You are on page 1of 9

แผนการจัดประสบการณ์ ระดับชัน

้ ปฐมวัย ชัน
้ อนุบาลปี ที่ 3
หน่วยการจัดประสบกาณ์ที่ 15 ต้นไม้ที่รัก
เรื่อง ส่วนประกอบของต้นไม้ การทดลองการดูดน้ำของรากและหน้าที่
ของราก
เวลา 15-20 นาที
สาระที่ควรเรียนรู้
ส่วนประกอบของต้นไม้ การทดลองการดูดน้ำของรากและหน้าที่
ของราก
มาตรฐาน ตัวบงชี ้ สภาพทีพ
่ ึงประสงค์
มาตรฐานที่ 1 ตัวบงชีท
้ ี่ 1.3(1.3.1)
มาตรฐานที่ 2 ตัวบงชีท
้ ี่ 2.1(2.1.4)
ตัวบงชีท
้ ี่ 2.2(2.2.1)
มาตรฐานที่ 4 ตัวบงชีท
้ ี่ 4.1(4.1.1) (4.1.3)
มาตรฐานที่ 7 ตัวบงชีท
้ ี่ 7.1(7.1.1)
มาตรฐานที่ 8 ตัวบงชีท
้ ี่ 8.2(8.2.1)
มาตรฐานที่ 9 ตัวบงชีท
้ ี่ 9.1(9.1.1)
ตัวบงชีท
้ ี่ 9.2(9.2.1)
มาตรฐานที่ 10 ตัวบงชีท
้ ี่ 10.1(10.1.1)
(10.1.2) (10.1.3) (10.1.4)
มาตรฐานที่ 12 ตัวบงชีท
้ ี่ 12.2 (12.2.1)
ประสบการณ์สำคัญ
ด้านร่างกาย
1.1.1 การใช้กล้ามเนื้อใหญ่
(1)การเคลื่อนไหวเคลื่อนที่
1.1.2 การใช้กล้ามเนื้อเล็ก
(1)การหยิบจับ การใช้กรรไกร การฉีกปะ การร้อยวัสดุ
1.1.5 การตะหนักรู้เกี่ยวกับร่างกายตนเอง
(1)การเคลื่อนไหวโดยควบคุมตนเองไปในทิศทาง ระดับและพื้นที่
ด้านอารมณ์และจิตใจ
1.2.1 สุนทรียภาพ ดนตรี
(3)การเคลื่อนไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี
1.2.2 การเล่น
(2)การเล่นรายบุคคล กลุ่มย่อย กลุ่มใหญ่
ด้านสังคม
1.3.2 การดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
(1)การมีส่วนร่วมรับผิดชอบดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมทัง้ ภายในและภายนอก
ห้องเรียน
(4)การเพาะปลูกและดูแลต้นไม้
1.3.5 การเล่นและร่วมงานแบบร่วมมือร่วมใจ
ด้านสติปัญญา
(3)การฟั งเพลง นิทาน คำคล้อมจอง บทร้อยกรองหรื่อเรื่องราวต่างๆ
(4)การพูดแสดงความคิด ความรู้สึกและความต้องการ
(5)การพูดกับคนอื่นเกี่ยวกับประสบการณ์ของตนเอง หรือพูดเล่าเรื่องราว
เกี่ยวกับตนเอง
(8)การอจังหวะที่เหมาะสมในการพูด
(14)การอ่านและชีข
้ ้อความ โดยกวาดสายตามบรทัดจากซ้ายไปขวา จาก
บนลงล่าง
1.4.2 การคิดรวบยอด การคิดเชิงเหตุผล การตัดสินใจและแก้ปัญหา
(1)การสังเกตลักษณะ ส่วนประกอบการเปลี่ยนแปลง และความสัมพันธ์
ของสิง่ ต่างๆ โดยใช้ประสาทสัมผัสอย่างเหมาะสม
(9)การเปรียบเทียบและเรียงลำดับกิจกรรมหรือเหตุการณ์ตามช่วงเวลา
1.4.4 เจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้และการแสวงหาความรู้
(1)สำรวจสิ่งต่างๆ และแหล่งเรียนรู้รอบตัว
(4)การมีส่วนร่วมในการรวบรวมข้อมูลจากการสืบเสาะหาความรู้ในรูป
แบบต่างๆ และแผนภูมิอย่างง่าย
ทักษะคณิตศาสตร์
1.การเปรียบเทียบจำนวนมาก-น้อย
2.ตำแหน่ง บน-กลาง-ล่าง
3.ทิศทาง ซ้าย-ขวา
ทักษะวิทยาศาสตร์
1.ทักษะการสังเกต
2.อธิบายเชื่อมโยงสาเหตุและผลที่เกิดขึน
้ ในเหตุการณ์หรือการกระทำ
การพัฒนาทางภาษาและการรับรู้หนังสือ
1.การฟั งและปฏิบัติตามคำสัง่ คำแนะนำ
2.การฟั งเพลง นิทาน คำคล้องจอง บทร้อยกรองหรือเรื่องราวต่างๆ
3.การพูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก และความต้องการ
4.การพูดอธิบายเกี่ยวกับสิ่งของเหตุการณ์ และความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ
วิทยาการคำนวน
1.

จุดประสงค์การเรียนรู้
กิจกรรมเสริมประสบการณ์
1.ค้นหาคำตอบของข้อสงสัยต่างๆโดยใช้วิธีการที่หลากหลายด้วยตนเอง
ได้
2.บอกลักษณะการเปลี่ยนแปลงของสิงต่างๆจากการสังเกตโดยใช้
ประสาทสัมผัสได้

ประสบการณ์สำคัญ
(4) การมีส่วนร่วมในการรวบรวมข้อมูลจากการสืบเสาะหาความรู้ในรูป
แบบต่างๆ และแผนภูมิอย่างง่าย
(1)การสังเกตลักษณะและการลี่ยนแปลงของสิง่ ต่างๆโดยใช้ประสาท
สัมผัสอย่างเหมาะสม
สาระที่ควรเรียนรู้
ส่วนประกอบของต้นไม้ การทดลองการดูดน้ำของรากและหน้าที่ของราก

กิจกรรมการเรียนรู้
ขัน
้ นำสู่บทเรียน
1.ครูสนทนากับเด็กเกี่ยวกับต้นไม้
2.ต้นไม้มีส่วนประกอบอะไรบ้าง
3.ต้นไม้เจริญเติบโตได้อย่างไร
4.ต้นไม้โตได้อย่างไร ถ้าไม่ลดน้ำจะเป็ นอย่างไร
ขัน
้ สอน
1.ครูสนทนาพูดคุยกับเด็ก และเล่าถึงประสบการณ์เดิมของเด็กเกี่ยวกับ
ต้นไม้
2.ครูแนะนำอุปกรณ์และสาธิตการทดลอง
-.ให้เด็กสังเกต

3.เก็บอุปกรณ์

ขัน
้ สรุป
การดูดน้ำของพืช
2 คำถาม
-รากมีหน้าที่อะไร
-ถ้าไม่มีรากต้นไม้จะรอดหรือตาย

สื่อการสอน
การประเมินพัฒนาการ
สังเกต
1.การค้นหาคำตอบของข้อสงสัยต่างๆ โดยใช้วิธีทที่หลากหลายด้วย
ตนเอง
2.การบอกลักษณะการเปลี่ยนแปลงของสิ่งต่างๆ จากการสังเกตโดยใช้
ประสาทสัมผัส
บันทึกหลังการสอน
ครัง้ ที่2

ขัน
้ นำ
ครูนำภาพต้นไม้มาให้เด็กดุและพูดถึงส่วนประกอบของต้นไม้

หน้าที่ของต้นไม้/รากหน้าที่ต่างๆของส่วนประกอบต้นไม้
ขัน
้ สอน
-ครูสาธิตและทดลองการดูดและลำเลียงน้ำของราก
-ให้เด็กๆออกมาช่วย(อาสา)
ขัน
้ สรุป
-หน้าที่ของราก
ครัง้ ที่3
-ขัน
้ นำ
-คำคล้องจองต้นไม้ครูท่อง

ของเพิ่ม
-เพิ่มเติมสื่อของจริงให้เด็กได้เห็น

You might also like