างหลังกระโดดขา
และคำบรรยาย เดียว กระโดดสองขา เป็ นต้น
ได้ 3. ครูและเด็กร่วมกันปฏิบัติตาม
ข้อ 2 ซ้ำ 2-3 รอบ โดยเปลี่ยนคำ
สั่ง เช่น รับประทานอาหารดื่มนม
เป็ นต้น
กิจกรรมเสริม (2) การเล่น อาหารไทย 4 1. ให้เด็กดูคลิปวีดีโอรายการ 1. คลิปวีดีโอ สังเกต
ประสบการณ์ บทบาท ภาค กระจกหกด้านตอนอาหารไทย รายการ การบอกชื่อ
-บอกชื่อและ สมมุติ อาหารภาค 2. ครูสนทนาซักถามเด็กเกี่ยวกับ กระจกหกด้าน และ
ลักษณะ (4) การพูด กลาง คลิปวีดีโอที่ดู เช่น ตอนอาหารไทย ลักษณะเด่น
เด่นของอาหาร แสดง เป็ น อาหาร - อาหารไทยมีกี่ภาค 2.ภาพอาหาร ของ
แต่ละ ความคิด ความ ที่มีความ - ให้เด็กๆลองบอกชื่ออาหารของ ภาคเหนือ อาหารแต่ละ
ภาคได้ รู้สึกและความ หลากหลาย แต่ละภาค 3. ภาพอาหาร ภาค
ต้องการ ทางด้าน - อาหารแต่ละภาคมีลักษณะเป็ น ภาคกลาง
(๖) การพูด รสชาติและมี อย่างไร 4.ภาพอาหาร
อธิบาย การใช้กะทิ 3. ให้เด็กเล่นบทบาทสมมติว่าเป็ น ภาคอีสาน
เกี่ยวกับสิ่งของ และเครื่อง คนประจำภาค 5. ภาพอาหาร
เหตุการณ์และ แกงมาก ต่างๆทัง้ 4 ภาคมาพูดนำเสนอ ภาคใต้
ความสัมพันธ์ อาหารภาค อาหารประจำภาค
ของ เหนือ เป็ น ของตน
สิ่งต่างๆ อาหารที่มี 4. สรุปลักษณะเด่นของอาหาร
รสชาติ แต่ละภาค
แบบกลางๆ
มีรส
สาระการเรียนรู้
จุดประสงค์ การประเมิน
ประสบการณ์ สาระที่ควร กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรียนรู้ พัฒนาการ
สำคัญ เรียนรู้
เค็มนำเล็ก 5. เด็กท่องคำคล้องจอง ข้าวคลุก 6. คำ
น้อย กะปิ คล้องจอง
อาหารภาคใต้ ข้าว
มี คลุกกะปิ
รสชาติจัด ไม่
ว่าจะ
เป็ น เผ็ดจัด
เค็มจัด
เปรีย
้ วจัด
นิยมใช้
เครื่องเทศ
มาก
อาหารอีสาน
มี
รสชาติเด่น
คือ รส
เค็มจาก
น้ำปลาร้า
รสเผ็ดจาก
พริกสด
และแห้ง
กิจกรรมศิลปะ (2) การเขียน 1. ครูแนะนำกิจกรรมสร้างสรรค์ 1. กระดาษ สังเกต
สร้างสรรค์ ภาพ ประกอบด้วย A4 1. พฤติกรรม
1. สนใจมีความ และการเล่นกับ วาดภาพอาหารที่ชอบ การวาด 2. สีเทียน ความ
สุขและ สี ภาพอิสระด้วยสี 3. สีไม้ สนใจมีความสุข
แสดงออกผ่าน (2) การแสดง เทียน 4. ดินสอ และ
งาน ความคิด 2. ให้เด็กเลือกทำกิจกรรม แสดงออกผ่าน
ศิลปะ สร้างสรรค์ผ่าน สร้างสรรค์ 1-2 กิจกรรมตามความ งานศิลปะ
2. กล้าพูด กล้า สื่อวัสดุต่างๆ สนใจ 2. พฤติกรรม
แสดงออกอย่าง ผ่านภาษา 3. ให้เด็ก 4-5 คน นำผลงานออก การกล้า
เหมาะสมตาม ท่าทาง มานำเสนอ ให้ แสดงออกในการ
สถานการณ์ การเคลื่อนไหว เพื่อนถามคำถามหรือแสดงความ เล่าเรื่องเพื่อนำ
และ คิดเห็น เสนอผลงาน
ศิลปะ
(๔) การพูด
แสดงความคิด
เห็นความรู้สึก
และ
ความต้องการ

สาระการเรียนรู้
จุดประสงค์ การประเมิน
ประสบการณ์ สาระที่ควร กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรียนรู้ พัฒนาการ
สำคัญ เรียนรู้
กิจกรรมเล่น (1) การเล่น 1. เด็กเลือกกิจกรรมเสรีตามมุม - มุม สังเกต
ตามมุม อิสระ ประสบการณ์ตามความสนใจ เช่น ประสบการณ์ การเล่นร่วมมือ
เล่นร่วมมือกับ (3) การเล่น - มุมธรรมชาติศึกษา - มุม ใน กับเพื่อนอย่างมี
เพื่อน ตามมุม หนังสือ ห้องเรียน เป้ าหมาย
อย่างมีเป้ า ประสบการณ์/ - มุมบล็อก - มุมเกม
หมายได้ มุมเล่นต่าง ๆ การศึกษา
(๒) การเล่น - บทบาทสมมติ - มุม
และการ เครื่องเล่นสัมผัส
ทำงานร่วมกับผู้ 2. เมื่อหมดเวลาเด็กเก็บของเข้าที่
อื่น ให้เรียบร้อย
กิจกรรมกลาง (1) การปฏิบัติ 1. ให้เด็กเคลื่อนไหวร่างกายด้วย 1. อุปกรณ์ สังเกต
แจ้ง ตนให้ การสะบัดมือ เท้า หมุนไหล่ ยืน กีฬา การเล่น และ
เล่น ทำ ปลอดภัยใน ปลายเท้า กระโดด เพื่ออบอุ่น 2. นกหวีด ปฏิบัติ
กิจกรรมและ กิจวัตร ร่างกาย ต่อผู้อ่ น
ื อย่าง
ปฏิบัติต่อผู้อ่ น
ื ประจำวัน 2. ครูแนะนำข้อตกลงในการเล่น ปลอดภัย
อย่าง อุปกรณ์กีฬาอย่างปลอดภัยและ
ปลอดภัยได้ การจัดเก็บอุปกรณ์
3. เด็กเลือกเล่นอุปกรณ์กีฬาโดยมี
ครูดูแลอย่าง
ใกล้ชิด
4. เมื่อครูให้สัญญาณหมดเวลาเด็ก
เก็บอุปกรณ์กีฬาเด็กเข้าแถวและ
ทำความสะอาดร่างกาย
กิจกรรมเกม (6) การต่อของ การนำชิน
้ 1. ครูแนะนำเกมภาพตัดต่ออาหาร 1. เกมภาพ สังเกต
การศึกษา ชิน
้ เล็กเติมใน ส่วนของ ไทย 4 ภาค ตัดต่อ การจับคู่และ
จับคู่และ ชิน
้ ใหญ่ให้ ภาพมาต่อให้ 2. แบ่งเด็กเป็ น 5 กลุ่ม ให้เด็ก 1 อาหารไทย 4 เปรียบเทียบ
เปรียบเทียบ สมบูรณ์ เป็ น กลุ่มรับเกมที่ ภาค ความแตกต่าง
ความแตกต่าง ภาพที่ แนะนำไปเล่น กลุ่มที่เหลือ เล่น 2. เกมการ และความ
และ สมบูรณ์ เกมการศึกษาชุด ศึกษาชุด เหมือนของสิง่
ความเหมือน เดิม เดิม ต่างๆ
ของสิง่ 3. ให้เด็กเก็บเกมการศึกษา
ต่างๆได้

แผนการจัดประสบการณ์รายวัน วันที่ 5 หน่วย อาหารดีมีประโยชน์ ชัน


้ อนุบาลปี ที่ 3

สาระการเรียนรู้
จุดประสงค์ การประเมิน
ประสบการณ์ สาระที่ควร กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรียนรู้ พัฒนาการ
สำคัญ เรียนรู้
กิจกรรม (1) การฟั งเพลง 1. กิจกรรมเคลื่อนไหวพื้นฐาน ให้ 1. เครื่องเคาะ สังเกต
เคลื่อนไหว การร้องเพลง เด็กเคลื่อนไหว ให้ การแสดง
และจังหวะ และการ ร่างกายไปทั่วบริเวณอย่างอิสระ สัญญาณ พฤติกรรม
สนใจ มีความ แสดงปฏิกิริยา ตามจังหวะเมื่อได้ยินสัญญาณหยุด 2. เครื่องเล่น ความสนใจ มี
สุข และ โต้ตอบ ให้หยุดเคลื่อนไหวในท่านัน
้ ทันที เพลง ความสุข และ
แสดงท่าทาง เสียงดนตรี 2. ครูเปิ ดเพลง ส้มตำให้เด็กฟั ง 1 3. เพลง แสดง
เคลื่อนไหว (3) การ รอบ และคิด ส้มตำ ท่าทาง
ประกอบ เคลื่อนไหวตาม สร้างสรรค์ท่าทางตามจินตนาการ เคลื่อนไหว
เพลง จังหวะ เสียงเพลง/ดนต 3. เด็กทำท่าทางตามจินตนาการ ประกอบเพลง
ดนตรี รี ประกอบเพลง
คำสัง่ และคำ (2) การแสดง “ส้มตำ”
บรรยายได้ ความคิด
สร้างสรรค์ผ่าน
สื่อวัสดุต่างๆ
ผ่านภาษา
ท่าทาง
การเคลื่อนไหว
และ
ศิลปะ
กิจกรรมเสริม (3) การ การประกอบ 1. สนทนาถึงเพลง ส้มตำไทย ว่ามี 1. ครก สังเกต
ประสบการณ์ ประกอบ อาหารส้มตำ ขัน
้ ตอนการทำ 2. มะละกอ -พฤติกรรมขณะ
-บอกลำดับขัน
้ อาหารไทย ไทย อย่าง ดิบ ประกอบอาหาร
ตอนการ (14) การบอก 2. ครูแนะนำวัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ 3. กระเทียม
ประกอบ และ ในการทำส้มตำ 4. มะเขือเทศ
อาหารส้มตำ เรียงลำดับ 3. ครูสาธิตวิธีการทำ ส้มตำ 5. ถั่วฝั กยาว
ไทยได้ กิจกรรม 4. แบ่งเด็กออกเป็ น 4 กลุ่ม ให้เด็ก 6. ถั่วลิสงคั่ว
หรือเหตุการณ์ แต่ละกลุ่มลง 7. น้ำปลา
ตาม มือทำส้มตำไทย ตามสูตรของ 8. น้ำตาลปี๊ บ
ช่วงเวลา ตนเอง 9. มะนาว
5. ครูและเด็กร่วมกันสรุป อุปกรณ์ 10. กุ้งแห้ง
วัสดุดิบ และ
ขัน
้ ตอนการทำส้มตำไทย
6. เด็กร่วมกันเก็บอุปกรณ์

จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ การประเมิน


การเรียนรู้ ประสบการณ์ สาระที่ควร พัฒนาการ
สำคัญ เรียนรู้
กิจกรรมศิลปะ (2) การเขียน 1. ครูแนะนำกิจกรรมสร้างสรรค์ 1. กระดาษ A สังเกต
สร้างสรรค์ ภาพและการ ประกอบด้วย 4 1. พฤติกรรม
1. สนใจมีความ เล่นกับสี วาดภาพขัน
้ ตอนการทำส้มตำ การ 2. ดินสอ ความสนใจมี
สุขและ (๕) การทำงาน พิมพ์ภาพจากผัก ผลไม้ 3. สีไม้ ความสุขและ
แสดงออกผ่าน ศิลปะ 2. ให้เด็กเลือกทำกิจกรรม 4. สีโปสเตอร์ แสดงออกผ่าน
งาน (2) การแสดง สร้างสรรค์ 1-2 กิจกรรมตามความ 5. พู่กัน งานศิลปะ
ศิลปะ ความคิด สนใจ 6. ผัก ผลไม้ 2. พฤติกรรม
2. กล้าพูด กล้า สร้างสรรค์ผ่าน 3. ให้เด็ก 4-5 คน นำผลงานออก การกล้า
แสดงออกอย่าง สื่อวัสดุต่างๆ มานำเสนอ ให้ แสดงออกในการ
เหมาะสมตาม ผ่านภาษา เพื่อนถามคำถามหรือแสดงความ เล่าเรื่องเพื่อนำ
สถานการณ์ ท่าทาง คิดเห็น เสนอผลงาน
การเคลื่อนไหว
และ
ศิลปะ
(๔) การพูด
แสดงความคิด
เห็นความรู้สึก
และ
ความต้องการ
กิจกรรมเล่น (1) การเล่น 1. เด็กเลือกกิจกรรมเสรีตามมุม - มุม สังเกต
ตามมุม อิสระ ประสบการณ์ตามความสนใจ เช่น ประสบการณ์ การเล่นร่วมมือ
เล่นร่วมมือกับ (3) การเล่น - มุมธรรมชาติศึกษา - มุม ใน กับเพื่อนอย่างมี
เพื่อน ตามมุม หนังสือ ห้องเรียน เป้ าหมาย
อย่างมีเป้ า ประสบการณ์/ - มุมบล็อก - มุมเกม
หมายได้ มุมเล่นต่าง ๆ การศึกษา
(๒) การเล่น - บทบาทสมมติ - มุม
และการ เครื่องเล่นสัมผัส
ทำงานร่วมกับผู้ 2. เมื่อหมดเวลาเด็กเก็บของเข้าที่
อื่น ให้เรียบร้อย

สาระการเรียนรู้
จุดประสงค์ การประเมิน
ประสบการณ์ สาระที่ควร กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
การเรียนรู้ พัฒนาการ
สำคัญ เรียนรู้
กิจกรรมกลาง (1) การปฏิบัติ 1. ให้เด็กเคลื่อนไหวร่างกายด้วย เกม “ตะล็อก สังเกต
แจ้ง ตนให้ปลอดภัย การสะบัดมือ เท้า หมุนไหล่ ยืน ต๊อก การเล่น และ
เล่น ทำ ในกิจวัตร ปลายเท้า กระโดด เพื่ออบอุ่น แต๊กผลไม้” ปฏิบัติต่อ
กิจกรรมและ ประจำวัน ร่างกาย ผู้อ่ น
ื อย่าง
ปฏิบัติต่อผู้อ่ น
ื 2. แบ่งเด็กเป็ น 2 กลุ่มกลุ่มผู้ขาย ปลอดภัย
อย่าง และผูซ
้ ้อ
ื ร้อง
ปลอดภัยได้ เพลงตะล็อกต๊อกแต๊กโต้ตอบกัน
โดยผู้ขายเป็ น
ผลไม้ต่างๆ
ผู้ขาย : ตะล็อกต๊อกแต๊ก มาทําไม?
ผู้ซ้อ
ื : มาซื้อผลไม้
ผู้ขาย : ผลไม้อะไร?
ผู้ซ้อ
ื : บอกชื่อผลไม้มา 1 ชนิด
ถ้าผู้ซ้อ
ื บอกชื่อผลไม้ที่ผู้ขาย
กำหนดได้ถูกต้องจะนำตัวผู้ขาย
นัน
้ ไปอยู่ฝ่ายตนแต่ถ้าผู้ซ้อ
ื บอกชื่อ
ไม่ถก

ผู้ซ้อ
ื ก็จะต้องไปอยู่ฝ่ายผู้ขาย
3. เมื่อครูให้สัญญาณหมดเวลาให้
เด็กเข้าแถว
และทำความสะอาดร่างกาย
กิจกรรมเกม (5) การคัดแยก การจัดหมวด 1. ครูแนะนำเกมจัดหมวดหมู่ภาพ 1. เกมจัด สังเกต
การศึกษา การจัดกลุ่ม หมู่ กับสัญลักษณ์ หมวดหมู่ การจำแนกและ
จำแนกและจัด และการจำแนก ภาพกับ 2. แบ่งเด็กเป็ น 5 กลุ่ม ให้เด็ก 1 ภาพกับ จัด
กลุ่มสิง่ สิ่งต่างๆตาม สัญลักษณ์ กลุ่มรับเกมที่ สัญลักษณ์ กลุ่มภาพกับ
ต่างๆ โดยใช้ ลักษณะและ แนะนำไปเล่น กลุ่มอื่นๆ เล่นเกม 2. เกมการ สัญลักษณ์
ตัง้ แต่สอง รูปร่าง รูปทรง การศึกษาชุดเดิม ศึกษาชุด
ลักษณะขึน
้ ไป 3. ให้เด็กเก็บเกมการศึกษา เดิม
เป็ นเกณฑ์

แบบสังเกตพฤติกรรมเด็ก หน่วยการจัดประสบการณ์ที่ 6 อาหารดีมีประโยชน์ ชัน


้ อนุบาลปี ที่ ๓

เล ชื่อ –นามสกุล พัฒนาการ หมา


ขที่ ด้าน ด้านอารมณ์ – ด้านสังคม ด้านสติปัญญา ยเห
ตุ
ร่างกาย จิตใจ
9
8
7
6
5
4
3
2
1

ด.ช. จิรายุ

ด.ช. ธนาธิป
ด.ช. นรภัทร
ด.ช. ภคพงษ์

ด.ช. ณัชพัฒน์
ด.ช. พงษ์พันธ์
ด.ช. เจษฎากร

12 ด.ญ. ทัสนันทน์
10 ด.ช. ฉัตร์กวินท์
ด.ช. ณรงค์ฤทธิ ์

11 ด.ญ. อิสราภรณ์
ด.ช. ณัฐภูมินทร์
1. เล่น ทำกิจกรรมและ
ปฏิบัติต่อ
2. ใช้กรรไกรตัดกระดาษ
ตามแนว
3. กล้าพูดกล้าแสดงออก
อย่าง
4. สนใจมีความสุขและ
แสดงออก
5.สนใจ มีความสุข และ
แสดงท่าทางเคลื่อนไหว
6.เล่นหรือทำงานร่วมมือ
กับเพื่อน
7.ปฏิบัติตนเป็ นผู้นำผู้ตาม
ได้
8.บอกชื่อลักษณะเด่นของ
อาหาร
9. จับคู่และเปรียบเทียบ
ความแตกต่างและความ
10.จำแนกและจัดกลุ่ม
11.จำแนกและจัดกลุ่ม
12. จำแนกและจัดกลุ่ม
อาหารที่มี
13. บอกลำดับขัน
้ ตอน
การ
เล
ขที่

รณ์

คือ
คำอธิบาย
16 ด.ญ. วันใหม่
14 ด.ญ. สิรินดา
15 ด.ญ. ศรีวตาภ
13 ด.ญ. ทัศน์นันท์

ชื่อ –นามสกุล
1. เล่น ทำกิจกรรมและ
ปฏิบัติต่อ
ด้าน
ร่างกาย

2. ใช้กรรไกรตัดกระดาษ
ตามแนว
3. กล้าพูดกล้าแสดงออก
อย่าง
4. สนใจมีความสุขและ
จิตใจ

แสดงออก
ด้านอารมณ์ –

5.สนใจ มีความสุข และ


แสดงท่าทางเคลื่อนไหว
6.เล่นหรือทำงานร่วมมือ
กับเพื่อน
7.ปฏิบัติตนเป็ นผู้นำผู้ตาม
ด้านสังคม
พัฒนาการ

ได้
8.บอกชื่อลักษณะเด่นของ
อาหาร
9. จับคู่และเปรียบเทียบ
ความแตกต่างและความ
10.จำแนกและจัดกลุ่ม
11.จำแนกและจัดกลุ่ม
ด้านสติปัญญา

12. จำแนกและจัดกลุ่ม
อาหารที่มี
ครูสังเกตพฤติกรรมเด็กรายบุคคล จดบันทึกสรุปเป็ นรายสัปดาห์ระบุระดับคุณภาพเป็ น ๓ ระดับ

13. บอกลำดับขัน
้ ตอน
การ
ตุ
ยเห
หมา
ระดับ ๓ ดี ระดับ ๒ ปานกลาง ระดับ ๑ ควรส่งเสริม

You might also like