You are on page 1of 80

ราชวิทยาลัยกุมารแพทยแหงประเทศไทย

สมาคมกุมารแพทยแหงประเทศไทย

»ÂÐÈÔÅ»Š
¾§ÉÈÑ¡´Ôì ¹ŒÍ¾ ÂѤ¦ ÇԹѴ ´Ò
駶ÒÇÃ
Çѹ´Õ ¹Ô§ÊÒ¹¹· »ÃÐÊ ºÈÃÕ ÍÖ
ºÃóҸԡÒÃ
ราชวิทยาลัยกุมารแพทยแหงประเทศไทย
สมาคมกุมารแพทยแหงประเทศไทย

Guideline
in Child Health
Supervision

¾§ÉÈÑ¡´Ôì ¹ŒÍ¾ÂѤ¦ ÇԹѴ ´Ò »ÂÐÈÔÅ»Š


Çѹ´Õ ¹Ô§ÊÒ¹¹· »ÃÐʺÈÃÕ ÍÖ駶ÒÇÃ
ºÃóҸԡÒÃ
Guideline in Child Health Supervision
บรรณาธิการ พงษ์ศักดิ์ น้อยพยัคฆ์ วินัดดา ปิยะศิลป์
วันดี นิงสานนท์ ประสบศรี อึ้งถาวร

ISBN 978-616-91972-2-5

จัดท�ำโดย ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย
สมาคมกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย
พิมพ์ครั้งที่ 1 กรกฎาคม 2557 จ�ำนวน 1,000 เล่ม
ราคา 450 บาท

ข้อมูลทางบรรณานุกรมของห้องสมุดแห่งชาติ
พงษ์ศักดิ์ น้อยพยัคฆ์ วินัดดา ปิยะศิลป์
วันดี นิงสานนท์ ประสบศรี อึ้งถาวร
Guideline in Child Health Supervision
พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ : สรรพสาร จ�ำกัด, 2557.
292 หน้า
กุมารเวชศาสตร์ I. ชื่อเรื่อง.

ออกแบบและพิมพ์ที่
บริษัท สรรพสาร จ�ำกัด
เลขที่ 71/17 ถนนบรมราชชนนี แขวงอรุณอมรินทร์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700
โทร. 0-2435-2345 ต่อ 197
สารจากประธานราชวิทยาลัยกุมารแพทย์
แห่งประเทศไทย

เด็กเป็นอนาคตของชาติ การเลี้ยงเด็กให้มีคุณภาพถือเป็นเรื่องส�ำคัญ และเป็นหน้าที่ความรับผิดชอบของ


พ่อ แม่ ผู้ปกครอง ปู่ย่า ตายาย บุคคลในครอบครัวรวมถึงครู แพทย์ทั่วไป และกุมารแพทย์
ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย เล็งเห็นความส�ำคัญในเรือ่ งนี้ จึงได้จดั ท�ำหนังสือเล่มนีข้ นึ้ เพือ่ เป็น
แนวทางให้บุคลากรที่มีหน้าที่เกี่ยวกับการเลี้ยงดูเด็ก ได้ใช้เป็นคู่มือในการดูแลเด็กอย่างถูกต้องและมีมาตรฐาน โดย
ครอบคลุมตัง้ แต่เรือ่ งการส่งเสริมสุขภาพทัง้ ในเรือ่ ง ครอบครัว การเจริญเติบโต การพัฒนาการ การสร้างเสริมภูมคิ มุ้ กัน
โรค การดูแลความปลอดภัยและป้องกันอุบัติเหตุ การคัดกรองและป้องกันปัญหาที่พบบ่อย การให้ค�ำแนะน�ำตาม
ช่วงวัย รวมถึงแหล่งทรัพยากรและความช่วยเหลือในชุมชนและสังคม ซึง่ เขียนโดยกุมารแพทย์เฉพาะทางในเรือ่ งนัน้ ๆ
จากสถาบันต่างๆ
หวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือคู่มือการดูแลเด็กเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับบุคลากรทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้ใช้เป็น
แนวทางในการเลี้ยงดูให้เยาวชนของเราได้เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในทุกๆ ด้านต่อไป

(ศ.นพ.สมศักดิ์ โล่ห์เลขา)
ประธานราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย
นายกสมาคมกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย

3
บทน�ำ
ประวัติความเป็นมาของระบบการดูแลสุขภาพเด็กดี
การดูแลสุขภาพเด็กในวัยต่างๆ ตั้งแต่แรกเกิดจนเติบโตเป็นวัยรุ่นและผู้ใหญ่นั้น เป็นเรื่องส�ำคัญ ซับซ้อน
ต้องการความรูค้ วามเข้าใจจากผูเ้ กีย่ วข้องทุกด้าน เพือ่ พัฒนาให้เด็กมีสขุ ภาพทีส่ มบูรณ์ทงั้ ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม
ให้ดีที่สุดตามศักยภาพทางพันธุกรรมจะเอื้ออ�ำนวย ปัญหาสุขภาพของเด็กในแต่ละช่วงอายุ แต่ละยุคสมัย มีการ
เปลีย่ นแปลงตลอดตามปัจจัยด้านสังคม สิง่ แวดล้อม การจัดบริการดูแลสุขภาพเด็กจึงต้องปรับให้สอดคล้องกับปัญหา
และบริบทของประเทศด้วยโดยมีแนวทางการดูแลที่สามารถปรับในเนื้อหารายละเอียดตามความเหมาะสมสามารถ
น�ำไปประยุกต์ใช้ได้ในแต่ละท้องที่
คณะกรรมการบริหารราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย ได้ตระหนักถึงความส�ำคัญในการวางกรอบ
ก�ำหนดการดูแลสุขภาพเด็กไทยเพื่อเป็นแนวทางให้หน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐและเอกชนรวมทั้งสถาบันการศึกษาได้
น�ำไปพิจารณาปรับใช้ในแนวทางเดียวกันตามบริบทของตน
คณะท�ำงานชุดแรกประกอบด้วยกุมารแพทย์ทั้งหมด 5 ท่าน ได้แก่ ศ.นพ.วินัย สุวัตถี ศ.นพ.อุรพล
บุญประกอบ ศ.พญ.มรว.จันทร์นิวัทธ์ เกษมสันต์ รศ.พญ.ประสบศรี อึ้งถาวร และ ศ.คลินิค พญ.ศรีศุภลักษณ์
สิงคาลวณิช คณะท�ำงานได้พิจารณาด�ำเนินการวางแผนจัดท�ำโดยก�ำหนดหัวเรื่องที่จ�ำเป็นในการตรวจสุขภาพเด็ก
แต่ละอายุ ทั้งกรอบใหญ่และย่อยโดยให้ความส�ำคัญกับโรคหรือภาวะสุขภาพที่พบบ่อย เป็นปัญหาสาธารณสุขของ
ประเทศ การตรวจพบภาวะผิดปกติตั้งแต่แรกเริ่มสามารถให้การดูแลรักษาที่เหมาะสมป้องกันผลกระทบต่างๆ ต่อไป
นอกจากนั้น ให้ความส�ำคัญต่อการให้คำ� ปรึกษาแนะน�ำแก่ผู้ปกครอง มารดาบิดาเพื่อให้ได้เลี้ยงดูลูกอย่างมีคุณภาพ
ตามศักยภาพของเด็กแต่ละคน
ส�ำหรับจ�ำนวนครัง้ ของการตรวจสุขภาพเป็นระยะๆ นัน้ คณะท�ำงานก�ำหนดเวลาทีจ่ ำ� เป็นให้นอ้ ยครัง้ สอดคล้อง
กับเวลาทีใ่ ห้วคั ซีนป้องกันโรคเป็นส่วนใหญ่ซงึ่ ตารางดังกล่าวแนะน�ำให้ใช้ในเด็กปกติทวั่ ไปทีไ่ ม่มปี จั จัยเสีย่ งด้านสุขภาพ
ทั้งโดยตรงหรือโดยอ้อม ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทยได้น�ำก�ำหนดการตรวจสุขภาพดังกล่าวเผยแพร่ให้
หน่วยงานรวมทั้งสมาชิกของราชวิทยาลัยฯน�ำไปประยุกต์ใช้ตามสถานการณ์ต่างๆ ในปี พศ 2542
ก�ำหนดการดูแลสุขภาพครั้งนี้ได้ทบทวนใหม่ให้ทันสมัยเหมาะสมกับปัญหาสุขภาพเด็กในยุคปัจจุบันรวมทั้ง
ให้สามารถน�ำไปใช้กบั ระบบการบริการสุขภาพของไทยทัง้ ภาครัฐและเอกชน โดยทางคณะท�ำงานชุดปัจจุบนั ได้จดั ให้
มีการสอบถามความเห็นผ่านช่องทางต่างๆและในการประชุมวิชาการประจ�ำปีของราชวิทยาลัยฯ ก่อนน�ำมาเสนอเป็น
มติของกรรมการบริหารฯต่อไป อย่างไรก็ตาม การดูแลสุขภาพเด็กนั้นมีผู้เกี่ยวข้องจ�ำนวนมาก คณะท�ำงานจึงได้จัด
ท�ำค�ำแนะน�ำในรายละเอียดประกอบเป็นช่วงอายุให้สะดวกในการน�ำไปใช้ทงั้ ฉบับย่อและฉบับสมบูรณ์ รวมทัง้ จัดการ
อบรมวิชาการต่อไปให้ครบวงจรด้วย

(รศ.พญ.ประสบศรี อึ้งถาวร)
ประธานคณะท�ำงานพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพเด็กดี
ที่ปรึกษาคณะกรรมการราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย

4
Guideline in Child Health Supervision

รายละเอียดผู้นิพนธ์
กมล เผือกเพชร ชิษณุ พันธ์เจริญ
พบ. วว.กุมารเวชศาสตร์ วว.กุมารเวชศาสตร์โรคเลือด พบ. วว.กุมารเวชศาสตร์
Cert. in Paediatric Haematology/Oncology, ประกาศนียบัตรโรคติดเชื้อในเด็ก
Cert. in Paediatric Neuro-oncology, The รองศาสตราจารย์
Hospital for Sick Children, U of Toronto, คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Canada
อาจารย์สาขาวิชาโลหิตวิทยาและอองโคโลยี
ภาควิชากุมารเวชศาสตร์
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ม.มหิดล
จริยา ทะรักษา นลินี จงวิริยะพันธุ์
พบ. วว.กุมารเวชศาสตร์ อว.จิตเวชศาสตร์เด็กและวัยรุน่ พบ., วว.กุมารเวชศาสตร์, อว.กุมารเวชศาสตร์
อว.เวชศาสตร์ครอบครัว โภชนาการ
Cert. of Postdoctoral Fellowship in Child and Ph.D. (Human Nutrition)
Adolescent Psychiatry, Yale University, USA รองศาสตราจารย์
อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาจิตเวชศาสตร์เด็กและวัยรุน่ สาขาวิชาโภชนวิทยา ภาควิชากุมารเวชศาสตร์
ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราช คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ม.มหิดล
พยาบาล ม.มหิดล

จุฬธิดา โฉมฉาย นัยนา ณีศะนันท์


Doctor of Medicine, American Board of พบ. วว. กุมารเวชศาสตร์ อว.เวชศาสตร์ครอบครัว
Pediatrics อว.กุมารเวชศาสตร์พัฒนาการและพฤติกรรม
Certificate in Medical Toxicology, University of อาจารย์หน่วยกุมารเวชศาสตร์สังคม
California San Francisco, USA ภาควิชากุมารเวชศาสตร์
รองศาสตราจารย์วิทยาลัยนานาชาติ ม.มหิดล สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี

จิราภรณ์ อรุณากูร บุญยิ่ง มานะบริบูรณ์


พบ. วว.กุมารเวชศาสตร์ พบ. วว.กุมารเวชศาสตร์
Certificate in Clinical Fellowship Adolescent Cert. in Clinical Fellowship in Adolescent
Medicine, University of California San Francisco, Medicine, The Hospital for Sick Children,
USA Canada
อาจารย์หน่วยเวชศาสตร์ผู้ป่วยนอกเด็กและวัยรุ่น ผู้ช่วยศาสตรจารย์
ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์
โรงพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
มหาวิทยาลัยมหิดล ม.มหิดล

5
Guideline in Child Health Supervision

ชาญวิทย์ พรนภดล พงษ์ศักดิ์ น้อยพยัคฆ์


พบ. (เกียรตินิยมอันดับ 1) พบ. วว.กุมารเวชศาสตร์
Diplomate American Board of Psychiatry อว.กุมารเวชศาสตร์พัฒนาการและพฤติกรรม
and Neurology MSc. Child and  Adolescent Mental Health
Diplomate American Board of Child and (with Merit); King’s College London,
Adolescent Psychiatry , cert. in Infant Psychiatry MSc. Epidemiology; U of London
รองศาสตรจารย์ Cert. Health Professions Education;
หัวหน้าสาขาวิชาจิตเวชเด็กและวัยรุ่น U of Illinois at Chicago  
นายแพทย์เชี่ยวชาญ หัวหน้าหน่วยพัฒนาการเด็ก
ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ และวัยรุ่น ภาควิชากุมารเวชศาสตร์
คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล ม.มหิดล คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล ม.นวมินทราธิราช
พิชญา ตันธนวิกรัย วิชิต สุพรศิลป์ชัย
พบ. (เกียรตินิยมอันดับ 1) พบ. วว.กุมารเวชศาสตร์
วว. จิตเวชศาสตร์เด็กและวัยรุ่น อว.กุมารเวชศาสตร์ต่อมไร้ท่อและเมตาบอลิสม
PhD in Pediatric Endocrinology, Karolinska
University Hospital, Stockholm, Sweden
อาจารย์หน่วยต่อมไร้ท่อ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รสวันต์ อารีมิตร วินัดดา ปิยะศิลป์
พบ. วว.กุมารเวชศาสตร์  พบ. วว. กุมารเวชศาสตร์
Certificate in Adolescent Medicine อว.จิตเวชศาสตร์เด็กและวัยรุ่น
(Clinical fellowship The Hospital for Sick อว.เวชศาสตร์ครอบครัว
Children, University of Toronto, Canada) Certificate in Developmental Pediatrics,
ผู้ช่วยศาตราจารย์ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ The Johns Hopkins, USA
คณะแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น ศาตราจารย์คลินิก นายแพทย์ทรงคุณวุฒิระดับ 11
สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี กรมการแพทย์
วฎาการ วุฒิศิริ วีระศักดิ์ ชลไชยะ
พบ. วว. จักษุวิทยา อว.จักษุวิทยาโรคตาเด็กและตาเข พบ. (เกียรตินิยมอันดับ 1) วว. กุมารเวชศาสตร์
Certificate in Ocular Genetics, Wills Eye วว. กุมารเวชศาสตร์พัฒนาการและพฤติกรรม
Institute, USA Cert. in Neurotherapeutics, Cert. in Develop-
อาจารย์ คณะแพทยศาสตร์ mental-Behavioral Pediatrics Medical Investi-
โรงพยาบาลรามาธิบดี ม.มหิดล gation of Neurodevelopmental Disorders,
U of California, CA, USA
อาจารย์ หน่วยพัฒนาการและการเจริญเติบโต
ภาควิชากุมารเวชศาสตร์
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

6
Guideline in Child Health Supervision

วสันต์ ประเสริฐสม สมพล สงวนรังศิริกุล


ทันตแพทยศาสตร์บัณฑิต พบ. ป. บัณฑิตกุมารเวชศาสตร์  
วว.ศัลยศาสตร์ช่องปาก อว. เวชศาสตร์ครอบครัว
อาจารย์สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี วทม.(สรีรวิทยา)  วทม.(พัฒนาสุขภาพ)
กรมการแพทย์ รองศาสตราจารย์  ภาควิชาสรีรวิทยา
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วนัทปรียา พงษ์สามารถ สาวิตรี ชลออยู่


พบ. วว.กุมารเวชศาสตร์ ว.ว. กุมารเวชศาสตร์โรคติดเชือ้ พบ. วว.โสตศอนาสิกลาริงซ์วิทยา
Certificate in Pediatric Infectious Diseases, M.Sc. in Audiological Medicine (Paediatric
The Hospital for Sick Children, University of Audiology), the University of Manchester, UK
Toronto, Toronto, Canada โสตศอนาสิกแพทย์, ศูนย์การได้ยิน
อาจารย์แพทย์ หน่วยโรคติดเชื้อ รพ.สมิติเวชศรีนครินทร์
ภาควิชากุมารเวชศาสตร์
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ม.มหิดล

สุภิญญา อินอิว อดิศร์สุดา เพื่องฟู


พบ. วว.กุมารเวชศาสตร์  พบ. วว.กุมารเวชศาสตร์ อว.เวชศาสตร์ครอบครัว
Cert. in Clinical Scholar in Adolescent อว.กุมารเวชศาสตร์พัฒนาการและพฤติกรรม
Medicine U. of Cincinnati, USA ผู้ช่วยศาสตราจารย์ หน่วยพัฒนาการเด็ก
อาจารย์แพทย์ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญพิเศษด้านพัฒนาการเด็ก
ภาควิชากุมารเวชศาสตร์  สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล ม.มหิดล

สุธาทิพย์ เอมเปรมศิลป์ อาภัทรสา เล็กสกุล


พบ. วว. กุมารเวชศาสตร์ อว. เวชศาสตร์ครอบครัว พบ. วว. จักษุวิทยา อว.จักษุวิทยาโรคตาเด็กและตาเข
Cert. in Community Pediatrics Cert. in Pediatric Ophthalmology, Children’s
อาจารย์พิเศษ หน่วยเวชศาสตร์ผู้ป่วยนอก Hospital, Boston. Massachusetts, USA.
เด็กและวัยรุ่น คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ม.มหิดล
ภาควิชากุมารเวชศาสตร์
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ม.มหิดล 

7
Guideline in Child Health Supervision

อรพร ด�ำรงวงศ์ศิริ อิศราภา ชื่นสุวรรณ


พ.บ., ว.ว. (กุมารเวชศาสตร์) พบ. วว.กุมารเวชศาสตร์
ประกาศนียบัตรกุมารเวชศาสตร์โภชนาการ วว.กุมารเวชศาสตร์พัฒนาการและพฤติกรรม
อาจารย์ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์
ม.มหิดล ม.ธรรมศาสตร์

อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ อังคนีย์ ชะนะกุล


พบ. วว.กุมารเวชศาสตร์ พบ. วว.กุมารเวชศาสตร์
MPH, Karolinska Institute, Sweden วว.กุมารเวชศาสตร์โรคไต
รองศาสตราจารย์ หน่วยเวชศาสตร์ผู้ป่วยนอกเด็ก Cert. in Pediatric Nephrology Reasearch, U of
และวัยรุ่น California, USA
ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ อาจารย์หน่วยโรคไตเด็ก
รพ.รามาธิบดี ม.มหิดล ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

8
Guideline in Child Health Supervision

สารบัญ

สารจากประธานราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย 3
บทน�ำ รศ.พญ.ประสบศรี อึ้งถาวร 4
รายละเอียดผู้นิพนธ์ 5

ตอนที่ 1 แนวทางส่งเสริมสุขภาพ
บทที่ 1 แนวทางส่งเสริมครอบครัวคุณภาพ 12
วินัดดา ปิยะศิลป์
บทที่ 2 แนวทางส่งเสริมพัฒนาการเด็กในสังคมไทย 21
อิศราภา ชื่นสุวรรณ รสวันต์ อารีมิตร
บทที่ 3 แนวทางส่งเสริมความเข้มแข็งด้านจิตใจ 37
จริยา ทะรักษา
บทที่ 4 แนวทางส่งเสริมการเจริญเติบโต 46
พงษ์ศักดิ์ น้อยพยัคฆ์
บทที่ 5 แนวทางส่งเสริมการออกก�ำลังกาย 55
สมพล สงวนรังศิริกุล
บทที่ 6 แนวทางส่งเสริมโภชนาการที่เหมาะสม 62
อรพร ด�ำรงวงศ์ศิริ นลินี จงวิริยะพันธุ์
บทที่ 7 แนวทางส่งเสริมการสร้างภูมิคุ้มกันโรค 77
ชิษณุ พันธ์เจริญ
บทที่ 8 แนวทางส่งเสริมสุขภาพช่องปากและฟัน 85
วสันต์ ประเสริฐสม
บทที่ 9 แนวทางส่งเสริมพัฒนาการและพฤติกรรมทางเพศ 93
สุภิญญา อินอิว
บทที่ 10 แนวทางสร้างเสริมความปลอดภัยและป้องกันการบาดเจ็บ 101
อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์
บทที่ 11 ทรัพยากรและความช่วยเหลือในชุมชนและสังคม 127
สุธาทิพย์ เอมเปรมศิลป์

9
Guideline in Child Health Supervision

ตอนที่ 2 การคัดกรองและป้องกันปัญหาที่พบบ่อย
บทที่ 12 การคัดกรองการได้ยิน 140
สาวิตรี ชลออยู่
บทที่ 13 การคัดกรองทางจักษุ 145
วฎาการ วุฒิศิริ อาภัทรสา เล็กสกุล
บทที่ 14 การคัดกรองภาวะโลหิตจาง 152
กมล เผือกเพ็ชร
บทที่ 15 การคัดกรองสารตะกั่ว 161
นัยนา ณีศะนันท์ จุฬธิดา โฉมฉาย
บทที่ 16 การคัดกรองปัญหาการเรียน 168
วินัดดา ปิยะศิลป์
บทที่ 17 การคัดกรอง ความดันโลหิตสูง 177
อังคนีย์ ชะนะกุล
บทที่ 18 การคัดกรองไขมันในเลือด และภาวะเบาหวาน 184
วิชิต สุพรศิลป์ชัย
บทที่ 19 การคัดกรองเด็กติดสื่อและอินเทอร์เน็ต 194
ชาญวิทย์ พรนภดล พิชญา ตันธนวิกรัย
บทที่ 20 การคัดกรองวัยรุ่นกลุ่มเสี่ยง 205
บุญยิ่ง มานะบริบูรณ์ จิราภรณ์ อรุณากูร
บทที่ 21 การคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 211
สุภิญญา อินอิว วนัทปรียา พงษ์สามารถ

ตอนที่ 3 การให้ค�ำแนะน�ำตามช่วงวัย
บทที่ 21 Infancy period (0-11 เดือน) 226
อิสราภา ชื่นสุวรรณ พงษ์ศักดิ์ น้อยพยัคฆ์
บทที่ 22 Early childhood (1-4 ปี) 247
นัยนา ณีศะนันท์ วีระศักดิ์ ชลไชยะ
บทที่ 23 Middle childhood (5-10 ปี) 264
สุธาทิพย์ เอมเปรมศิลป์ อดิศร์สุดา เพื่องฟู
บทที่ 24 Adolescence (11-18 ปี) 275
บุญยิ่ง มานะบริบูรณ์ จริยา ทะรักษา

เอกสารอ้างอิง 287
รายชื่อคณะท�ำงานพัฒนาระบบการดูแลเด็ก Guideline in Child Health Supervision 292

10
III
ตอนที่ 3
การดูแลสุขภาพเด็กและวัยรุ่นตามวัย
Infancy Period (0-11 เดือน)

บทที่ 21
Infancy Period (0-11 เดือน)
พงษ์ศักดิ์ น้อยพยัคฆ์
อิสราภา ชื่นสุวรรณ
III

การดูแลสุขภาพเด็กและวัยรุ่นอย่างเป็นองค์ อย่างเหมาะสมต่อไป
รวมตามช่วงวัยที่ครอบคลุมการประเมินเพื่อคัดกรอง ในภาวะปกติทารกจะกลับบ้านพร้อมแม่ภายใน
ความผิดปกติ การป้องกันโรค การส่งเสริมสุขภาพ และ 2-3 วัน โดยอาจมีการนัดติดตามอาการในกลุ่มเสี่ยง
การให้คำ� แนะน�ำล่วงหน้า เป็นสิง่ ทีม่ คี วามจ�ำเป็นต่องาน เช่น คลอดก่อนก�ำหนด ตัวเหลืองจาก blood group
บริการด้านกุมารเวชกรรม บทความต่อไปนี้ เป็นแนวทาง incompatibility ภาวะซีดจากเม็ดเลือดแดงแตก จ�ำ้ เลือด
ปฏิบตั ขิ องการดูแลสุขภาพเด็กและวัยรุน่ ตามก�ำหนดการ ออกตามตัว cephalhematoma ทารกซึง่ คลอดจากแม่
ดูแลสุขภาพเด็กไทย โดยราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่ง ที่เป็นเบาหวาน ปัญหาด้านการให้นม น�้ำหนักลดลงเกิน
ประเทศไทย พศ. 2557 ควร ติดเชือ้ ในกระแสโลหิต ภาวะแทรกซ้อนระหว่างการ
คลอด หรือความผิดปกติทางร่างกายอื่น ตามดุลยพินิจ
ของกุมารแพทย์
ทารกแรกเกิด-7 วัน
ช่วงแรกของทารกเป็นช่วงที่ครอบครัวและ การประเมินสุขภาพและปัญหาทั่วไป
ทารกต้องมีการปรับตัวเรียนรูซ้ งึ่ กันและกัน กุมารแพทย์ การดูแลทารกแรกเกิดกุมารแพทย์ควรประเมิน
เป็นผู้ที่มีความส�ำคัญอย่างมาก ต่อการช่วยเหลือให้ ทั้งเด็กและครอบครัวอย่างเป็นองค์รวม เพื่อคัดกรอง
ครอบครัวและทารกสามารถปรับตัวได้อย่างเหมาะสม ปัญหาหรือปัจจัยที่อาจส่งผลต่อการเลี้ยงดูทารก เช่น
ซึ่งจะส่งผลดีต่อการเลี้ยงดู การเจริญเติบโต พัฒนาการ ความเจ็บป่วยแต่กำ� เนิด ภาวะซึมเศร้า และความเครียด
รวมถึงบทบาทและหน้าที่ของผู้เลี้ยงดูในครอบครัว การ ของมารดา เป็นต้น การประเมินทารกในช่วงนี้สามารถ
ประเมินสุขภาพผ่านการซักประวัติ ตรวจร่างกาย สังเกต ท�ำได้ผ่านการพูดคุย ซักประวัติ สังเกต ตรวจร่างกาย
ตัวเด็ก ผู้เลี้ยงดู และปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เลี้ยงดูกับตัว และการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่จ�ำเป็น ในการซัก
เด็ก เพือ่ คัดกรอง รักษา และให้คำ� แนะน�ำการดูแลทารก ประวัตนิ อกจากกุมารแพทย์จะได้รบั ข้อมูลทีจ่ ำ� เป็นส�ำหรับ

226
พงษ์ศักดิ์ น้อยพยัคฆ์ อิสราภา ชื่นสุวรรณ

การดูแลทารกจากครอบครัวแล้ว ยังเป็นการสร้างความ พ่อแม่สามารถตอบสนองความต้องการของเด็กอย่าง


สัมพันธ์ทดี่ รี ะหว่างครอบครัวและกุมารแพทย์ตงั้ แต่แรก เหมาะสมหรือไม่ เช่น ท่าอุ้ม ท่าให้นม เป็นต้น
เกิดซึ่งจะส่งผลดีต่อการดูแลทารกต่อไปในระยะยาว
ควรเริ่มจากความกังวลของพ่อแม่ ตามด้วย การตรวจร่างกาย
ข้อมูลที่เหมาะสมเพื่อประเมินความพร้อม ความรู้และ 1. ประเมินการเจริญเติบโตด้วยการชัง่ น�ำ้ หนัก
ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลทารกตั้งแต่ก่อนคลอด วัดความยาว และเส้นรอบศีรษะ แล้วน�ำมาเปรียบเทียบ
ระหว่างคลอดและหลังคลอด เช่น ความเจ็บป่วยของ กับกราฟการเจริญเติบโตมาตรฐาน โดยปรับตามอายุ
มารดาระหว่างตัง้ ครรภ์ ความคาดหวังของพ่อแม่ วิธกี าร ครรภ์ของเด็ก (adjust for gestation age) (ดูราย
คลอด การปรับตัวของทารกหลังคลอดด้านการกิน-อยู่- ละเอียดในบทที่ 4) ดังนี้
หลับนอน ทัศนคติของครอบครัวและความคาดหวังของ • ชั่ ง น�้ ำ หนั ก เด็ ก ต้ อ งถอดเสื้ อ ผ้ า ออกให้
ครอบครัวต่อตัวเด็กซึ่งอาจมีความขัดแย้งจนส่งผลต่อ หมด หากการเปรียบเทียบน�้ำหนักมีความจ�ำเป็น

III
การดูแลเด็ก เป็นต้น ระหว่างการพูดคุยควรสังเกตการ และต้องการความถูกต้องมาก อาจต้องควบคุมปัจจัยที่
ตอบสนองของพ่อแม่ต่อความต้องการของเด็กว่ามี ส่งผลต่อน�้ำหนักตัวของเด็ก เช่น ชั่งน�้ำหนักในเวลา
ความเหมาะสมหรือไม่ เช่น ให้นมเมื่อหิว ท่าให้นม เดียวกัน ควบคุมปริมาณนมให้ใกล้เคียงกันในแต่ละวัน
ท่าอุ้ม เปลี่ยนผ้าอ้อมเมื่อขับถ่าย หรือการห่มผ้าให้เด็ก เป็นต้น
เป็นต้น รวมไปถึงการประเมินความช่วยเหลือจากสมาชิก • วัดความยาวมาตรฐานสามารถวัดได้ด้วย
ในครอบครัวคนอื่น ซึ่งอาจแบ่งเบาภาระของมารดาใน การใช้ measuring board หรือให้เด็กนอนลงบนพื้น
บางช่วงเวลา เช่น ปู่ ย่า ตา ยาย หรือสมาชิกอื่น ผิวทีแ่ ข็ง โดยจัดให้เด็กนอนหงาย ศีรษะเด็กอยูช่ ดิ ติดกับ
ในครอบครัวขยาย ปลายด้านหนึ่งของกระดานวัด ผู้ช่วยจับเข่าเด็กให้ตึง
ทั้งสองข้าง ผู้วัดปรับเลื่อนแผ่นวัดทางด้านเท้าของเด็ก
การเฝ้าระวังทางพัฒนาการ (ดูรายละเอียดในบทที่ 2) ที่สามารถปรับเลื่อนเข้าออกได้ตามความยาวของ
• Gross Motor : เคลื่อนไหวตอบสนองต่อ ตัวเด็ก
เสียงและการมองเห็น และ primitive reflexes • เส้นรอบศีรษะวัดผ่านจุดนูนที่สุดทางด้าน
• Social-emotional: ตอบสนองต่อเสียงและ หน้าและหลังเพื่อให้ได้เส้นรอบศีรษะในต�ำแหน่งที่
สัมผัสของพ่อแม่ กว้างที่สุด
• Communicative: หยุดร้องเมื่อถูกอุ้ม • น�้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง เป็นการประเมิน
• Cognitive: มองพ่อแม่เมื่อตื่น น�้ำหนักตัวของเด็กเมื่อเทียบกับความยาวหรือส่วนสูง มี
ประโยชน์ในการประเมินภาวะอ้วนส�ำหรับเด็กเล็กที่ยัง
สังเกตทารกและปฏิสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่ ไม่สามารถน�ำค่า BMI มาตรฐานมาใช้ได้ (ดูรายละเอียด
และทารก ในบทที่ 4)
ควรสังเกตพฤติกรรมและ ความสามารถในการ 2. ตรวจร่างกายตามระบบอย่างละเอียดและ
ปรับตัวต่อสิ่งแวดล้อมของทารก รวมถึงปฏิสัมพันธ์ว่า เน้นการตรวจต่อไปนี้

227
Infancy Period (0-11 เดือน)

• ผิวหนัง: ความผิดปกติของผิวหนัง ภาวะตัว สามารถตรวจได้ตามล�ำดับ ดังนี้


เหลือง Ortolani’s maneuver
• ศีรษะ: ความผิดปกติของรูปศีรษะ ขนาด 1. ให้ทารกนอนหงายราบกับพื้น งอเข่าข้างที่
กระหม่อมหน้า/หลัง อันตรายที่ได้รับจากการคลอด ต้องการตรวจให้ข้อสะโพกท�ำมุมประมาณ 90 องศา ใช้
• ตา: ลูกตา หนังตา การกลอกตา แก้วตาปกติ นิว้ หัวแม่มอื ของมืออีกข้างจับบริเวณหัวหน่าวโดยนิว้ อืน่
หรือขุ่น ดู red reflexเพื่อทดสอบจอประสาทตา (ดูราย ที่เหลืออ้อมไปจับกระดูกเชิงกรานด้านหลัง เพื่อไม่ให้
ละเอียดในบทที่ 13) เชิงกรานขยับไปมา
• หู: รูปทรงของหู ต�ำแหน่งใบหู รูหู ติ่งเนื้อ 2. ใช้มือข้างที่อยู่ด้านเดียวกับขาทารกด้านที่
หรือรูเปิดบริเวณผิวหนังหน้าหู ต้องการตรวจ จับต้นขาข้างนัน้ ไว้ ให้นวิ้ กลางวางทีบ่ ริเวณ
• จมูก: รูจมูก ทิศทางของสันจมูกเพื่อมอง greater trochanter และนิ้วหัวแม่มืออยู่ด้านใน ค่อยๆ
หาความผิดปกติของผนังกั้นช่องจมูก กางขาออก (abduction) ประมาณ 80 องศา ใช้มือดัน
III

• ปาก: ริมฝีปาก เพดาน เพือ่ มองหาปากแหว่ง ต้นขาทารกเข้าหาผูต้ รวจเล็กน้อย หากรูส้ กึ สะดุด (click)
เพดานโหว่ ฟันน�้ำนมที่ขึ้นแต่เกิด (natal teeth) พังผืด แสดงว่า หัวกระดูก femur ขยับกลับเข้าในเบ้ากระดูก
ที่ปลายลิ้น Barlow’s maneuver
• หัวใจและหลอดเลือด: อัตราการเต้น จังหวะ 1. ให้ทารกนอนและจับขาทารกเช่นเดียวกับ
เสียงหัวใจ คล�ำชีพจรที่โคนขาหนีบ การตรวจ Ortolani’s maneuver
• ช่องท้อง: คล�ำช่องท้อง ตรวจสะดือและ 2. หุบขาทารกเข้าหาแนวกลางล�ำตัว โดย
เส้นเลือดของสะดือ ออกแรงดันไปด้านนอกล�ำตัวด้วยนิว้ หัวแม่มอื ซึง่ อยูด่ า้ น
• อวัยวะเพศและรูทวาร: สังเกตความผิดปกติ ในต้นขาของทารก
ของอวัยวะสืบพันธุ์ คล�ำอัณฑะ รูทวาร 3. หากมีการเลื่อนหลุดของข้อสะโพก จะมี
• กล้ามเนือ้ และกระดูก: หลังและกระดูกสัน ความรู้สึกสะดุดจากการที่หัวกระดูกต้นขาเคลื่อน
หลัง เท้า หลุดจากเบ้า
• ข้อสะโพก: Ortolani และ Barlow เพื่อ
ประเมินภาวะข้อสะโพกหลุดหรือหลวม การคัดกรอง
• ระบบประสาท: ความสมดุลของแขนขา • คัดกรองภาวะไทรอยด์ตำ�่ และ phenylketonuria
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อ primitive reflexes ตามมาตรฐานของประเทศ
• ตรวจการได้ยนิ หากมีเครือ่ งมือและบุคลากร
หมายเหตุ • คัดกรองวัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การตรวจข้อสะโพก สามารถเริม่ จาก Ortolani’s ในกลุ่มเสี่ยง เช่น มารดามีประวัติเป็นวัณโรค ตับอักเสบ
maneuver ตามด้วย Barlow’s maneuver ต่อด้วย HIV หรือ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อื่น
Ortolani’s maneuver หรือ เริ่มจาก Barlow’s • คัดกรองความบกพร่องทางสายตาในกลุ่ม
maneuver แล้วต่อด้วย Ortolani’s maneuver ก็ได้ เสี่ยง (ดูรายละเอียดในบทที่ 13)

228
พงษ์ศักดิ์ น้อยพยัคฆ์ อิสราภา ชื่นสุวรรณ

การให้วัคซีน • ให้นอนหงายเพื่อป้องกัน Sudden Infant


• วัคซีนบีซีจี BCG ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง ครั้งที่ 1 Death Syndrome (SIDS)
วัคซีนตับอักเสบบี (HB) ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ • เลือกใช้อปุ กรณ์เครือ่ งนอนทีป่ ลอดภัยต่อเด็ก
ครั้งที่ 1 (ดูรายละเอียดในบทที่ 7) เช่น ที่นอนและหมอนไม่นุ่มเกินไป ผ้าปูที่นอนไม่ควร
หนาหรือใหญ่มากเกินไป ช่องว่างระหว่างซีก่ รงข้างเตียง
ค�ำแนะน�ำล่วงหน้าส�ำหรับพ่อแม่เพือ่ ส่งเสริม หรือที่นอนเด็กไม่ควรกว้างกว่า 6 ซม.
ความพร้อมของครอบครัว • ไม่ให้หัวนมหลอกก่อนอายุ 1 เดือน ในเด็ก
เรื่องทั่วไป ที่รับประทานนมแม่
• ป้องกันความเครียดหรือความวิตกกังวลจาก • อุณหภูมิภายในห้องของเด็กควรเหมาะสม
การเลีย้ งดูบตุ ร จนอาจเกิดภาวะซึมเศร้าหลังคลอด ด้วย • เลือกใช้ผลิตภัณฑ์อาบน�ำ้ และท�ำความสะอาด
การพูดคุยกับบุคคลในครอบครัว หรือผู้อื่น เมื่อมีปัญหา เครื่องใช้ที่ไม่มีส่วนผสมของน�้ำหอม

III
หรือข้อสงสัยเกี่ยวกับการเลี้ยงดู • อาจไม่จำ� เป็นต้องใช้สบูอ่ าบน�ำ้ ฟอกตัวทารก
• ควรมีผชู้ ว่ ยแม่ในการดูแลลูกเมือ่ รูส้ กึ เหนือ่ ย ทุกวัน คราบไขที่บริเวณศีรษะสามารถล้างออกได้ด้วย
ล้า หรือจ�ำเป็นต้องปฏิบัติภารกิจส่วนตัว การล้างน�้ำบ่อยๆ
• แม่และสมาชิกอืน่ ในครอบครัวควรแบ่งเวลา • หลีกเลีย่ งการน�ำทารกไปรับแสงแดดโดยตรง
ท�ำกิจกรรมร่วมกัน ไม่แนะน�ำให้ใช้ครีมกันแดด ยกเว้นในบริเวณเพียงเล็ก
• ไม่ตะโกนใส่ ทุบตี หรือเขย่าตัวลูก น้อย ที่ไม่สามารถปกปิดได้ด้วยเสื้อผ้าหรือหมวก เช่น
• แนะน�ำแหล่งข้อมูลและศูนย์ให้ความช่วย หน้าหรือคอ
เหลือในชุมชน เมื่อมีปัญหาเกี่ยวกับการเลี้ยงดูบุตร (ดู • ท�ำความสะอาดและเปลี่ยนผ้าอ้อมทุกครั้ง
รายละเอียดในบทที่ 11) ที่ขับถ่าย โดยรอให้ผิวแห้งก่อนใส่ผ้าอ้อมให้ใหม่เพื่อ
• สิทธิสำ� หรับการได้รบั ความช่วยเหลือในกรณี ป้องกันผดผื่น
ของเด็กพิการ • ปล่อยให้สะดือแห้งและหลุดเอง โดยอาจมี
เลือดซึมออกมาหลังสะดือหลุด 1-2 วัน หากมีอาการ
การดูแลเด็ก บวมแดง และมีของเหลวไหลออกจากสะดือควรปรึกษา
• ส่งเสริมให้แม่สังเกต การสื่อสารเพื่อบอก แพทย์
ความต้องการจากทารก ผ่านเสียงร้อง และภาษาท่าทาง • ควรล้างมืออยู่เสมอ โดยเฉพาะหลังเปลี่ยน
• แนะน�ำให้แม่นวดตัว สัมผัสลูก โอบอุ้มและ ผ้าอ้อมและก่อนให้นมเด็ก
โยกตัวไปมาระหว่างอุ้มลูก อย่างสม�่ำเสมอ เพื่อช่วยให้ • ป้องกันการติดเชื้อให้ โดยลดจ�ำนวนคนที่
ลูกรู้สึกผ่อนคลาย และยังอาจช่วยให้การร้องโยเยสงบ จะอุม้ หลีกเลีย่ งการคลุกคลีกบั ผูป้ ว่ ยด้วยโรคติดต่อและ
ลงได้ สถานที่ที่มีผู้คนแออัด เช่น ร้านอาหาร ห้างสรรพสินค้า
• การอุม้ ทารกบ่อยๆ จะเสริมสร้างความผูกพัน โรงภาพยนตร์ เป็นต้น
ที่ดี ช่วยให้เด็กเลี้ยงง่าย ตื่นและนอนเป็นเวลามากขึ้น

229
Infancy Period (0-11 เดือน)

การให้นม • หลังคลอด ควรรับประทานวิตามินที่ได้รับ


ค�ำแนะน�ำทั่วไป ระหว่างตัง้ ครรภ์ตอ่ หากรับประทานอาหารมังสวิรตั คิ วร
• สนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย ได้ เหล็ก สังกะสี และวิตามินบี 12 เสริม
4-6 เดือน หากไม่สามารถให้นมแม่ได้ให้ใช้นมผสมทีเ่ ติม • หลีกเลีย่ งการดืม่ สุรา 2-3 ชัว่ โมง ก่อนให้นมลูก
ธาตุเหล็ก • ความเจ็บป่วยของแม่ส่วนใหญ่สามารถให้
• สังเกตอาการหิวและให้นมเมือ่ ลูกหิวเท่านัน้ นมลูกได้ แต่ควรล้างมือให้สะอาดทุกครัง้ ก่อนให้นม และ
• กระตุน้ ให้ลกู เรอลมเมือ่ ให้นมไปได้ในปริมาณ ปรึกษาแพทย์ในกรณีทมี่ คี วามกังวล หากต้องใช้ยาระหว่าง
ครึ่งหนึ่ง และหลังให้นมเสร็จ ให้นมลูก
• กรณีที่ไม่มีขาดน�้ำ ไม่จ�ำเป็นต้องให้น�้ำเพิ่ม ค�ำแนะน�ำส�ำหรับมารดาที่ให้นมผสม
เมื่อรับประทานนมแม่และนมผสมซึ่งเตรียมถูกสัดส่วน • เริ่มให้นมจาก 2 ออนซ์ทุก 2-3 ชม. แล้ว
ค�ำแนะน�ำส�ำหรับมารดาที่ให้นมแม่ เพิ่มตามความต้องการของทารก
III

• วันแรกหลังคลอดควรให้ดูดนมประมาณ • อ่านค�ำแนะน�ำจากผูผ้ ลิตทีข่ า้ งกระป๋องอย่าง


8-12 ครั้งเพื่อกระตุ้นการสร้างน�้ำนมของแม่ ละเอียด ถึงวิธีปฏิบัติต่อนมที่จะให้แก่ทารก
• วันที่ 3-4 หลังคลอด ทารกอาจต้องการ • แนะน�ำการจัดท่าให้นมที่ถูกต้อง
นมแม่ทุก 1-2 ชั่วโมงเพื่อชดเชยน�้ำหนักตัวที่ลดลงหลัง
คลอด ค�ำแนะน�ำเพื่อความปลอดภัย
• ประมาณ 1 สัปดาห์ ทารกส่วนใหญ่เริ่ม (ดูรายละเอียดในบทที่ 10)
ปรับตัวรับประทานนมแม่ทกุ 2-3 ชัว่ โมง ในตอนกลางวัน • แนะน�ำให้ใช้ที่นั่งส�ำหรับเด็ก ซึ่งได้รับการ
และทุก 3 ชั่วโมงในตอนกลางคืน โดยมักมี 1 มื้อของ รับรองมาตรฐาน โดยหันหน้าของเด็กไปด้านหลังตัวรถ
ช่วงกลางคืนที่มีระยะห่างจากมื้อก่อนหน้านานถึง และปฏิบตั ติ ามค�ำแนะน�ำของบริษทั ผูผ้ ลิตอย่างเคร่งครัด
4-5 ชัว่ โมง โดยรวมเด็กจะได้รบั นมวันละประมาณ 8-12 เมื่อต้องโดยสารรถยนต์
มื้อต่อวัน • จัดให้เด็กโดยสารรถยนต์ในที่นั่งด้านหลัง
• ในช่วงหลังคลอดถึง 2 สัปดาห์แรก นอน • หยุดรถให้สนิททุกครั้ง เมื่อต้องดูแลเด็ก
ติดต่อกันนานเกิน 4 ชัว่ โมง ควรปลุกให้ตนื่ รับประทานนม ระหว่างเดินทาง
• ไม่ให้น�้ำในเด็กที่รับประทานนมแม่ • หลีกเลีย่ งการพาไปยังสถานทีซ่ งึ่ มีผสู้ บู บุหรี่
• เมือ่ น�ำ้ นมแม่เริม่ มีปริมาณมากพอ ทารกจะ • เมื่อต้องเปลี่ยนผ้าอ้อมหรือเสื้อผ้า ควรใช้
ปัสสาวะวันละประมาณ 6-8 ครั้ง อาจถ่ายอุจจาระหลัง มือข้างหนึง่ สัมผัสทารกไว้ตลอดเวลา เพือ่ ป้องกันการตก
รับประทานนมทุกมื้อ หรือไม่ถ่ายเป็นเวลาหลายวัน จากที่สูง
แนะน�ำให้แม่สังเกตลักษณะอุจจาระเพื่อบ่งบอกอาการ
ท้องผูกหรือท้องเสีย แทนการนับจ�ำนวนครั้ง ก่อนกลับ
• หากแม่รู้สึกเจ็บเต้านมหรือหัวนมระหว่าง • เปิดโอกาสให้ถามสิ่งที่สงสัย และทบทวน
ให้นมลูกควรปรึกษาแพทย์ สรุปเรื่องที่พูดคุยหรือแนวทางแก้ไขปัญหาที่ได้ในวันนี้

230
พงษ์ศักดิ์ น้อยพยัคฆ์ อิสราภา ชื่นสุวรรณ

• ชืน่ ชมและให้กำ� ลังใจทีพ่ อ่ แม่ อย่างเหมาะสม • Personal social : จ้องหน้า


• แจ้งวันนัดพบครั้งต่อไปที่อายุ 7 วัน หรือ 1 • Expressive Language : ร้องไห้
เดือน • Receptive Language : ตอบสนองต่อเสียง
ที่ได้ยิน (ดูรายละเอียดในบทที่ 2)

อายุ 1 เดือน สังเกตทารกและปฏิสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่


พ่อแม่ส่วนใหญ่ปรับตัวได้ และเข้าใจความ และทารก
ต้องการของทารกดีขึ้น มักให้ความส�ำคัญกับ การรับ กุมารแพทย์ควรสังเกตพฤติกรรมของทารก
ประทาน การตื่น/หลับ ขับถ่าย และปรับตัวเข้ากับเด็ก ท่าทีพ่อแม่ต่อการเลี้ยงดู เช่น กังวล กลัว โกรธ มีความ
การนัดมาติดตามอาการเมื่ออายุ 1 เดือนนี้ กุมารแพทย์ สุข เป็นต้น การตอบสนองของพ่อแม่ต่อท่าทีและความ
อาจพิจารณาตามความเหมาะสม เช่น ทารกคลอดก่อน ต้องการของทารก รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ระหว่างพ่อกับแม่

III
ก�ำหนด ทารกแรกเกิดที่มีความเจ็บป่วย ปัญหาสุขภาพ และความขัดแย้งเกี่ยวกับการดูแลทารก
หรือพัฒนาการของทารก ความกังวลของพ่อแม่
การตรวจร่างกาย
การประเมินสุขภาพและปัญหาทั่วไป 1.ประเมินการเจริญเติบโตด้วยการชั่งน�้ำหนัก
ควรให้ความส�ำคัญกับความกังวลใจหรือปัญหา วัดความยาว วัดเส้นรอบศีรษะ แล้วน�ำมาเปรียบเทียบ
ที่พ่อแม่ประสบระหว่างการดูแลทารกในช่วงที่ผ่านมา กับกราฟการเจริญเติบโตมาตรฐาน โดยปรับตามอายุ
รวมถึงความสามารถในการปรับตัวของพ่อแม่ เช่น ครรภ์ของเด็ก (adjust for gestation age) (ดูราย
ความเครียด ความวิตกกังวล เป็นต้น และการปรับตัว ละเอียดในบทที่ 4) และประเมินน�้ำหนักตามเกณฑ์
ของทารก เช่น การรับประทาน การนอน ความปลอดภัย ส่วนสูง
ในการเดินทาง หรือการอาบน�้ำ เป็นต้น ระหว่างพูดคุย 2. ตรวจร่างกายตามระบบอย่างละเอียดและ
กุมารแพทย์ควรสังเกตการตอบสนองของครอบครัว เน้นการตรวจต่อไปนี้
ต่อความต้องการของเด็กว่า มีความเหมาะสมหรือพ่อแม่ • ศีรษะ: ความผิดปกติของรูปศีรษะ ขนาด
มีท่าทีที่มั่นใจในการตอบสนองต่อทารกมากน้อยเพียง กระหม่อมหน้า/หลัง อันตรายที่ได้รับจากการคลอด
ใด รวมถึงความช่วยเหลือด้านการดูแลทารกจากสมาชิก • ตา: ลูกตา หนังตา การกลอกตา แก้วตาปกติ
ในครอบครัวคนอื่น หรือขุ่น ดู red reflexเพื่อทดสอบจอประสาทตา
• หัวใจและหลอดเลือด: อัตราการเต้น จังหวะ
การเฝ้าระวังทางพัฒนาการ เสียงหัวใจ คล�ำชีพจรที่โคนขาหนีบ
• Gross Moyor : ยกคางจากที่นอนชั่วครู่ใน • ช่องท้อง: คล�ำช่องท้อง ตรวจการหลุดของ
ท่านอนคว�่ำ สะดือ
• Fine Motor : มองตามวัตถุได้ถึงกึ่งกลาง • กล้ามเนือ้ และกระดูก: Ortolani และ Barlow
ล�ำตัว • ระบบประสาท: ความสมดุลของแขนขา

231
Infancy Period (0-11 เดือน)

ความตึงตัวของกล้ามเนื้อ primitive reflexes การดูแลเด็ก


• ตอบสนองความต้องการของทารกเป็นเวลา
การคัดกรอง เช่น มื้อนม การนอน
ในกรณีที่ไม่ได้คัดกรองเมื่อแรกเกิด • ฝึกให้กล่อมตัวเองให้หลับได้ ด้วยการวางลง
• คัดกรองภาวะไทรอยด์ตำ�่ และ phenylketonuria ในที่นอนเมื่อยังตื่น หรือก�ำลังเคลิ้มหลับ แทนการอุ้มให้
ตามมาตรฐานของประเทศ เด็กหลับในอ้อมกอดของพ่อแม่
• ตรวจการได้ยนิ หากมีเครือ่ งมือและบุคลากร • ป้องกันการเกิด Sudden Infant Death
• คัดกรองวัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ Syndrome ด้วยการเลือกที่นอน หมอน ผ้าห่มอย่าง
ในกลุ่มเสี่ยง เช่น มารดามีประวัติเป็นวัณโรค ตับ เหมาะสม และหลีกเลีย่ งการน�ำตุก๊ ตาผ้าใส่ไว้ในทีน่ อนเด็ก
อักเสบ HIV หรือ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อื่น • ให้ฝกึ นอนหงายเพือ่ ป้องกัน Sudden Infant
• คัดกรองความบกพร่องทางสายตาในกลุ่ม Death Syndrome
III

เสี่ยง (ดูรายละเอียดในบทที่ 13) • หากเป็นไปได้ แนะน�ำให้เด็กนอนในที่ของ


ตนเองอย่างเหมาะสมกับบริบทของครอบครัว เช่น ใน
การให้วัคซีน เปลหรือเตียงนอนของเด็ก ไม่ควรให้ลกู นอนบนเตียงพ่อ
• วัคซีนบีซีจี BCG ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง ครั้งที่ 1 แม่ หากต้องในนมบนเตียงนอนพ่อแม่ควรพาลูกกลับไป
• วัคซีนตับอักเสบบี (HB 1) ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ นอนยังที่ของตนเองหลังให้นม
ครั้งที่ 1 • ยกข้างเตียงขึ้นเสมอเมื่อทารกอยู่บนเตียง
• ในกรณีที่ยังไม่ได้รับตั้งแต่แรกเกิด (ดูราย ช่องว่างระหว่างซีก่ รงข้างเตียงหรือทีน่ อนเด็กไม่ควรกว้าง
ละเอียดในบทที่ 7) เกินกว่า 6 ซม.
• อุ้ม กอด เล่น พูดคุย หรือร้องเพลงกล่อม
ค�ำแนะน�ำและค�ำแนะน�ำล่วงหน้า และไม่เป็นสาเหตุให้ลูกติดพ่อแม่มากเกินไป
ส่งเสริมความพร้อมของครอบครัว • ตอบสนองความต้องการของทารกอย่าง
• แนะน�ำให้แม่และครอบครัวได้วางแผนการ เหมาะสมและทันท่วงที
ดูแลลูก เมื่อต้องกลับไปท�ำงาน เช่น เตรียมและจัดหาผู้ • การอุ้ม ส่งเสียงพูดคุย ลูบสัมผัส โยกตัวไป
ดูแลระหว่างวัน มาในอ้อมกอดพ่อแม่ อาจช่วยลดอาการร้องโยเยช่วง
• แหล่งความช่วยเหลือด้านสุขภาพกายและ บ่ายหรือหัวค�่ำ
จิตใจในสังคมหรือชุมชน (ดูรายละเอีดยในบทความเรือ่ ง • การใช้สายรัดอุ้มทารกไว้กับตัวพ่อแม่ อาจ
ทรัพยากรและความช่วยเหลือในชุมชนและสังคม) ช่วยให้ลูกรู้สึกมั่นคงปลอดภัยและลดการร้องโยเย แต่
• หากมีความเครียดหรือวิตกกังวล ควรปรึกษา อาจไม่ปลอดภัยกับทารกคลอดก่อนก�ำหนด หรือทารก
ผู้ที่ไว้วางใจ หรือปรึกษาแพทย์ ที่มีปัญหาทางระบบประสาทและกล้ามเนื้อ
• ปรึกษาแพทย์หากมีปัญหาความรุนแรงใน • หากเครียด เหนื่อย โกรธ หรือวิตกกังวลกับ
ครอบครัว การดูแล ควรวางทารกไว้ในบริเวณที่ปลอดภัย เพื่อให้

232
พงษ์ศักดิ์ น้อยพยัคฆ์ อิสราภา ชื่นสุวรรณ

ตัวเองได้พกั ไม่ควรเขย่าตัวเพราะอาจท�ำให้เกิดอันตราย ค�ำแนะน�ำส�ำหรับมารดาที่ให้นมแม่


ต่อสมองอย่างถาวร • ให้นมแม่ซงึ่ เป็นอาหารทีด่ ที สี่ ดุ ส�ำหรับทารก
• ปรึกษาแพทย์หากทารกร้องมากเกินไป อย่างน้อย 4-6 เดือน
• พูดคุยและเล่นบ่อยๆ จะช่วยส่งเสริมความ • อธิบายการเจริญเติบโตของเด็ก ผ่านกราฟ
สัมพันธ์และความผูกพันที่ดี การเจริญเติบโต
• เมื่อทารกตื่นและรู้สึกตัวดี อาจจับให้นอน • รับประทานวิตามินเสริมเช่นเดียวกับก่อน
คว�ำ่ ภายใต้การดูแลอย่างใกล้ชดิ เพือ่ ส่งเสริมพัฒนาการ คลอด ร่วมกับได้รับอาหารอย่างถูกหลักโภชนาการ
ของกล้ามเนื้อคอ • หลีกเลีย่ งการใช้หวั นมหลอก หรือการดูดจุก
นมในช่วงนี้ เว้นแต่มีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ หรือมีความ
การให้นม จ�ำเป็นเฉพาะราย
ค�ำแนะน�ำทั่วไป ค�ำแนะน�ำส�ำหรับมารดาที่ให้นมผสม

III
• สังเกตอาการหิวและอิ่ม และให้นมเมื่อหิว • หากจ�ำเป็นต้องเปลีย่ นจากนมแม่มาเป็นนม
เท่านั้น ผสม ให้แนะน�ำนมผสมให้กบั ลูกเมือ่ ลูกไม่หวิ มากและยัง
• หากไม่ได้ให้นมแม่ ควรให้รับประทานนมที่ ไม่อิ่มจากนมแม่ โดยให้ผู้อื่นให้นมขวดแก่ลูก ลองใช้จุก
เติมธาตุเหล็ก นมขนาดต่างๆจนได้ขนาดทีเ่ หมาะกับลูก เมือ่ ลูกสามารถ
• ไม่เริ่มอาหารอื่นนอกจากนม ดูดได้แรงขึ้นอาจต้องเปลี่ยนขนาดเพื่อให้นมไหลช้าลง
• กรณีทไี่ ม่ขาดน�ำ้ ไม่จำ� เป็นต้องให้นำ�้ เพิม่ ทัง้
เมื่อรับประทานนมแม่ และนมผสมซึ่งเตรียมถูกสัดส่วน ค�ำแนะน�ำเพื่อความปลอดภัย
• ท่าให้นมทีถ่ กู ต้อง เพือ่ ป้องกันการส�ำลักและ (ดูรายละเอียดในบทที่ 10)
ส่งเสริมการสื่อสารทางสายตาระหว่างกัน • แนะน�ำให้ใช้ที่นั่งส�ำหรับเด็กซึ่งได้รับการ
• กระตุน้ ให้ทารกสนใจในการรับประทานนม รับรองมาตรฐาน ชนิดที่หันหน้าของเด็กไปด้านหลังตัว
โดยโยกตัว ลูบสัมผัส และลดสิ่งเร้าในสิ่งแวดล้อม เช่น รถ และปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำของบริษัทผู้ผลิตอย่าง
แสงและเสียง เคร่งครัด เมื่อต้องโดยสารรถยนต์
• ไม่ทงิ้ ให้ทารกดูดนมขวดอยูต่ ามล�ำพัง เพราะ • จัดให้เด็กโดยสารรถยนต์ในที่นั่งด้านหลัง
อาจส�ำลักนมจนเป็นอันตรายได้ • หยุดรถให้สนิททุกครั้ง เมื่อต้องดูแลเด็ก
• แนะน�ำวิธีช่วยทารกเรอลม ระหว่างเดินทาง
• หากได้นมเพียงพอทารกจะมีนำ�้ หนักตัวเพิม่ • หลีกเลี่ยงพาลูกไปยังสถานที่ซึ่งมีผู้สูบบุหรี่
ขึน้ อย่างเหมาะสม ปัสสาวะวันละ 6-8 ครัง้ เมือ่ ใช้ผา้ อ้อม • เมือ่ ต้องเปลีย่ นผ้าอ้อม หรือเสือ้ ผ้าให้กบั ลูก
ผ้า หรือ 5-6 ครั้งเมื่อใช้ผ้าอ้อมส�ำเร็จรูป ถ่ายอุจจาระ ควรใช้มือข้างหนึ่งสัมผัสลูกไว้ตลอดเวลา เพื่อป้องกัน
วันละ 3-4 ครั้ง แต่จ�ำนวนครั้งของการถ่ายอุจจาระจะ การตกจากที่สูง
ลดลงภายใน 6 สัปดาห์ทารกปกติที่รับประทานนมแม่ • หลีกเลี่ยงการใส่สร้อยคอ ของเล่นที่มีเชือก
อาจถ่ายทุก 3 วันโดยไม่มีความผิดปกติ หรือสายอุปกรณ์เครื่องใช้ต่างๆ ในบริเวณที่เด็กอยู่

233
Infancy Period (0-11 เดือน)

• ไม่ดื่มเครื่องดื่มร้อนขณะก�ำลังอุ้มทารก แม่จับลูกนอนคว�่ำในช่วงตื่นเพื่อส่งเสริมพัฒนาการของ
กล้ามเนื้อมัดใหญ่ให้กับทารก กุมารแพทย์ควรให้ความ
ก่อนกลับ รู้กับพ่อแม่เรื่องอาหารส�ำหรับทารกวัยนี้ ที่ยังมีเพียงนม
• เปิดโอกาสให้ถามสิ่งที่สงสัย และทบทวน ไม่ให้อาหารเสริมอืน่ นอกจากนมจนกว่าจะอายุ 4-6 เดือน
สรุปเรื่องที่พูดคุย หรือแนวทางแก้ไขปัญหาที่ได้ในวันนี้ ไปแล้ว
• ชื่นชมและให้ก�ำลังใจที่พ่อแม่ดูแลลูกอย่าง ช่วงนีค้ รอบครัวส่วนใหญ่มกั สร้างสมดุลใหม่กบั
เหมาะสม การมีสมาชิกเพิ่มขึ้นได้ พ่อแม่ด�ำรงชีวิตส่วนตัวได้ดีขึ้น
• แจ้งวันนัดพบครั้งต่อไปที่อายุ 2 เดือน กุมารแพทย์ควรแนะน�ำให้ครอบครัวเปิดโอกาสให้พี่ได้
เข้ามามีสว่ นร่วมกับการดูแลทารกซึง่ เป็นน้องอย่างเหมาะ
สมกับพัฒนาการของพี่ เพือ่ สร้างความผูกพันทีด่ รี ะหว่าง
อายุ 2 เดือน พี่น้อง นอกจากนั้นควรให้ค�ำแนะน�ำถึงความปลอดภัย
III

ช่วงนี้ทารกและครอบครัวสามารถสื่อสารซึ่ง ของทารกในด้านการเดินทาง ท่านอน โดยค�ำนึงถึงบริบท


กันและกันได้ดีขึ้น ทารกสามารถมองจ้องตาพ่อแม่ ยิ้ม ความเชื่อ ค่านิยมของครอบครัวด้วย
ส่งเสียงอ้อแอ้ตอบโต้กบั ผูใ้ หญ่ ตอบสนองด้วยท่าทีพอใจ
ต่อเสียง สัมผัสและหน้าของพ่อแม่ ปฏิสัมพันธ์ที่ทารก การประเมินสุขภาพและปัญหาทั่วไป
วัยนี้สามารถโต้ตอบกับพ่อแม่ได้ ท�ำให้พ่อแม่รับรู้ได้ถึง การดูแลทารกวัยนี้ กุมารแพทย์ควรให้ความ
ความสุขใจในการดูแลทารก ขณะเดียวกันพ่อแม่ปรับตัว ส�ำคัญกับความกังวลใจหรือปัญหาการดูแลทารกในช่วง
ได้มากขึน้ กับสมาชิกใหม่ และสร้างสมดุลระหว่างครอบครัว ทีผ่ า่ นมา รวมถึงความสามารถปรับตัวของทารกด้านการ
การท�ำงาน และชีวิตส่วนตัวได้ดีขึ้น หากพ่อแม่ปฏิบัติ รับประทาน ท่าให้นม การนอน การดูแลทารกให้ได้รับ
กิจวัตรประจ�ำวันที่เกี่ยวข้องกับเด็กอย่างสม�่ำเสมอ เช่น ความปลอดภัยในการเดินทาง หรือการอาบน�้ำให้ทารก
เวลากิน เวลานอน จะช่วยให้เด็กปรับตัวกับกิจวัตรประจ�ำ เป็นต้น ระหว่างการพูดคุยกับบิดามารดา กุมารแพทย์
วันของตัวเองได้ดีขึ้น ควรสังเกตการตอบสนองของครอบครัวต่อความต้องการ
แม้ว่าทารกยังต้องได้รับนมบ่อยครั้งแต่ทารก ของเด็กว่ามีความเหมาะสม หรือบิดามารดามีท่าทีที่
วัยนี้นอนกลางคืนได้ยาวขึ้นประมาณ 4-5 ชั่วโมง ดังนั้น มัน่ ใจในการตอบสนองต่อทารกมากน้อยเพียงใด รวมถึง
นมมือ้ ดึกควรลดความถีล่ ง การเล่นกับลูกหรือมีกจิ กรรม ความช่วยเหลือด้านการดูแลทารกจากสมาชิกคนอื่นใน
ร่วมกับลูกระหว่างทารกตื่นในช่วงกลางวันช่วยให้ทารก ครอบครัว
นอนกลางคืนได้นานขึ้น พ่อแม่ส่วนใหญ่พอใจการดูแล
ของกุมารแพทย์ทใี่ ส่ใจในรายละเอียดของทารก เช่น การ การเฝ้าระวังทางพัฒนาการ
เจริญเติบโต การปรับตัว พัฒนาการของทารก เป็นต้น • Gross Motor : ชันคอ 45 องศาในท่านอนคว�ำ่
วัยนี้ทารกส่วนใหญ่ชันคอได้ชั่วขณะ และ primitive • Fine Motor : มองตามวัตถุได้ข้ามผ่าน
reflex เริ่มหายไปก่อนที่การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ กึ่งกลางล�ำตัว
มัดใหญ่จะเริ่มขึ้น ช่วงนี้กุมารแพทย์อาจแนะน�ำให้พ่อ • Personal social : ยิ้มและสบตา

234
พงษ์ศักดิ์ น้อยพยัคฆ์ อิสราภา ชื่นสุวรรณ

• Expressive Language: ส่งเสียงในล�ำคอ เสียงหัวใจ คล�ำชีพจรที่โคนขาหนีบ


เช่น อู อา • กล้ามเนื้อและกระดูก: หลังและกระดูกสัน
• Receptive Language : ตอบสนองต่อเสียง หลัง ข้อสะโพก: Ortolani และ Barlow
ทีไ่ ด้ยนิ โดยการกระพริบตา หรือเงียบเพือ่ ฟังเสียงทีไ่ ด้ยนิ • ระบบประสาท: ความสมดุลของแขนขา
(ดูรายละเอียดในบทที่ 2) ความตึงตัวของกล้ามเนื้อ

สังเกตทารกและปฏิสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่ การคัดกรอง
และทารก ในกรณีที่ไม่ได้คัดกรองเมื่อแรกเกิด
กุมารแพทย์ควรสังเกตพฤติกรรมของทารก • คัดกรองภาวะไทรอยด์ตำ�่ และ phenylke-
ท่าทีพ่อแม่ต่อการเลี้ยงดูทารก เช่น กังวล กลัว โกรธ มี tonuria ตามมาตรฐานของประเทศ
ความสุข เป็นต้น การตอบสนองของพ่อแม่ต่อท่าทีของ • ตรวจการได้ยนิ หากมีเครือ่ งมือและบุคลากร

III
ทารก เช่น เมื่อทารกส่งเสียงอ้อแอ้ มองหน้าจ้องตาพ่อ • คัดกรองวัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แม่ ยิม้ ให้พอ่ แม่ เป็นต้น การตอบสนองต่อความต้องการ ในกลุ่มเสี่ยง เช่น มารดามีประวัติเป็นวัณโรค ตับอักเสบ
ของทารก ปฏิสัมพันธ์ระหว่างพ่อกับแม่ และความขัด HIV หรือ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อื่น
แย้งเกี่ยวกับการดูแลทารก • คั ด กรองความบกพร่ อ งทางสายตาใน
กลุ่มเสี่ยง (ดูรายละเอียดในบทที่ 13)
การตรวจร่างกาย
1. ประเมินการเจริญเติบโตด้วยการชัง่ น�ำ้ หนัก การให้วัคซีน
วัดความยาว วัดเส้นรอบศีรษะ แล้วน�ำมาเปรียบเทียบ • วัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน (DTwP 1)
กับกราฟการเจริญเติบโตมาตรฐาน โดยปรับตามอายุ ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ครั้งที่ 1
ครรภ์ของเด็ก (adjust for gestation age) (ดูรายละเอียด • วัคซีนโปลิโอชนิดหยอด (OPV 1) ครั้งที่ 1
ในบทที่ 4) และประเมินน�ำ้ หนักตามเกณฑ์สว่ นสูง • วัคซีนตับอักเสบบี (HB 2) ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
2. ตรวจร่างกายตามระบบอย่างละเอียดและ ครั้งที่ 2 (ดูรายละเอียดในบทที่ 7)
เน้นการตรวจต่อไปนี้
• ผิวหนัง: ความผิดปกติของผิวหนัง ผื่นคัน ค�ำแนะน�ำและค�ำแนะน�ำล่วงหน้า
จ�้ำเลือดออกผิดปกติ ส่งเสริมความพร้อมของครอบครัว
• ศีรษะ: ขนาดกระหม่อมหน้า/หลัง • แนะน�ำให้พ่อแม่ดูแลสุขภาพกายและจิตใจ
• ตา: ลูกตา หนังตา การกลอกตา แก้วตาปกติ ของตัวเอง
หรือขุ่น ดู red reflexเพื่อทดสอบจอประสาทตา (ดูราย • มีเวลาท�ำกิจกรรมร่วมกันระหว่างคู่สมรส
ละเอียดในเรื่อง แนวทางการคัดกรองทางจักษุในเด็ก • มีสงั คมกับเพือ่ นและสมาชิกคนอืน่ ในครอบครัว
และวัยรุ่น) เดิม
• หัวใจและหลอดเลือด: อัตราการเต้น จังหวะ • ให้พมี่ สี ว่ นร่วมกับการดูแลน้องอย่างเหมาะสม

235
Infancy Period (0-11 เดือน)

กับความสามารถและพัฒนาการ และพ่อแม่ควรหาเวลา • หลีกเลี่ยงการเขย่าตัวเด็กเพราะอาจท�ำให้


ท�ำกิจกรรมร่วมกับพี่อย่างเหมาะสม เกิดอันตรายต่อสมองถาวร
• หากต้องน�ำไปฝากเลีย้ งทีส่ ถานเลีย้ งเด็ก ควร
การดูแลเด็ก เยี่ยมชมและส�ำรวจสถานที่ เพื่อให้ได้สถานเลี้ยงเด็กที่ดี
• เด็กอายุ 2 เดือน เริม่ หลับและตืน่ ได้นานขึน้ และไว้วางใจได้
สามารถโต้ตอบผ่านการยิ้ม ส่งเสียงอ้อแอ้ การพูดคุย
อุ้ม กอด และเล่นกับลูก สามารถส่งเสริมพัฒนาการให้ การให้นม
กับลูกได้ ค�ำแนะน�ำทั่วไป
• อุ้ม กอด เล่น พูดคุย หรือร้องเพลงกล่อม • หากไม่ได้ให้นมแม่ ควรให้ลูกรับประทาน
ลูกวัยนี้ ไม่เป็นสาเหตุให้เด็กติดพ่อแม่มากเกินไป นมที่เติมธาตุเหล็ก
• พูดคุยและเล่นกับลูกเมือ่ ลูกตืน่ ช่วยส่งเสริม • ไม่เริ่มอาหารอื่นนอกจากนมในช่วงนี้
III

ความสัมพันธ์และความผูกพันที่ดีระหว่างเด็กกับ • แนะน�ำวิธีช่วยเด็กเรอลม
พ่อแม่ • ช่วงนี้ลูกยังคงต้องการนมทุก 2-4 ชั่วโมง
• จัดกิจกรรมเตรียมลูกเข้านอนทั้งกลางวัน โดยอาจมี 1มื้อในช่วงกลางคืนที่เด็กนอนยาวได้ถึง 5
และกลางคืน ให้เป็นแบบแผน ชั่วโมง
• หากนอนตอนกลางวันนานเกินไปควร ค�ำแนะน�ำส�ำหรับมารดาที่ให้นมแม่
ปลุกลูกตื่น จะช่วยให้ลูกนอนกลางคืนได้นานขึ้น • ต้องการนมวันละ 8-12 มื้อ
• ให้นอนหงาย เลือกที่นอน หมอน และ • แนะน�ำการเก็บรักษาและการให้นมแม่ต่อ
ผ้าปูที่นอนที่เหมาะสม เพื่อป้องกัน SIDS เนื่อง เมื่อแม่ต้องกลับไปท�ำงาน
• จัดที่นอนให้แยกจากเตียงพ่อแม่ โดยอาจ ค�ำแนะน�ำส�ำหรับมารดาที่ให้นมผสม
อยู่ภายในห้องเดียวกัน • ต้องการนมวันละ 6-8 มื้อ
• ยกข้างเตียงลูกขึ้นเสมอ ช่องว่างระหว่าง • แนะน�ำท่าให้นมที่ถูกต้อง
ซี่กรงข้างเตียงหรือที่นอนเด็กไม่ควรกว้างเกินกว่า • ไม่ทิ้งให้เด็กดูดนมขวดอยู่ตามล�ำพัง เพราะ
6 ซม. อาจส�ำลักนมจนเป็นอันตรายได้
• เมือ่ เด็กตืน่ และรูส้ กึ ตัวดี อาจจับให้นอนคว�ำ่
ภายใต้การดูแลอย่างใกล้ชดิ เพือ่ ส่งเสริมพัฒนาการของ ค�ำแนะน�ำเพื่อความปลอดภัย
กล้ามเนื้อคอ และลดภาวะศีรษะแบน ส่งเสียงพูดคุย (ดูรายละเอียดในบทที่10)
โต้ตอบกับเสียงอ้อแอ้ของลูก • แนะน�ำให้ใช้ที่นั่งส�ำหรับเด็ก ซึ่งได้รับการ
• สังเกตความต้องการและอุปนิสัย เพื่อให้ รับรองมาตรฐาน โดยหันหน้าของเด็กไปด้านหลังตัวรถ
สามารถตอบสนองความต้องการของลูกได้อย่างเหมาะสม และปฏิบตั ติ ามค�ำแนะน�ำของบริษทั ผูผ้ ลิตอย่างเคร่งครัด
• เด็กอาจน�ำมือใส่ปาก ดูดนิ้ว เพื่อกล่อม เมื่อต้องโดยสารรถยนต์
ตัวเอง ถือเป็นพฤติกรรมปกติที่อาจพบได้ • จัดให้เด็กโดยสารรถยนต์ในที่นั่งด้านหลัง

236
พงษ์ศักดิ์ น้อยพยัคฆ์ อิสราภา ชื่นสุวรรณ

• หยุดรถให้สนิททุกครั้ง เมื่อต้องดูแลเด็ก อย่างเหมาะสม สิง่ แวดล้อมรอบตัวดึงดูดความสนใจของ


ระหว่างเดินทาง เด็กได้มาก เด็กสามารถกล่อมตัวเองและควบคุมตัวเอง
• หลีกเลี่ยงพาไปยังสถานที่ซึ่งมีผู้สูบบุหรี่ ได้ดขี นึ้ อย่างไรก็ตามพ่อแม่ควรเข้าใจพืน้ อารมณ์ของลูก
• เมือ่ ต้องเปลีย่ นผ้าอ้อม หรือเสือ้ ผ้าให้กบั ลูก เพื่อสามารถตอบสนองต่อลูกได้เหมาะสม กุมารแพทย์
ควรใช้มือข้างหนึ่งสัมผัสเด็กไว้ตลอดเวลา เพื่อป้องกัน ควรส่งเสริมให้ครอบครัวเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย
การตกจากที่สูง จนถึงอายุ 6 เดือน
• ตรวจสอบอุณหภูมิของน�้ำก่อนอาบน�้ำให้
เด็กทุกครั้ง การประเมินสุขภาพและปัญหาทั่วไป
• ไม่ทิ้งเด็กไว้ในอ่างอาบน�้ำตามล�ำพัง กุมารแพทย์ควรให้ความส�ำคัญกับความกังวล
• หลีกเลี่ยงการใส่สร้อยคอ ของเล่นที่มีเชือก ใจหรือปัญหาของพ่อแม่ รวมถึงการปรับตัวของเด็กใน
หรือสายอุปกรณ์เครื่องใช้ต่างๆ ในบริเวณที่เด็กอยู่ ด้านการรับประทาน การนอน ท่าให้นม การดูแลความ

III
• ระวังของเล่นและข้าวของชิน้ เล็ก ถุงพลาสติก ปลอดภัยในการเดินทาง หรือการอาบน�ำ้ เป็นต้น ระหว่าง
ที่เด็กอาจเข้าถึงและน�ำเข้าปากจนเป็นอันตรายได้ การพูดคุยกับพ่อแม่ กุมารแพทย์ควรสังเกตการตอบ
• ไม่ดื่มเครื่องดื่มร้อนขณะก�ำลังอุ้มเด็ก สนองของพ่อแม่ตอ่ ความต้องการของเด็กว่ามีความเหมาะ
สม และมีท่าทีที่มั่นใจในการตอบสนองต่อเด็กมากน้อย
ก่อนกลับ เพียงใด และสมาชิกคนอื่นในครอบครัว ช่วยเหลือดูแล
• เปิดโอกาสให้ถามสิ่งที่สงสัย และทบทวน เด็กหรือไม่
สรุปเรื่องที่พูดคุยหรือแนวทางแก้ไขปัญหาที่ได้ใน
วันนี้ การเฝ้าระวังทางพัฒนาการ
• ชื่นชมและให้ก�ำลังใจที่พ่อแม่ดูแลลูกอย่าง • Gross Motor : ท่านอนคว�ำ่ อกพ้นพืน้ , พยุง
เหมาะสม ล�ำตัวด้วยแขนท่อนล่าง ท่านั่งชันคอได้ดี พลิกคว�่ำหรือ
• แจ้งวันนัดพบครั้งต่อไปที่อายุ 4 เดือน พลิกหงาย
• Fine Motor : มองตามวัตถุจากด้านหนึ่ง
ของล�ำตัวไปถึงอีกด้านหนึ่ง (180 องศา), ไขว่คว้าของ
อายุ 4 เดือน ใกล้ตัว
ความสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับพ่อแม่เป็นปฏิสมั พันธ์ • Personal social : ตื่นเต้นดีใจอย่างชัดเจน
สองทางทีท่ งั้ สองฝ่ายพึงพอใจ และมีความสุขร่วมกัน พ่อ เมื่อเห็นนมแม่หรือขวดนม
แม่มคี วามสุขกับการโต้ตอบด้วยเสียงอ้อแอ้ รอยยิม้ และ • Expressive Language : ส่งเสียง อู อา
เสียงหัวเราะของเด็ก ขณะทีพ่ ฒ ั นาการกล้ามเนือ้ มัดใหญ่ โต้ตอบเมื่อมีคนคุยด้วย, หัวเราะ
ของเด็กสามารถท�ำงานได้ดีขึ้นจึงเคลื่อนไหวได้มากขึ้น • Receptive Language : หันหาเสียง (ดูราย
เช่น ใช้แขนชันตัวเองขึ้นในท่านอนคว�่ำได้ การคัดกรอง ละเอียดในบทที่ 2)
พัฒนาการในวัยนีช้ ว่ ยให้เด็กได้รบั การส่งเสริมพัฒนาการ

237
Infancy Period (0-11 เดือน)

สังเกตเด็กและปฏิสมั พันธ์ระหว่างพ่อแม่และเด็ก ค�ำแนะน�ำและค�ำแนะน�ำล่วงหน้า


สังเกตการปรับตัว พฤติกรรม และการตอบสนอง ส่งเสริมความพร้อมของครอบครัว
ของพ่อแม่ต่อความต้องการของเด็ก • หาที่ปรึกษาหากมีปัญหาระหว่างพ่อแม่
• แบ่งเวลาท�ำกิจกรรมร่วมกันระหว่างพ่อแม่
การตรวจร่างกาย • มีสังคมกับเพื่อนและญาติเหมือนเดิม
1.ประเมินการเจริญเติบโตด้วยการชั่งน�้ำหนัก • ให้พี่มีส่วนร่วมดูแลน้องอย่างเหมาะสมกับ
วัดความยาว วัดเส้นรอบศีรษะ แล้วน�ำมาเปรียบเทียบ ความสามารถและพัฒนาการ และพ่อแม่ควรหาเวลาท�ำ
กับกราฟการเจริญเติบโตมาตรฐาน โดยปรับตามอายุ กิจกรรมร่วมกับพี่อย่างเหมาะสม
ครรภ์ของเด็ก (adjust for gestation age) (ดูราย • ตอบสนองความต้องการอย่างเหมาะสมกับ
ละเอียดในบทที่ 4) และประเมินน�้ำหนักตามเกณฑ์ สิ่งแวดล้อมและพื้นอารมณ์ของเด็ก
ส่วนสูง • การนวดตัวเด็กเพือ่ ช่วยให้ผอ่ นคลายและส่ง
III

2.ตรวจร่างกายตามระบบอย่างละเอียดและ เสริมความผูกพันที่ดีระหว่างแม่และเด็กได้มากขึ้น
เน้นการตรวจต่อไปนี้ • แนะน�ำการวางแผนเลีย้ งดูทารกเมือ่ มารดา
• ผิวหนัง: ความผิดปกติของผิวหนัง ผื่นคัน ต้องกลับไปท�ำงาน ส่งเสริมให้บิดาร่วมมีบทบาทต่อการ
จ�้ำเลือดออกผิดปกติ ดูแลทารก
• ศีรษะ: ขนาดกระหม่อมหน้า/หลัง รูปทรง
ของศีรษะ การดูแลเด็ก
• ตา: ลูกตา หนังตา การกลอกตา แก้วตาปกติ • ฝึกให้รบั ประทาน และนอนเป็นเวลาส่งเสริม
หรือขุน่ ดู red reflex เพือ่ ทดสอบจอประสาทตา (ดูราย ให้หลับได้นานขึ้นในตอนกลางคืน
ละเอียดในบทที่ 13) • ฝึกให้รู้จักกล่อมตัวเองจนหลับเองได้ ด้วย
• หัวใจและหลอดเลือด: อัตราการเต้น จังหวะ การวางเด็กลงในที่ของตนเองช่วงที่รู้สึกเคลิ้ม โดยอาจ
เสียงหัวใจ คล�ำชีพจรที่โคนขาหนีบ ส่งเสียงพูดคุยกับลูกเบาๆ
• กล้ามเนือ้ และกระดูก: ประเมินความผิดปกติ • การปฏิบัติกิจวัตรประจ�ำวันตรงทุกวันส่ง
ของข้อสะโพก เสริมให้เด็กรู้สึกมั่นคงปลอดภัย
• ระบบประสาท: ความสมดุลของแขนขา • ให้นอนหงาย เลือกที่นอน หมอน และ
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อ ผ้าปูที่นอนที่เหมาะสม เพื่อป้องกัน SIDS
• ยกข้างเตียงขึน้ เสมอ ช่องว่างระหว่างซีก่ รง
การให้วัคซีน ข้างเตียงหรือที่นอนเด็กไม่ควรกว้างเกินกว่า 6 ซม.
• วัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน (DTwP2) • สังเกตการสือ่ สารและสิง่ ทีล่ กู ต้องการสือ่ สาร
ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ครั้งที่ 2 ผ่านภาษาท่าทางและเสียงร้องของลูก
• วัคซีนโปลิโอชนิดหยอด (OPV2) ครั้งที่ 2 • ส่งเสริมกิจกรรมทีต่ อ้ งการความสงบร่วมกัน
(ดูรายละเอียดในบทที่ 10) เช่น อ่านหนังสือ ร้องเพลง เป็นต้น

238
พงษ์ศักดิ์ น้อยพยัคฆ์ อิสราภา ชื่นสุวรรณ

• กิจกรรมทีส่ ง่ เสริมการเคลือ่ นไหว เช่น พลิก การส่งเสริมสุขนิสัยที่ดี


คว�่ำ พลิกหงาย เตะขา เป็นต้น • อาจมีน�้ำลายไหล หงุดหงิด หรือน�ำสิ่งของ
• ส่งเสริมเวลาคุณภาพของพ่อแม่ด้วยการมี เข้าปาก เมื่อฟันก�ำลังขึ้น ยางส�ำหรับกัดที่เย็นอาจช่วย
กิจกรรมร่วมกับทารก ให้เจ็บปวดน้อยลง
• ลูกวัยนี้อาจร้องมากขึ้น ควรหาสาเหตุเมื่อ • หลีกเลีย่ งพฤติกรรมทีส่ ง่ ผลเสียต่อสุขอนามัย
ลูกร้อง เช่น หิว เหนือ่ ย ง่วง กลัว เป็นต้น หากไม่มสี าเหตุ ของช่องปากที่อาจต่อเนื่องต่อไป เช่น ดื่มน�้ำผลไม้ นม
ที่เป็นอันตรายหรือต้องการความช่วยเหลือจากพ่อแม่ หรือน�้ำหวานอื่นจนหลับคาขวด ไม่ปล่อยให้เด็กดูด
พ่อแม่สามารถเพิกเฉยโดยไม่ต้องกังวลใจ ขวดนมตามล�ำพัง ไม่อนุญาตให้ลกู ดูดนมหรือน�ำ้ จากขวด
ไม่เป็นเวลาในช่วงกลางวัน
การให้นมเด็ก • เริ่มอาหารเสริมให้กับลูกครั้งละ 1 ชนิด
ค�ำแนะน�ำทั่วไป สังเกตอาการแพ้อาหารนั้นอย่างน้อย 3-4 วันก่อนเริ่ม

III
• หากไม่ได้ให้นมแม่ ควรให้ลูกรับประทาน อาหารชนิดใหม่
นมที่เติมธาตุเหล็ก •ให้อาหาร 1 มื้อ โดยให้ปริมาณตามความ
• แนะน�ำการประเมินการเจริญเติบโตของลูก ต้องการของเด็ก
วัยนี้ • เนื้อแดงเป็นแหล่งของธาตุเหล็กที่ดี
• หากมีปญั หาการเจริญเติบโตหรือรับประทาน
นมผสม อาจเริ่มอาหารเสริมมื้อแรกที่อายุ 4 เดือน โดย ค�ำแนะน�ำเพื่อความปลอดภัย (ดูรายละเอียดใน
กุมารแพทย์อาจพิจารณาแนะน�ำตามความเหมาะสม บทที่ 10)
• แนะน�ำให้ใช้ที่นั่งส�ำหรับเด็ก ซึ่งได้รับการ
ค�ำแนะน�ำส�ำหรับมารดาที่ให้นมแม่ รับรองมาตรฐาน โดยหันหน้าของเด็กไปด้านหลังตัวรถ
• แนะน�ำการเก็บรักษาและการให้นมแม่ต่อ และปฏิบตั ติ ามค�ำแนะน�ำของบริษทั ผูผ้ ลิตอย่างเคร่งครัด
เนื่อง เมื่อแม่ต้องกลับไปท�ำงาน เมื่อต้องโดยสารรถยนต์
• การดูดนมบ่อยขึ้น บ่งบอกความต้องการ • จัดให้เด็กโดยสารรถยนต์ในที่นั่งด้านหลัง
สารอาหารและพลังงานเพิ่มขึ้นส�ำหรับการเจริญเติบโต • หยุดรถให้สนิททุกครัง้ เมือ่ ต้องดูแลเด็กระหว่าง
ไม่ได้บ่งบอกว่า น�้ำนมแม่ไม่เพียงพอ เดินทาง งดดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ระหว่างขับรถ
• การดูดนมบ่อยของเด็กช่วยให้น�้ำนมสร้าง • ไม่ติดเครื่องยนต์ก่อนที่ผู้โดยสารทุกคนใน
มากขึ้น รถจะคาดเข็มขัดนิรภัยเรียบร้อย
• หลีกเลีย่ งการพาไปยังสถานทีซ่ งึ่ มีผสู้ บู บุหรี่
ค�ำแนะน�ำส�ำหรับมารดาที่ให้นมผสม • การเปลี่ยนผ้าอ้อมหรือเสื้อผ้าให้ ควรใช้
• ให้นมเมื่อหิว โดยสังเกตอาการหิวและอิ่ม มือข้างหนึ่งสัมผัสเด็กไว้ตลอดเวลา เพื่อป้องกันการตก
ของเด็กซึ่งจะมีความชัดเจนมากขึ้น จากที่สูง
• แนะน�ำท่าให้นมที่ถูกต้อง • ไม่ทิ้งเด็กไว้ในอ่างอาบน�้ำตามล�ำพัง

239
Infancy Period (0-11 เดือน)

• ไม่ควรพาเข้าไปในครัว ระหว่างประกอบ เพิม่ ขึน้ รวมทัง้ หยิบจับสิง่ ของชิน้ เล็กได้มากขึน้ ควรระวัง


อาหาร เรื่องการพลัดตกหกล้ม รวมทั้งการหยิบของชิ้นเล็ก
• ตรวจสอบอุณหภูมิของน�้ำก่อนอาบน�้ำให้ ภายในบ้านเข้าปาก
เด็กทุกครั้ง
• ระวังของเล่นและข้าวของชิน้ เล็ก ถุงพลาสติก การประเมินสุขภาพและปัญหาทั่วไป
ที่เด็กอาจเข้าถึงและน�ำเข้าปากจนเป็นอันตรายได้ กุมารแพทย์ควรให้ความส�ำคัญกับการจัดการ
• หลีกเลี่ยงข้าวของเครื่องใช้ที่มีสารตะกั่ว ในครอบครัว เช่น บทบาทของพ่อแม่ ในการฝึกฝนเด็ก
เป็นส่วนประกอบ การกระตุ้นพัฒนาการ และความคาดหวังของพ่อแม่ต่อ
• งดใช้รถหัดเดิน พัฒนาการ การปรับตัวในด้านการกิน การนอน การดูแล
• ไม่ดื่มเครื่องดื่มร้อนขณะก�ำลังอุ้มลูก  สุขภาพช่องปาก และให้ความปลอดภัยแก่เด็ก
III

ก่อนกลับ การเฝ้าระวังทางพัฒนาการ
• เปิดโอกาสให้ถามสิ่งที่สงสัย และทบทวน • Gross Motor : ดึงขึน้ นัง่ ศีรษะไม่หอ้ ย พลิก
สรุปเรื่องที่พูดคุยหรือแนวทางแก้ไขปัญหาที่ได้ในวันนี้ คว�่ำและพลิกหงาย ท่านอนคว�่ำยกอกและท้อง ส่วนบน
• ชื่นชมและให้ก�ำลังใจที่พ่อแม่ดูแลลูกอย่าง พยุงล�ำตัวด้วยฝ่ามือ นัง่ ได้โดยใช้มอื ยันพื้น
เหมาะสม • Fine Motor : หยิบของด้วยฝ่ามือ
• แจ้งวันนัดพบครั้งต่อไปที่อายุ 6 เดือน • Personal social : หัวเราะเมื่อถูกเอาผ้า
  คลุมศีรษะออก เริ่มติดแม่
• Expressive Language: เล่นหรือเลียนเสียง
อายุ 6 เดือน ได้แก่ เลียนเสียงจุ๊ปาก เดาะลิ้น ส่งเสียงที่ใช้อวัยวะใน
เด็กจะสนใจเล่นโต้ตอบกับพ่อแม่ และมักเป็น ปากเพื่อให้เกิดเสียงพยัญชนะ ได้แก่ ปาปา ดาดา
ผู้เริ่มชวนพ่อแม่ให้มาเล่นโต้ตอบกัน จากการที่เด็กและ • Receptive Language : หันหาเสียงเรียกชือ่
พ่อแม่มีการตอบสนองซึ่งกันและกันอย่างเหมาะสม จะ (ดูรายละเอียดในบทที่ 2)
น�ำไปสู่การสร้างความเชื่อใจ (trust) และความผูกพัน
(attachment) ขณะเดียวกัน วัยนี้เริ่มแยกแยะคน สังเกตเด็กและปฏิสมั พันธ์ระหว่างพ่อแม่และ
แปลกหน้าออกจากคนคุ้นเคยได้มากขึ้น แต่ยังกลัวคน เด็ก
แปลกหน้า (stranger anxiety) กุมารแพทย์ควรสังเกตการตอบสนองของพ่อ
ในด้านกล้ามเนื้อเด็กจะนั่งเองได้มั่นคง สนใจ แม่ต่อความต้องการของทารก ความมั่นใจของพ่อแม่ใน
และพยายามที่จะเคลื่อนที่ ถึงแม้จะยังท�ำได้ไม่มากนัก การดูแลเด็ก ปฏิสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่ ท่าทีของพ่อแม่
ใช้มอื หยิบจับสิง่ ต่างๆได้มากขึน้ ด้านภาษาเด็กจะเริม่ ส่ง เช่น ดูมีความสุข เหน็ดเหนื่อย หรือซึมเศร้า เป็นต้น
เสียง และตอบสนองต่อชื่อตัวเองเมื่อถูกเรียก ในช่วง
เวลา 2-3 เดือนถัดจากนี้ เด็กจะเริ่มเคลื่อนไหวได้

240
พงษ์ศักดิ์ น้อยพยัคฆ์ อิสราภา ชื่นสุวรรณ

การตรวจร่างกาย เสี่ยง (ดูรายละเอียดในบทที่ 13)


1.ประเมินการเจริญเติบโตด้วยการชั่งน�้ำหนัก
วัดความยาว วัดเส้นรอบศีรษะ แล้วน�ำมาเปรียบเทียบ การให้วัคซีน
กับกราฟการเจริญเติบโตมาตรฐาน โดยปรับตามอายุ • วัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน (DTwP3)
ครรภ์ของเด็ก (adjust for gestation age) (ดูราย ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ครั้งที่ 3
ละเอียดในบทที่ 4) และประเมินน�้ำหนักตามเกณฑ์ • วัคซีนโปลิโอชนิดหยอด (OPV3) ครั้งที่ 3
ส่วนสูง • วัคซีนตับอักเสบบี (HB3) ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
2. ตรวจร่างกายตามระบบอย่างละเอียดและ ครั้งที่ 3 (ดูรายละเอียดในบทที่ 10)
เน้นการตรวจต่อไปนี้
• ผิวหนัง: ความผิดปกติของผิวหนัง ผื่นคัน ค�ำแนะน�ำและค�ำแนะน�ำล่วงหน้า
จ�้ำเลือดออกผิดปกติ ส่งเสริมความพร้อมของครอบครัว

III
• ศีรษะ: ขนาดกระหม่อมหน้า/หลัง รูปทรง • ในครอบครัวควรมีการแบ่งความรับผิดชอบ
ของศีรษะ ถ้ามีความเครียด หรือกดดันในการเลีย้ งดูเด็กควรปรึกษา
• ตา: ลูกตา หนังตา การกลอกตา แก้วตาปกติ ผู้อื่น เช่น ญาติพี่น้อง เพื่อน เป็นต้น หรือถ้าไม่มีใครที่
หรือขุ่น ดู red reflexเพื่อทดสอบจอประสาทตา ดูว่ามี จะปรึกษาได้ สามารถปรึกษากุมารแพทย์ได้
ตาเขตาเหล่หรือไม่ (ดูรายละเอียดในบทที่ 13) • ถ้าจ�ำเป็นต้องมีคนอืน่ มาท�ำหน้าทีเ่ ลีย้ งดูลกู
• หัวใจและหลอดเลือด: อัตราการเต้น จังหวะ ควรเลือกคนเลี้ยงที่ไว้ใจ สามารถดูแลกิจวัตรประจ�ำวัน
เสียงหัวใจ คล�ำชีพจรที่โคนขาหนีบ ของเด็กได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย
• กล้ามเนือ้ และกระดูก: ประเมินความผิดปกติ • ควรหาโอกาสพบปะกับกลุม่ เพือ่ น หรือกลุม่
ของข้อสะโพก ผู้ปกครองเด็กของคนอื่น เป็นครั้งคราว
• ระบบประสาท: ความสมดุลของแขนขา
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อ การดูแลเด็ก
• เด็กในวัยนี้จะเริ่มเป็นตัวของตัวเองมากขึ้น
การคัดกรอง ชอบใช้สายตาส�ำรวจสิง่ ต่างๆ รอบตัว ส�ำรวจสิ่งของโดย
ในกรณีที่ไม่ได้คัดกรองเมื่อแรกเกิด หยิบเล่น รวมทั้งเอาเข้าปาก ในช่วงที่เด็กตื่นจึงควรเปิด
• คัดกรองภาวะไทรอยด์ตำ�่ และ phenylketonuria โอกาสให้เด็กนั่งเล่น เพื่อให้เด็กได้มีโอกาสมองส�ำรวจ
ตามมาตรฐานของประเทศ หรือเล่น หยิบ จับของเล่นที่มีความปลอดภัยและขนาด
• ตรวจการได้ยนิ หากมีเครือ่ งมือและบุคลากร เหมาะสม
• คัดกรองวัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ • แนะน�ำหนังสือที่เหมาะกับเด็กวัยนี้ได้แก่
ในกลุ่มเสี่ยง เช่น มารดามีประวัติเป็นวัณโรค ตับอักเสบ หนังสือกระดาษแข็งที่มีรูปภาพ
HIV หรือ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อื่น • แนะน�ำให้อา่ นหนังสือให้เด็กฟังโดยเล่าเรือ่ ง
• คัดกรองความบกพร่องทางสายตาในกลุ่ม จากรูปภาพตามที่เด็กสนใจ

241
Infancy Period (0-11 เดือน)

• พ่อแม่ควรเรียนรูพ้ นื้ อารมณ์ (temperament) จะกินอาหารตามวัยได้ อาหารที่เตรียมให้เด็กควรเป็น


ของเด็กซึ่งแตกต่างกันในแต่ละคน และตอบสนองต่อ อาหารทีม่ ธี าตุเหล็กและวิตามินซีเพียงพอเพือ่ ช่วยในการ
เด็กอย่างเหมาะสม ดูดซึมธาตุเหล็ก
• เด็กเริ่มสื่อสารและมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นได้ • การให้อาหารในช่วงแรกควรเริม่ อาหารใหม่
มากขึ้น ควรพูดคุยกับเด็ก ร้องเพลง ชวนเด็กเล่นง่ายๆ ทีละชนิด โดยให้ห่างกันประมาณ 3-4 วันเพื่อดูว่าเด็กมี
เช่น จ๊ะเอ๋ จับปูด�ำ เป็นต้น การแพ้อาหารชนิดนั้นหรือไม่ และถ้าเด็กปฏิเสธไม่ยอม
• กิจวัตรประจ�ำวันที่เป็นเวลาทุกวันส่งเสริม กินอาหารชนิดใด ไม่ควรบังคับให้กนิ แต่ลองให้ซำ�้ ในวัน
ให้เด็กรู้สึกมั่นคงปลอดภัย ถัดไป เนื่องจากเด็กอาจต้องได้ลอง 10-15 ครั้งกว่าที่จะ
• เด็กวัยนี้เริ่มนอนได้นานขึ้นต่อเนื่อง 6-8 ยอมรับอาหารใหม่ได้
ชั่วโมง ในเวลากลางคืน ควรจัดเวลาและเตรียมลูกเข้า • ก�ำหนดมื้ออาหารที่สม�่ำเสมอให้กับลูก โดย
นอนให้สม�่ำเสมอ รวมทั้งให้วางเด็กลงบนที่นอนของตัว เตรียมอาหารที่สะอาด มีคุณค่า เหมาะกับวัย ส่วนเด็ก
III

เองขณะทีก่ ำ� ลังเคลิม้ ใกล้หลับ เพือ่ ให้เด็กเรียนรูท้ จี่ ะหลับ จะก�ำหนดปริมาณอาหารทีต่ อ้ งการรับประทานในแต่ละ


ได้ด้วยตนเอง ซึ่งจะช่วยให้สามารถหลับเองต่อได้ง่าย มื้อ ไม่ควรบังคับให้กินจนหมด
เมื่อตื่นขึ้นในตอนกลางคืน • ไม่ควรให้เด็กดืม่ น�ำ้ ผลไม้เกิน 2-4 ออนซ์ตอ่
• ให้นอนหงาย เลือกที่นอน หมอน และ วัน และไม่ควรให้เด็กดื่มน�้ำหวานหรือน�้ำอัดลม
ผ้าปูที่นอนที่เหมาะสม เพื่อป้องกัน SIDS และยกข้าง • ควรให้ลกู กินอาหารโดยนัง่ หลังตรงบนเก้าอี้
เตียงลูกขึ้นเสมอเมื่อลูกอยู่บนเตียง ส�ำหรับเด็ก และให้มอื ของเด็กเป็นอิสระ ในระหว่าง ป้อน
• เด็กจะมีชว่ งทีร่ อ้ งกวนโยเย หงุดหงิดได้บอ่ ย อาหารควรสังเกตท่าทีการแสดงออกของลูก
ซึ่งหากมั่นใจว่า เด็กไม่ได้ร้องเพราะหิว ง่วง เปียก หรือ • ให้เด็กฝึกดื่มนมและน�้ำจากแก้วใบเล็กเป็น
ได้รับอันตราย ก็อาจตอบสนองหรือเล่นกับเด็กเป็นช่วง ครั้งคราว
เวลาสั้นๆ หรือสามารถปล่อยเด็กไว้ในที่ปลอดภัยและ ค�ำแนะน�ำส�ำหรับมารดาที่ให้นมแม่
เพิกเฉยโดยไม่ต้องกังวลใจ • สามารถให้นมแม่ตอ่ ไปได้ โดยแนะน�ำว่าควร
ให้อย่างน้อยจนถึงอายุ 1 ปีหรือมากกว่านั้น
การให้นมและอาหารตามวัยส�ำหรับเด็ก ค�ำแนะน�ำส�ำหรับมารดาที่ให้นมผสม
ค�ำแนะน�ำทั่วไป • ให้นมเมื่อลูกหิว โดยเด็กวัยนี้จะดื่มนม 24-
• แนะน�ำการประเมินการเจริญเติบโต และชี้ 32 ออนซ์ แบ่งเป็นวันละ 5-6 มื้อ
ให้เห็นว่าในช่วงต่อจากนี้อัตราการเจริญเติบโตของเด็ก • แนะน�ำให้อุ้มเด็กขณะให้นม
จะเริ่มลดลงจากช่วง 6 เดือนแรก • ให้กินนมที่เสริมธาตุเหล็กจนถึงอายุ 1 ปี
• ให้อาหารเสริมตามวัย โดยดูจากความพร้อม
ของเด็ก ซึง่ ถ้าเด็กไม่เอาลิน้ ดุนช้อนทีเ่ ข้าปาก แต่สามารถ การส่งเสริมสุขนิสัยที่ดี
ใช้ลิ้นดันอาหารจากด้านหน้าเข้าไปด้านหลังช่องปาก เด็กวัยนีจ้ ะเริม่ มีฟนั ขึน้ ซึง่ ควรท�ำความสะอาด
และอ้าปากเมื่อเห็นช้อน แสดงว่าเด็กมีความพร้อมที่ ฟันโดยการให้ผ้าสะอาดเช็ด หรือใช้แปรงส�ำหรับเด็ก

242
พงษ์ศักดิ์ น้อยพยัคฆ์ อิสราภา ชื่นสุวรรณ

แปรงด้วยน�้ำเปล่า (ดูรายละเอียดในบทที่ 8) ก่อนกลับ


• พิจารณาให้ฟลูโอไรด์เสริมเพือ่ ป้องกันฟันผุ • เปิดโอกาสให้ถามสิ่งที่สงสัย และทบทวน
โดยขึ้นกับปริมาณฟลูโอไรด์ในน�้ำดื่มและการได้รับ สรุปเรื่องที่พูดคุยหรือแนวทางแก้ไขปัญหาที่ได้ใน
ฟลูโอไรด์จากแหล่งอื่น วันนี้
• หลีกเลีย่ งพฤติกรรมทีเ่ ป็นผลเสียต่อสุขอนามัย • ชืน่ ชมและให้กำ� ลังใจทีพ่ อ่ แม่ดแู ลลูกอย่าง
ของช่องปากซึ่งอาจคงอยู่ต่อไป เช่น ดื่มน�้ำผลไม้ นม เหมาะสม
หรือน�้ำหวานอื่นจนหลับคาขวด • แจ้งวันนัดพบครั้งต่อไป ที่อายุ 9 เดือน

ค�ำแนะน�ำเพื่อความปลอดภัย
(ดูรายละเอียดในบทที่ 10 ) อายุ 9 เดือน
• เมื่อต้องโดยสารรถยนต์แนะน�ำให้ใช้ที่นั่ง เด็กช่วงวัยนี้จะเริ่มเป็นอิสระจากผู้เลี้ยงดู

III
ส�ำหรับเด็ก ชนิดที่หันหน้าของเด็กไปด้านหลังตัวรถ มากขึ้ น โดยเด็ ก เริ่ ม เคลื่ อ นไหวไปยั ง จุ ด หมายได้
จนถึงอายุ 1 ปี ด้วยตนเอง และแสดงความต้องการของตัวเองได้ชดั เจน
• จัดให้เด็กโดยสารรถยนต์ในที่นั่งด้านหลัง เช่น ชี้บอก แสดงท่าทีปฏิเสธสิ่งที่ไม่ต้องการเป็นต้น
• หยุดรถให้สนิททุกครั้ง เมื่อต้องดูแลเด็ก เด็กจะเริม่ เข้าใจเรือ่ งการคงอยูข่ องวัตถุ (object per-
ระหว่างเดินทาง งดดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ระหว่าง manence) เช่น รับรู้ว่าแม่ยังอยู่แม้ว่าจะมองไม่เห็นว่า
ขับรถ แม่อยู่ตรงหน้า เป็นต้น แต่ยังไม่มั่นใจว่าของที่หายไป
• ไม่ติดเครื่องยนต์ก่อนที่ผู้โดยสารทุกคนใน จากสายตาจะกลับมาอีก ดังนัน้ จึงอาจร้องตาม หรือร้อง
รถจะคาดเข็มขัดนิรภัยเรียบร้อย เมื่อไม่เห็นแม่ ช่วงนี้พ่อแม่ควรเข้าใจความต้องการเป็น
• ไม่ทิ้งเด็กไว้ในอ่างอาบน�้ำตามล�ำพัง อิสระของเด็ก เปิดโอกาสในเด็กได้ลองท�ำ เลือกห้าม
• ไม่ควรพาลูกเข้าไปในครัวระหว่างประกอบ เฉพาะสิ่งที่จ�ำเป็น ในขณะที่ดูแลเรื่องความปลอดภัย
อาหาร ถ้าต้องให้เด็กอยู่ตามล�ำพังควรให้เด็กอยู่ใน อย่างเหมาะสม
บริเวณที่ปลอดภัย เช่น เตียง คอกกั้นส�ำหรับเด็ก
เป็นต้น การประเมินสุขภาพและปัญหาทั่วไป
• ควรมีทกี่ นั้ บริเวณบันไดเพือ่ ป้องกันไม่ให้เด็ก กุมารแพทย์ควรให้ความส�ำคัญกับการปรับตัว
คลานขึ้นหรือลงตรวจสอบอุณหภูมิของน�้ำก่อนอาบน�้ำ ของครอบครัว ความคาดหวังของพ่อแม่ ความสม�ำ่ เสมอ
ให้เด็กทุกครั้ง และวิธกี ารปรับพฤติกรรม ทัศนคติและความเชือ่ ในการ
• ระวังของเล่นและข้าวของชิน้ เล็ก ถุงพลาสติก เลี้ยงดูเด็ก รวมถึงความสามารถปรับตัวของทารกด้าน
ที่เด็กอาจเข้าถึงและน�ำเข้าปากจนเป็นอันตรายได้ การรับประทาน การนอน การแสดงออกที่ต้องการเป็น
• ไม่ควรใช้รถหัดเดิน อิสระของเด็กและการดูแลทารกให้ได้รบั ความปลอดภัย
ในบ้านและการเดินทาง

243
Infancy Period (0-11 เดือน)

การเฝ้าระวังทางพัฒนาการ • ตา: ลูกตา หนังตา การกลอกตา แก้วตาปกติ


• Gross Motor : ลุกนั่งจากท่านอน, คลาน. หรือขุ่น ดู red reflexเพื่อทดสอบจอประสาทตา ดูว่ามี
เหนี่ยวตัวขึ้นยืน, เกาะยืน ตาเขตาเหล่หรือไม่ (ดูรายละเอียดในบทที่ 13)
• Fine Motor : ใช้นิ้วชี้และนิ้วหัวแม่มือหยิบ • หัวใจและหลอดเลือด: อัตราการเต้น จังหวะ
ของ เสียงหัวใจ คล�ำชีพจรที่โคนขาหนีบ
• Personal social : เล่นจ๊ะเอ๋ โบกมือบ๊าย-บาย • กล้ามเนือ้ และกระดูก: ประเมินความผิดปกติ
• Expressive Language: เลียนเสียงพูดคุย, ของข้อสะโพก
เรียก “พ่อ” และ “แม่” แต่ยังไม่เฉพาะเจาะจง • ระบบประสาท: ความสมดุลของแขนขา
• Receptive Language : เริ่มท�ำตามค�ำสั่ง ความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
ง่ายๆ ได้ เช่น โบกมือบ๊ายบาย, หยุดการกระท�ำเมือ่ ได้ยนิ
ค�ำว่า “ไม่” (ดูรายละเอียดในบทที่ 2) การคัดกรอง
III

ในกรณีที่ไม่ได้คัดกรองเมื่อแรกเกิด
สังเกตเด็กและปฏิสมั พันธ์ระหว่างพ่อแม่และ • คัดกรองภาวะไทรอยด์ตำ�่ และ phenylketonuria
เด็ก ตามมาตรฐานของประเทศ
กุมารแพทย์ควรสังเกตการตอบสนองของพ่อ • ตรวจการได้ยนิ หากมีเครือ่ งมือและบุคลากร
แม่ต่อความต้องการของเด็ก ความมั่นใจของพ่อแม่ • คัดกรองวัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ปฏิสมั พันธ์ระหว่างพ่อแม่ ท่าทีของพ่อแม่ เช่น ดูมคี วาม ในกลุ่มเสี่ยง เช่น มารดามีประวัติเป็นวัณโรค ตับ
สุข เหน็ดเหนื่อย หรือซึมเศร้า เป็นต้น อักเสบ HIV หรือ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อื่น
• คัดกรองความบกพร่องทางสายตาในกลุ่ม
การตรวจร่างกาย เสี่ยง (ดูรายละเอียดในบทที่ 13)
1.ประเมินการเจริญเติบโตด้วยการชั่งน�้ำหนัก
วัดความยาว วัดเส้นรอบศีรษะ แล้วน�ำมาเปรียบเทียบ การให้วัคซีน
กับกราฟการเจริญเติบโตมาตรฐาน โดยปรับตามอายุ • วัคซีนหัด-หัดเยอรมัน-คางทูม (MMR 1) ฉีด
ครรภ์ของเด็ก (adjust for gestation age) (ดูราย ใต้ผิวหนัง เข็มที่ 1 (ดูรายละเอียดในบทที่ 7)
ละเอียดในบทที่ 4) และประเมินน�้ำหนักตามเกณฑ์
ส่วนสูง ค�ำแนะน�ำและค�ำแนะน�ำล่วงหน้า
2. ตรวจร่างกายตามระบบอย่างละเอียดและ ส่งเสริมความพร้อมของครอบครัว
เน้นการตรวจต่อไปนี้ • ครอบครัวควรแบ่งความรับผิดชอบในการ
• ผิวหนัง: ความผิดปกติของผิวหนัง ผื่นคัน ดูแลลูก รวมถึงภาระอื่นในบ้าน หากมีความเครียดหรือ
จ�้ำเลือดออกผิดปกติ กดดันจากการเลีย้ งดูควรปรึกษากับผูอ้ นื่ เช่น ญาติพนี่ อ้ ง
• ศีรษะ: ขนาดกระหม่อมหน้า/หลัง รูปทรง เพื่อน เป็นต้นหรือหากไม่มีผู้ที่จะปรึกษาได้ อาจปรึกษา
ของศีรษะ กุมารแพทย์หรือบุคลากรทางการแพทย์

244
พงษ์ศักดิ์ น้อยพยัคฆ์ อิสราภา ชื่นสุวรรณ

• หากจ�ำเป็นต้องมีผอู้ นื่ มาท�ำหน้าทีเ่ ลีย้ งดูลกู • เด็กวัยนีจ้ ะมีชว่ งทีร่ อ้ งกวนโยเย หงุดหงิดได้
ควรเลือกผู้เลี้ยงดูที่ไว้ใจได้ และสามารถดูแลกิจวัตร บ่อย ซึง่ ถ้าตรวจสอบแล้วพบว่า ขณะทีร่ อ้ งเด็กไม่หวิ ง่วง
ประจ�ำวันของลูกได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย เปียก หรือได้รบั อันตราย ก็อาจจะเล่นกับเด็กสักครูห่ รือ
• ถ้าเลีย้ งดูลกู เองทีบ่ า้ น ควรหาโอกาสพบปะ ปล่อยเด็กไว้ในบริเวณทีป่ ลอดภัยและเพิกเฉยโดยไม่ตอ้ ง
กับกลุม่ เพือ่ น หรือกลุม่ ผูป้ กครองเด็กคนอืน่ เป็นครัง้ คราว กังวลใจ
การดูแลเด็ก
• เด็กในวัยนี้จะเริ่มเป็นตัวของตัวเองมากขึ้น การให้นมและอาหารตามวัยส�ำหรับเด็ก
ชอบใช้สายตาส�ำรวจสิ่งต่างๆ รอบตัว ส�ำรวจสิ่งของโดย ค�ำแนะน�ำทั่วไป
หยิบเล่น รวมทั้งน�ำเข้าปาก ในช่วงที่เด็กตื่นจึงควรเปิด • แนะน�ำการประเมินการเจริญเติบโตของเด็ก
โอกาสให้เด็กนั่งเล่น เพื่อให้เด็กได้มีโอกาสมองส�ำรวจ วัยนี้ และชี้ให้เห็นว่าช่วงต่อจากนี้อัตราการเจริญเติบโต
และเล่นหยิบจับของเล่นหรือสิ่งของรอบตัวที่มีความ ของเด็กจะเริ่มลดลงจากช่วง 6 เดือนแรก

III
ปลอดภัยและขนาดเหมาะสม • เริ่มอาหารเสริม โดยดูจากความพร้อม
• แนะน�ำหนังสือทีเ่ หมาะกับเด็กวัยนีค้ อื หนังสือ ของเด็ก ซึ่งหากเด็กไม่ใช้ลิ้นดุนช้อนที่ถูกน�ำเข้าปาก
กระดาษแข็งที่มีรูปภาพ และแนะน�ำการอ่านหนังสือให้ สามารถใช้ลิ้นดันอาหารจากด้านหน้าเข้าไปด้านหลัง
เด็กฟังด้วยการเล่าเรื่องจากรูปภาพตามที่เด็กสนใจ ช่องปาก และอ้าปากเมื่อเห็นช้อน แสดงว่า เด็กพร้อมที่
• พ่อแม่ควรรูจ้ กั ลักษณะพืน้ อารมณ์ (tem- จะกินอาหารตามวัยได้ และควรเป็นอาหารทีม่ ธี าตุเหล็ก
perament) ของเด็กแต่ละคน ซึ่งแตกต่างกัน และ และมีวิตามินซีเพียงพอเพื่อช่วยในการดูดซึมของ
ตอบสนองต่อเด็กอย่างเหมาะสมตามลักษณะของเด็ก ธาตุเหล็ก
• เด็กเริ่มสื่อสารและมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นได้ • ให้อาหารเสริมในช่วงแรกควรเริม่ อาหารใหม่
มากขึ้น ควรพูดคุยกับเด็ก ร้องเพลง ชวนเด็กเล่นง่ายๆ แต่ละชนิดห่างกันอย่างน้อยประมาณ 3-4 วันเพื่อดูว่า
เช่น จ๊ะเอ๋ จับปูด�ำ เป็นต้น เด็กมีการแพ้อาหารชนิดนั้นหรือไม่ และหากเด็ก
• ท�ำกิจวัตรประจ�ำวันให้เป็นเวลาเพื่อให้เด็ก ปฏิเสธอาหารชนิดใดชนิดหนึ่ง ไม่ควรบังคับให้กิน แต่
รู้สึกมั่นคงปลอดภัย อาจลองให้ซำ�้ ในวันถัดไป โดยอาจต้องให้เด็กลองซ�ำ้ นาน
• เด็กจะนอนได้ยาวขึ้นในเวลากลางคืน นาน ถึง 10-15 ครั้ง
6-8 ชั่วโมง ควรจัดเวลานอน และเตรียมลูกเข้านอนให้ • เตรียมอาหารทีส่ ะอาด มีคณ ุ ค่า และเหมาะ
สม�่ำเสมอ รวมทั้งให้วางเด็กลงบนเตียงหรือที่นอนของ กับวัยให้กับลูกเป็นมื้อเป็นคราวอย่างสม�่ำเสมอ โดยเด็ก
ตัวเองขณะที่เคลิ้มใกล้หลับ เพื่อให้สามารถหลับเองได้ จะเป็นผูก้ ำ� หนดปริมาณอาหารแต่ละมือ้ ตามความต้องการ
ซึ่งจะท�ำให้เด็กสามารถหลับเองต่อได้งา่ ยขึน้ เมือ่ ตืน่ ขึน้ มา ของตนเอง ไม่ควรบังคับให้ลูกรับประทานตามปริมาณ
ในตอนกลางคืน ที่พ่อแม่ต้องการ
• ให้นอนหงาย เลือกที่นอน หมอน และ • ไม่ควรให้เด็กดืม่ น�ำ้ ผลไม้เกิน 2-4 ออนซ์ตอ่
ผ้าปูที่นอนที่เหมาะสม เพื่อป้องกันภาวะ SIDS และยก วัน และไม่ควรให้เด็กดื่มน�้ำหวานหรือน�้ำอัดลม
ข้างเตียงลูกขึ้นเสมอเมื่อลูกอยู่บนเตียง • ให้ลูกกินอาหารโดยนั่งหลังตรงบนเก้าอี้

245
Infancy Period (0-11 เดือน)

ส�ำหรับเด็ก และให้มือของเด็กเป็นอิสระ ระหว่างป้อน • หยุดรถให้สนิททุกครั้ง เมื่อต้องดูแลเด็ก


อาหารควรสังเกตท่าทีการตอบสนองต่ออาหารของลูก ระหว่างเดินทาง งดดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ระหว่าง
• ลองได้เด็กได้เริ่มดื่มนมและน�้ำจากแก้วใบ ขับรถ
เล็กเป็นครั้งคราว • ไม่ติดเครื่องยนต์ก่อนที่ผู้โดยสารทุกคนใน
ค�ำแนะน�ำส�ำหรับมารดาที่ให้นมแม่ รถจะคาดเข็มขัดนิรภัยเรียบร้อย
• สามารถให้นมแม่ตอ่ ไปได้ โดยแนะน�ำว่าควร • ไม่ทิ้งเด็กไว้ในอ่างอาบน�้ำตามล�ำพัง
ให้อย่างน้อยจนถึงอายุ 1 ปีหรือนานกว่านั้น • ไม่ควรพาเด็กเข้าไปในครัวระหว่างประกอบ
ค�ำแนะน�ำส�ำหรับมารดาที่ให้นมผสม อาหาร ถ้าต้องให้เด็กอยูต่ ามล�ำพังควรให้เด็กอยูใ่ นบริเวณ
• ให้นมเมื่อเด็กหิว โดยให้ 24-32 ออนซ์ แบ่ง ที่ปลอดภัย เช่น เตียง คอกกั้นส�ำหรับเด็ก เป็นต้น
เป็นวันละ 5-6 มื้อ • ควรท�ำที่กั้นบริเวณบันไดเพื่อป้องกันไม่ให้
• แนะน�ำให้พ่อแม่อุ้มเด็กขณะให้นม เด็กคลานขึ้นลง
III

• เด็กควรดื่มนมที่เสริมธาตุเหล็กจนถึงอายุ • ตรวจสอบอุณหภูมิของน�้ำก่อนอาบน�้ำให้
1 ปี เด็กทุกครั้ง
• ระวังของเล่นและข้าวของชิน้ เล็ก ถุงพลาสติก
การส่งเสริมสุขนิสัยที่ดี ที่เด็กอาจเข้าถึงและน�ำเข้าปากจนเป็นอันตรายได้
• เด็กวัยนี้จะเริ่มมีฟันขึ้น จึงควรท�ำความ • ไม่ควรใช้รถหัดเดิน
สะอาดฟันด้วยการให้ผา้ สะอาดเช็ด หรือใช้แปรงส�ำหรับ
เด็กแปรงด้วยน�้ำเปล่า ก่อนกลับ
• พิจารณาให้ฟลูโอไรด์เสริมเพือ่ ป้องกันฟันผุ • เปิดโอกาสให้ถามสิ่งที่สงสัย และทบทวน
โดยปริมาณฟลูโอไรด์เสริมขึน้ กับปริมาณฟลูโอไรด์ในน�ำ้ สรุปเรื่องที่พูดคุยหรือแนวทางแก้ไขปัญหาที่ได้ในวันนี้
ดื่มและการได้รับฟลูโอไรด์จากแหล่งอื่น จึงควรปรึกษา • ชืน่ ชมและให้กำ� ลังใจทีพ่ อ่ แม่ดแู ลลูกอย่าง
กุมารแพทย์หรือทันตแพทย์(ดูรายละเอียดในบทที่ 8) เหมาะสม
• หลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่อาจส่งผลเสียต่อสุข • แจ้งวันนัดพบครั้งต่อไปที่อายุ 12 เดือน
อนามัยของช่องปากในระยะยาว เช่น ดื่มน�้ำผลไม้ นม
หรือน�้ำหวานอื่นจนหลับคาขวด

ค�ำแนะน�ำเพื่อความปลอดภัย
(ดูรายละเอียดในบทที่ 10)
• เมื่อต้องโดยสารรถยนต์แนะน�ำให้ใช้ที่นั่ง
ส�ำหรับเด็ก ชนิดทีห่ นั หน้าของเด็กไปด้านหลังตัวรถ จนถึง
อายุ1 ปี
• จัดให้เด็กโดยสารรถยนต์ในที่นั่งด้านหลัง

246
วีระศักดิ์ ชลไชยะ นัยนา ณีศะนันท์

บทที่ 22
Early childhood (1-4 ปี)
วีระศักดิ์ ชลไชยะ
นัยนา ณีศะนันท์

III
12 เดือน การประเมินสุขภาพและปัญหาทั่วไป
เด็กวัยนีม้ กั เหนีย่ วตัวจนลุกขึน้ ยืนเอง เกาะเดิน กุมารแพทย์ควรทักทายและสอบถามปัญหา
และเริ่มเดินได้ หยิบของขนาดเล็ก เช่น เม็ดยา ด้วย นิ้ว หรือความกังวล ความเจ็บป่วย การเปลี่ยนแปลงภายใน
หัวแม่มอื และนิว้ ชีไ้ ด้ หยิบของใส่กล่องและชีส้ งิ่ ทีต่ อ้ งการ ครอบครัว บทบาทการท�ำงานและความรับผิดชอบของ
ได้ ท�ำตามค�ำสั่งที่มีท่าทางประกอบ หรือ เลียนแบบ พ่อแม่ ความตึงเครียดในบ้าน รวมถึงสอบถามอาการ
ท่าทางผู้ใหญ่ เช่น สวัสดี หรือโบกมือบ๊ายบาย และพูด ตามระบบ การเจริญเติบโต พัฒนาการและพฤติกรรม
ค�ำที่มีความหมาย นอกจากพ่อแม่ได้อย่างน้อย 1 ค�ำ ของเด็ก กิจวัตรประจ�ำวันของเด็ก เช่น การกินนม การ
เริม่ เป็นตัวของตัวเอง อยากท�ำอะไรด้วยตนเอง นอน เป็นต้น
ต้องการเป็นอิสระ แยกจากพ่อแม่มากขึ้น ควรชี้แนะ
ให้พ่อแม่ได้เห็นความส�ำคัญของพัฒนาการดังกล่าว การเฝ้าระวังทางพัฒนาการ
โดยซักถามถึงการใช้ชีวิตประจ�ำวัน เช่น หยิบของ • Gross Motor : ยืนได้เองชั่วครู่หรือตั้งไข่,
ดื่มน�้ำ กินอาหาร เป็นต้น โดยเน้นให้เด็กช่วยตนเองให้ จูงเดิน
มากที่สุด • Fine Motor : ปล่อยของเมื่อขอ
การเล่นของเด็ก สะท้อนถึงความสามารถ • Personal social : เลียนแบบท่าทาง
ทางการเรียนรูแ้ ละสติปญ ั ญา เด็กจะเล่นจนเข้าใจได้มาก • Expressive Language: ส่งเสียงทีเ่ ป็นเสียง
ขึ้นว่า ของเล่นนั้นสามารถเล่นอย่างไร วัยนี้จึงเป็นวัย ริมฝีปากแบบมีเสียงสูงเสียงต�่ำ, เริ่มเรียกชื่อคนใกล้ชิด
แห่งการเรียนรู้ที่ชอบส�ำรวจสิ่งต่างๆ รอบตัวอยู่เสมอ ที่คุ้นเคย เรียก “พ่อ” และ “แม่” แบบเฉพาะเจาะจง
ควรคุยกับพ่อแม่เกี่ยวกับการป้องกันอุบัติเหตุ ได้
จากการเคลื่อนไหวของเด็ก ตั้งกฎกติกาว่า สิ่งใดท�ำได้ Receptive Language : เริม่ เข้าใจความหมาย
และสิ่งใดท�ำไม่ได้ให้ชัดเจน ของค�ำพยางค์เดียว, ตอบสนองต่อค�ำถาม

247
Early childhood (1-4 ปี)

ง่ายๆ ได้ เช่น “แม่อยูไ่ หน” “ลูกบอลอยูไ่ หน” ครรภ์เด็ก (adjust for gesatational age) (ดูรายละเอียด
เด็กอาจมองไปในทิศทางทีข่ องสิง่ นัน้ อยู่ (ดูรายละเอียด ในบทความที่ 4)
ในบทที่ 2) 2. ตรวจร่างกายตามระบบอย่างละเอียดและ
เน้นการตรวจต่อไปนี้
สังเกตเด็กและปฏิสมั พันธ์ระหว่างพ่อแม่และเด็ก • ศีรษะ: คล�ำรูปศีรษะและขนาดของกระหม่อม
ควรสังเกตวิธีการที่พ่อแม่เล่นและตอบสนอง • ตา: เพื่อดูการสะท้อนแสงจากจอประสาท
ต่อความต้องการของเด็กและวิธที เี่ ด็กมองกลับมายังพ่อ ตา (red reflex) และตรวจดูภาวะตาเหล่ (strabismus)
แม่หรือน�ำสิ่งของมาอวดให้พ่อแม่ ดูว่ามีพฤติกรรม (ดูรายละเอียดในบทที่ 13)
ดังกล่าวหรือไม่ วิธกี ารตอบสนองของพ่อแม่เมือ่ ได้รบั ค�ำ • ฟัน: สังเกตฟันของเด็กว่ามีสี หรือคราบผิด
ชมจากแพทย์เกี่ยวกับตนเองหรือตัวเด็ก พ่อแม่มีแนว ปกติ และฟันผุหรือไม่
โน้มที่จะมองเด็กด้วยความรู้สึกเชิงบวกหรือไม่ เด็กเล่น • ระบบประสาท: ตรวจหาความผิดปกติทาง
III

กับพี่น้องอย่างไร เป็นต้น ระบบประสาท เช่น เด็กที่ใช้เฉพาะแขนหรือขาข้างใด


กุมารแพทย์ควรสร้างความคุน้ เคยกับเด็กด้วย ข้างหนึ่งอาจบ่งถึงภาวะที่เด็กมีการอ่อนแรงของกล้าม
การพูดคุยกับพ่อแม่ ระหว่างเด็กนั่งเล่นของเล่นบนตัก เนือ้ ด้านตรงข้าม (contralateral weakness) ซึง่ มักพบ
พ่อแม่ สอบถามเกีย่ วกับพืน้ อารมณ์และสังเกตพฤติกรรม ในเด็กสมองพิการแบบครึ่งซีก (hemiplegic cerebral
ของเด็ก การกลัวคนแปลก หน้า สังเกตอารมณ์และ palsy) เป็นต้น
พฤติกรรมของเด็กขณะที่เด็กถูกตรวจร่างกาย • อวัยวะเพศ: ในเด็กผู้ชาย ควรตรวจอัณฑะ
หลีกเลี่ยงการจ้องหน้าเด็กโดยตรง แต่ค่อยๆ ว่าเลื่อนลงในถุงอัณฑะแล้วหรือไม่ ในเด็กผู้หญิงควร
เข้าหาเด็กทีละน้อย โดยเบี่ยงเบนความสนใจของเด็ก ตรวจว่ามีช่องคลอดไม่เปิดในเด็ก (labial adhesion)
ด้วยการเล่นเสียง หรือให้เด็กดูสิ่งต่างๆ ในห้องตรวจ หรือไม่
กุมารแพทย์ควรปรับมุมมองของพ่อแม่ในเรื่อง การกลัว
คนแปลกหน้าของเด็กว่า เป็นสัญญาณที่บ่งบอกถึง การคัดกรอง
พัฒนาการด้านอารมณ์และสติปญ ั ญาทีเ่ หมาะสมตามวัย • เฝ้าระวังและติดตามพัฒนาการ โดยการซัก
ขณะทีเ่ ด็กซึง่ มีสติปญั ญาล่าช้ามักกลัวคนแปลกหน้าล่าช้า ถามพ่อแม่ และสังเกตพฤติกรรมของเด็กในห้องตรวจ
ด้วย นอกจากนี้ ควรสอบถามและสังเกตวิธีการจัดการ ตามที่ระบุไว้ข้างต้น
กับปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น ตลอดจนแนวคิดเกี่ยวกับการ • ตรวจระดับฮีโมโกลบิน/ฮีมาโตคริต เพื่อคัด
เลี้ยงดูเด็ก ซึ่งอาจมีความขัดแย้งกันระหว่างพ่อแม่ กรองภาวะโลหิตจาง โดยเฉพาะจากการขาดธาตุเหล็ก
(ดูรายละเอียดในบทที่ 14)
การตรวจร่างกาย • ตรวจประเมินสุขภาพช่องปากและฟัน (ดู
1. ประเมินการเจริญเติบโตด้วยการชัง่ น�ำ้ หนัก รายละเอียดในบทที่ 8)
วัดความยาว และเส้นรอบศีรษะ แล้วน�ำมาเปรียบเทียบ • ตรวจประเมินการมองเห็น (ดูรายละเอียด
กับกราฟการเจริญเติบโตมาตรฐานโดยปรับตามอายุ ในบทที่ 13)

248
วีระศักดิ์ ชลไชยะ นัยนา ณีศะนันท์

• ตรวจประเมินการได้ยนิ โดยการซักถามและ เข้าใจเด็กมากขึ้น


ใช้เทคนิคการตรวจอย่างง่าย เพือ่ ตรวจคัดกรองการได้ยนิ • ฝึกระเบียบวินยั (discipline) อย่างเหมาะสม
เบื้องต้น (hearing screening) โดยผู้ตรวจถือกระดิ่ง เช่น ชมเชยเด็ก เมือ่ ท�ำพฤติกรรมดี เบีย่ งเบนเด็กให้สนใจ
และก้อนไม้ทใี่ ส่ไว้ในถ้วยพลาสติก หรือของเล่นทีบ่ บี แล้ว อย่างอืน่ แทนเมือ่ ไม่ตอ้ งการให้เด็กเล่น หรือท�ำพฤติกรรม
มีเสียง ในมือแต่ละข้าง โดยให้อยู่นอกลานสายตาของ ที่ไม่เหมาะสมที่ก�ำลังจะเกิดขึ้น และใช้วิธี time-out
เด็กไปทางด้านข้างและด้านบนประมาณ 90 องศา จาก โดยจัดให้เด็กอยู่ในมุมสงบ ซึ่งไม่ควรมีสิ่งที่เด็กต้องการ
ศีรษะของเด็ก เมือ่ เด็กสนใจมองสิง่ ของทีด่ า้ นใดด้านหนึง่ น่ากลัว หรือเป็นอันตรายแก่เด็ก ประมาณ 1-2 นาที
ผู้ตรวจควรเขย่าหรือบีบของเล่นที่ก�ำลังถือไว้ในมืออีก เมือ่ เด็กแสดงพฤติกรรมทีไ่ ม่เหมาะสม เช่น ร้องอาละวาด
ข้างหนึง่ เพือ่ ท�ำให้เกิดเสียง แล้วจึงสังเกตการหันหาเสียง เมื่อถูกขัดใจ เป็นต้น
ของเด็กว่าเป็นอย่างไร หรือพิจารณาใช้อปุ กรณ์พเิ ศษใน • รัก ดูแลใกล้ชิด เอาใจใส่ต่อตัวเด็ก สังเกต
กรณีที่ยังไม่ได้ตรวจตั้งแต่แรกเกิด หรือพ่อแม่มีความ และตอบสนองความต้องการอย่างเหมาะสม

III
กังวล • ควรให้เด็กได้มีโอกาสสัมผัส เรียนรู้จากสิ่ง
• ซักประวัติเพื่อคัดกรองความเสี่ยงต่อการ แวดล้อมรอบตัวมากขึ้น เล่นและพูดคุยกับเด็กอยู่เสมอ
สัมผัสโรควัณโรค และสารตะกัว่ (ดูรายละเอียดในบทที่ 15) รวมทัง้ อ่านหนังสือนิทานทีม่ รี ปู ภาพให้เด็กฟังเพือ่ ส่งเสริม
พัฒนาการด้านภาษา ส่งเสริมการเคลื่อนไหวของเด็ก
การให้วัคซีน โดยจัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม และมีความปลอดภัย
• วัคซีนหัด-หัดเยอรมัน-คางทูม (MMR1) ใช้
ฉีดใต้ผิวหนัง ครั้งที่ 1 ในกรณีที่ไม่ได้รับที่อายุ 9 เดือน การส่งเสริมทักษะส�ำคัญ
(ดูรายละเอียดในบทที่ 7) • ส่งเสริมให้เด็กท�ำกิจวัตรประจ�ำวันต่างๆ
อย่างสม�่ำเสมอ เช่น ฝึกให้คุ้นเคยกับการแปรงฟัน และ
ค�ำแนะน�ำและค�ำแนะน�ำล่วงหน้าส�ำหรับพ่อแม่ ท�ำกิจวัตรต่างๆ ก่อนนอน (bedtime routines) ร่วม
ส่งเสริมความพร้อมของครอบครัว กัน เช่น อ่านหนังสือนิทาน ร้องเพลง หรือเล่นของเล่น
• กุมารแพทย์ควรให้ก�ำลังใจแก่พ่อแม่ ซึ่ง ที่เด็กชอบ โดยไม่ท�ำให้เด็กตื่นเต้นมากจนเกินไปก่อน
พ่อแม่จ�ำเป็นต้องหาสมดุลระหว่างการใช้เวลาคุณภาพ เวลาเข้านอน
ร่วมกันในครอบครัว ชีวิตส่วนตัว กิจกรรมร่วมกับกลุ่ม
เพื่อน และการท�ำงานของตนเอง และพ่อแม่ควรมีเวลา การส่งเสริมสุขนิสัยที่ดี
เป็นส่วนตัวบ้าง • ฝึกให้เด็กเข้านอนเป็นเวลาทั้งกลางวันและ
• ควรแบ่งเวลามาท�ำกิจกรรมกับพี่ และเปิด กลางคืน หากเด็กตื่นกลางคืน ควรให้ความมั่นใจแก่พ่อ
โอกาสให้พี่มีส่วนร่วมในการดูแลน้อง เช่น แบ่งของให้ แม่ว่าการตื่นกลางคืนยังเป็นพฤติกรรมปกติในเด็กวัยนี้
น้อง เป็นต้น ซึ่งพ่อแม่อาจให้ตุ๊กตาที่เด็กชอบ หรือผ้าห่มผืนโปรดแก่
• พ่อแม่ควรรับฟังความคิดเห็นซึ่งกันและกัน เด็ก เพื่อช่วยให้เด็กสามารถกล่อมตัวเองจนหลับต่อได้
เกี่ยวกับประเด็นต่างๆ ของเด็ก ซึ่งจะช่วยท�ำให้พ่อแม่ (self-consolidation)

249
Early childhood (1-4 ปี)

• เด็กวัยนี้สามารถนอนหลับได้ตลอดคืน จึง พ้นมือเด็ก


ควรงดนมมื้อดึกหลังจากเข้านอนแล้ว • เลือกของเล่นที่เหมาะกับเด็ก ไม่ควรให้เด็ก
• ควรฝึกให้นั่งกินอาหารด้วยตัวเองและหลีก เล่นของเล่นขนาดเล็กทีส่ ามารถอมเข้าปากได้ หรือมีชนิ้
เลี่ยงการบีบบังคับเด็ก แต่เป็นช่วงที่ความอยากอาหาร ส่วนที่อาจหลุด หรือแตกเป็นชิ้นเล็ก เพราะอาจท�ำให้
ลดลง ท�ำให้กนิ อาหารแต่ละมือ้ ได้ไม่มาก น�ำ้ หนักตัวเพิม่ ส�ำลักลงไปในทางเดินหายใจได้
ขึน้ เฉลีย่ 2 กก.ต่อปี พ่อแม่ควรเตรียมอาหารทีม่ ปี ระโยชน์ • ควรเก็บวัตถุมีคม สายที่ห้อยระโยงระยาง
ให้พลังงานสูงวันละ 3 มื้อ และอาหารว่าง เช่น นม อีก กับสิ่งของ หรือเครื่องใช้ภายในบ้านให้เรียบร้อย
2-3 มื้อ หลีกเลี่ยงอาหารที่แข็งและมีขนาดเล็กซึ่งเสี่ยง • อย่าอุ้มเด็กในขณะที่ถือของร้อน และควร
ต่อการส�ำลัก เก็บสายไฟของกาน�ำ้ ร้อนไว้ไกลมือเด็ก อย่าวางของร้อน
• พบทันตแพทย์ครัง้ แรกภายในอายุ 12 เดือน บนพื้น ระวังอันตรายจากไฟดูด โดยติดตั้งปลั๊กสูงจาก
หรือหลังจากฟันซีแ่ รกขึน้ แล้ว ดูแลความสะอาดของฟัน พื้นอย่างน้อย 1.5 เมตร หรือใช้อุปกรณ์ปิดปลั๊กไฟ
III

และช่องปากสม�ำ่ เสมอ โดยการใช้ผา้ สะอาดเช็ดฟันและ • ควรเลี้ยงดูเด็กใกล้ชิด ไม่ให้คลาดสายตา


กระพุง้ แก้ม หรือแปรงฟันด้วยน�ำ้ เปล่าโดยใช้ขนแปรงอ่อน และอยู่ในระยะที่ผู้เลี้ยงดูสามารถเอื้อมมือถึงตัวเด็ก ได้
นุม่ วันละ 2 ครัง้ พยายามให้เลิกขวดนมเพือ่ การมีสขุ ภาพ อย่างทันท่วงที หากเด็กมีความเสีย่ งต่อการเกิดอุบตั เิ หตุ
ฟันและช่องปากที่ดี และพิจารณาให้ฟลูออไรด์เสริม ถ้า เช่น อยู่ใกล้แหล่งน�้ำ พ่อแม่ควรระมัดระวังเกี่ยวกับการ
อยู่ในพื้นที่ที่มีฟลูออไรด์ในน�้ำดื่มต�่ำ (ดูรายละเอียดใน จมน�้ำ โดยเฉพาะแหล่งน�้ำที่อยู่ในบ้าน เช่น คว�่ำถังน�้ำที่
บทที่ 8) ไม่ได้ใช้แล้ว เป็นต้น
• การโดยสารรถยนต์อย่างปลอดภัย ควรใช้ที่
ค�ำแนะน�ำเพื่อความปลอดภัย นั่งส�ำหรับเด็กเล็ก โดยติดตั้งที่นั่งด้านหลัง และให้เด็ก
(ดูรายละเอียดในบทที่ 10) นั่งหันหน้าไปด้านหลังรถ อย่าทิ้งเด็กไว้ในรถตามล�ำพัง
• หลีกเลี่ยงการให้เด็กดูโทรทัศน์และสื่อผ่าน • ไม่ควรเก็บอาวุธปืนไว้ในบ้าน หากจ�ำเป็น
จอทุกประเภท ควรเก็บปืนที่ไม่ได้ใส่กระสุนปืนไว้อย่างมิดชิด รวมทั้ง
• ระวังการพลัดตกจากที่สูง ไม่ควรให้เด็กขึ้น ควรเก็บปืนและกระสุนปืนไว้แยกจากกัน
ลงบันไดตามล�ำพัง ไม่ควรใช้รถหัดเดินแบบทีม่ ลี อ้ (infant
walker) เพราะไม่ช่วยให้เด็กเดินได้ด้วยตัวเอง แต่กลับ ก่อนกลับ
ท�ำให้เด็กมีพัฒนาการด้านกล้ามเนื้อล่าช้ามากยิ่งขึ้น ทั้ง • เปิดโอกาสให้ซกั ถามสิง่ ทีส่ งสัยและทบทวน
ยังเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุได้อีกด้วย นอกจากนี้เด็กที่ สรุปเรื่องหรือแนวทางการแก้ไขปัญหาที่ได้ในวันนี้
มีความตึงตัวของกล้ามเนื้อ extensor ที่บริเวณขามาก • ชืน่ ชมและให้กำ� ลังใจพ่อแม่ทดี่ แู ลลูกอย่าง
ผิดปกติ เช่น เด็กสมองพิการ จะยิ่งท�ำให้มีความตึงตัว เหมาะสม
ของกล้ามเนื้อนี้เพิ่มมากขึ้น • แจ้งวันนัดพบครั้งต่อไป ที่อายุ 18 เดือน
• เก็บยาหรือสารเคมีต่างๆ ไว้ในภาชนะที่
เหมาะสม ซึ่งเด็กไม่สามารถเปิดเองได้ และควรเก็บให้

250
วีระศักดิ์ ชลไชยะ นัยนา ณีศะนันท์

18 เดือน การเฝ้าระวังทางพัฒนาการ
เด็กวัยนีส้ ว่ นใหญ่เริม่ เดินเกาะราวขึน้ บันไดและ • Gross Motor : เกาะราวหรือจูงมือเดินขึ้น
วิ่งได้ ต่อก้อนไม้ให้สูงได้ 2-3 ก้อน ขีดเส้นยุ่งๆ ใช้ช้อน บันได, นั่งบนเก้าอี้เล็กได้มั่นคง
ตักอาหารเข้าปาก ดื่มน�้ำจากถ้วยได้ สามารถท�ำตามค�ำ • Fine Motor : ต่อสิ่งของในแนวตั้งได้ 2-3
สั่งโดยไม่มีท่าทางประกอบได้ 1 อย่าง ชี้เพื่อแสดงสิ่งที่ ชั้น, ขีดเส้นยุ่งๆ ไปมา
ตนเองสนใจให้ผอู้ นื่ สนใจตามได้ รวมทัง้ ชีอ้ วัยวะได้อย่าง • Personal social : รูจ้ กั ปฏิเสธ หยิบอาหาร
น้อย 1 ส่วน พูดค�ำเดี่ยว ที่มีความหมายได้อย่างน้อย ป้อนตัวเองได้
6 ค�ำ ชอบส�ำรวจสิ่งต่างๆ เองตามล�ำพัง แต่ยังชอบให้ • Expressive Language: พูดค�ำที่มีความ
พ่อแม่อยู่ใกล้ๆ ด้วย หมายเพื่อแสดงความต้องการได้หลายค�ำ, มีค�ำพูด รวม
กุมารแพทย์ควรอธิบายให้พ่อแม่เข้าใจถึง โดยเฉลี่ย 10-20 ค�ำ
ธรรมชาติของเด็กวัยนี้ ทีอ่ ยากเป็นตัวของตัวเอง แยกตัว • Receptive Language :ชี้อวัยวะได้อย่าง

III
ห่างจากพ่อแม่เพิม่ ขึน้ แต่กย็ งั ติดและพึง่ พาพ่อแม่ในบาง น้อย 3 ส่วน (ได้แก่ ตา จมูก ปาก), เข้าใจความหมาย
ครัง้ เห็นพฤติกรรมถดถอยได้บางครัง้ เช่น ร้องอาละวาด ของค�ำประมาณ 50 ค�ำ รู้จักชื่อสัตว์ สิ่งของ (ดูราย
เมื่อถูกขัดใจ ไม่ยอมฟังหรือท�ำตามกฎที่พ่อแม่วางไว้ ละเอียดในบทที่ 2)
กุมารแพทย์ควรให้ความเห็นใจพ่อแม่ และเข้าใจความ
รู้สึกคับข้องใจ สังเกตเด็กและปฏิสมั พันธ์ระหว่างพ่อแม่และเด็ก
กุมารแพทย์อาจสาธิตวิธีจัดการกับปัญหา กุมารแพทย์ควรสังเกตปฏิสมั พันธ์ระหว่างเด็ก
พฤติกรรมต่างๆ ของเด็กในห้องตรวจโดยเฉพาะการ กับพ่อแม่ เช่น วิธีการที่พ่อแม่พูดสื่อสารกับเด็ก ถาม
ก�ำหนดขอบเขตของการเล่นที่ปลอดภัย เช่น บอกเด็ก ค�ำถามหรือสั่งให้เด็กท�ำสิ่งต่างๆ มากน้อยเพียงใด เด็ก
ว่า “ปีนเตียงไม่ได้” พร้อมทั้งอุ้มเด็กลงมา และช่วยให้ น�ำสิ่งของ เช่น หนังสือ มาอวดหรือโชว์ให้พ่อแม่ดูหรือ
เด็กรู้สึกดีต่อตนเองโดยเบี่ยงเบนความสนใจในระหว่าง ไม่ รวมทัง้ ควรสังเกตการเล่น และการส�ำรวจสิง่ ของรอบ
การตรวจร่างกายบางอย่างที่เด็กไม่ชอบ เช่น ให้ถือของ ตัวของเด็ก วิธีการที่พ่อแม่ก�ำหนดขอบเขตให้เด็ก รวม
เล่นขณะถูกตรวจหู หรือวัดเส้นรอบศีรษะ เป็นต้น ทั้งท่าที และน�้ำเสียงที่พ่อแม่ใช้

ประเมินสุขภาพและปัญหาทั่วไป การตรวจร่างกาย
• ทักทายและสอบถามปัญหาหรือความกังวล 1.ประเมินการเจริญเติบโตด้วยการชั่งน�้ำหนัก
ความเจ็บป่วย การเปลี่ยนแปลงภายในครอบครัวและ วัดความยาว ประเมินสัดส่วนของน�ำ้ หนักต่อความยาว
ความตึงเครียดในบ้านช่วงที่ผ่านมา และวัดเส้นรอบศีรษะเพื่อบันทึกลงบนกราฟการเจริญ
• สอบถามอาการตามระบบ การเจริญเติบโต เติบโต
พัฒนาการและพฤติกรรมของเด็ก 2. ตรวจร่างกายตามระบบอย่างละเอียดและ
เน้นการตรวจต่อไปนี้:
• ผิวหนัง: เพื่อมองหาลักษณะผิดปกติต่างๆ

251
Early childhood (1-4 ปี)

เช่น nevi, café au lait spots, birthmarks รวมทั้ง สารตะกัว่ และภาวะไขมันในเลือดสูง (ดูรายละเอียดในบท
รอยฟกช�้ำต่างๆ (bruising) ที่ 15, 18)
• ศีรษะ: คล�ำรูปศีรษะและขนาดของกระหม่อม
• ตา: เพื่อดูการสะท้อนแสงจากจอประสาท การให้วัคซีน
ตา (red reflex) และตรวจดูภาวะตาเหล่ (strabismus) • วัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน(DTwP4)
ซึ่งอาจจ�ำเป็นต้องตรวจด้วยวิธี cover/uncover test ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ครั้งที่ 4
ร่วมด้วย(ดูรายละเอียดในบทที่ 13) • วัคซีนโปลิโอชนิดหยอด (OPV4) ครั้งที่ 4
• ฟัน: สังเกตฟันของเด็กว่ามีสี หรือคราบผิด (ดูรายละเอียดในบทที่ 7)
ปกติ และฟันผุหรือไม่
• ระบบประสาท: สังเกตการเดิน การควบคุม ค�ำแนะน�ำและค�ำแนะน�ำล่วงหน้าส�ำหรับพ่อแม่
ของมือ และการเคลือ่ นไหวของแขนและกระดูกสันหลัง ส่งเสริมความพร้อมของครอบครัว
III

ของเด็กขณะเคลื่อนไหวในห้องตรวจ • ให้ก�ำลังใจแก่พ่อแม่ เพราะเป็นช่วงที่เด็ก


อยากท�ำอะไรด้วยตัวเองและต่อต้าน ซึ่งเป็นพฤติกรรม
ตรวจประเมิน ปกติของช่วงวัยนี้ พ่อแม่ควรแสดงความรัก ความเอาใจ
• ตรวจประเมินพัฒนาการ โดยการซักถาม ใส่ และตอบสนองความต้องการของเด็กอย่างพอเหมาะ
พ่อแม่ และสังเกตพฤติกรรมของเด็กในห้องตรวจ ตาม ไม่ตามใจ ฝึกระเบียบวินัย ส่งเสริมความเป็นตัวของตัว
ที่ระบุไว้ข้างต้น รวมทั้งจ�ำเป็นต้องตรวจคัดกรองโรคอ เองของเด็กโดยอยูภ่ ายใต้ขอบเขตกฎเกณฑ์กติกาทีเ่ หมาะ
อทิสติก โดยใช้แบบสอบถาม Modified Checklist for สมตามวัย
Autism in Toddlers (M-CHAT) ตามรายละเอียดที่ • สอบถามเกี่ยวกับการวางแผนในการมีลูก
ระบุไว้ในอายุ 24 เดือน และตรวจคัดกรองพัฒนาการ คนต่อไป ในกรณีที่เด็กก�ำลังจะมีน้องใหม่ควรเตรียม
ด้วยเครือ่ งมือคัดกรองพัฒนาการ เช่น Denver II ซึง่ เป็น ความพร้อมของเด็ก โดยอาจเริ่มจากการอ่านหนังสือ
เครื่องมือคัดกรองพัฒนาการที่ใช้กันอย่างแพร่หลายใน เกี่ยวกับการมีน้องใหม่กับเด็ก หรือให้เด็กดูรูปภาพของ
ประเทศไทย ตนเองขณะทีย่ งั เป็นเด็กเล็ก ซึง่ จ�ำเป็นต้องได้รบั การดูแล
• ตรวจประเมินสุขภาพช่องปากและฟัน เอาใจใส่จากพ่อแม่เช่นเดียวเหมือนกัน เป็นต้น
• ตรวจประเมินการมองเห็น • พ่อแม่ควรแบ่งเวลาให้กบั ลูกแต่ละคนทุกวัน
• ตรวจประเมินการได้ยนิ โดยการซักถาม และ อย่างเหมาะสม เป็นประจ�ำทุกวัน และพ่อแม่ควรมีเวลา
ใช้เทคนิคการตรวจอย่างง่าย ตามที่ระบุไว้ข้างต้น หรือ พิเศษร่วมกันอย่างน้อย 5-10 นาที ต่อวัน ส่งเสริมการ
ใช้อปุ กรณ์พเิ ศษในกรณีทยี่ งั ไม่ได้ตรวจตัง้ แต่แรกเกิด ใน ใช้เวลาคุณภาพร่วมกันในการท�ำกิจกรรมต่างๆ ของ
กลุ่มที่มีประวัติพูดช้าหรือไม่สื่อสาร ครอบครัว
• เปิดโอกาสให้ลกู คนโตมีสว่ นร่วมในการช่วย
คัดกรองความเสี่ยงโดยการซักประวัติ ดูแลน้องบ้างตามความเหมาะสม และส่งเสริมการเล่น
• คัดกรองความเสีย่ งต่อการสัมผัสโรควัณโรค ตามวัยร่วมกัน ซึ่งพ่อแม่ไม่ควรคาดหวังให้พี่คนโตแบ่ง

252
วีระศักดิ์ ชลไชยะ นัยนา ณีศะนันท์

ปันของเล่นให้น้องทุกอย่าง เด็กพร้อมฝึกขับถ่ายแล้ว เช่น กลั้นอุจจาระ/ปัสสาวะได้


• ชมเชยพี่ทันทีเมื่อมีพฤติกรรมที่ดีกับน้อง อย่างน้อย 2 ชั่วโมง ต่อเนื่องกัน เข้าใจความรู้สึกเปียก
และคนในบ้าน ให้คนในบ้านด�ำเนินชีวิตไปตามปกติ ไม่ และแห้ง สามารถนั่งกระโถนได้ชั่วครู่ อยากถ่ายลงใน
ควรปรับเปลี่ยนกิจวัตรประจ�ำวันของลูกคนโตมากจน กระโถน ช่วยถอดกางเกงได้ บอกว่าจะถ่ายอุจจาระ/
เกินไปเพราะจะยิ่งท�ำให้เด็กปรับตัวได้ยากขึ้น ปัสสาวะ เข้าใจล�ำดับขั้นตอน เกี่ยวกับวิธีขับถ่าย
• พ่อแม่ควรรักษากฎระเบียบต่างๆ ในบ้าน
ตามเดิมอย่างสม�่ำเสมอ การส่งเสริมสุขนิสัยที่ดี
• นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ประมาณ
การส่งเสริมทักษะส�ำคัญ 10-12 ชั่วโมงต่อวัน
• แนะน�ำพ่อแม่ลว่ งหน้าเกีย่ วกับการทีเ่ ด็กอาจ • แนะน�ำเรื่องอาหารที่เหมาะสมกับวัย โดย
กลับมาติดและพึง่ พาพ่อแม่มากขึน้ ในบางโอกาส เมือ่ เด็ก เน้นอาหาร 5 หมู่เป็นอาหารหลัก 3 มื้อ ร่วมกับดื่มนม

III
รู้สึกกังวล ไม่มั่นใจเมื่อต้องเผชิญกับสถานการณ์ใหม่ๆ รสจืดเป็นอาหารเสริม มื้อละ 6-8 ออนซ์ วันละ 2-3 มื้อ
เช่น การเข้าพบแพทย์ หรือเมื่อเด็กเห็นคนแปลกหน้า น�ำเสนออาหารหลากหลายที่มีคุณค่าโดยให้เด็กได้มี
โดยใช้วิธีการเบี่ยงเบนความสนใจเด็กไปที่สิ่งอื่นแทน โอกาสเลือก
• ฝึกฝนให้รับผิดชอบตนเอง เช่น กินอาหาร • ดูแลสุขภาพฟัน โดยหลีกเลี่ยงอาหารรส
อาบน�้ำ นั่งกระโถน แต่งตัว เป็นต้น หวาน หัดดื่มนมหรือน�้ำจากถ้วย และส่งต่อให้บุคลากร
• ฝึกระเบียบวินัยสม�่ำเสมอในการใช้ชีวิตทั้ง ทางทันตกรรมเพื่อตรวจสุขภาพช่องปากครั้งแรก (หาก
ของเด็กและสมาชิกคนอืน่ บอกเด็กชัดเจนว่าสิง่ ใดท�ำได้ ยังไม่ได้ส่งต่อเมื่ออายุ 1 ปี)
และสิ่งใดท�ำไม่ได้ อย่างสม�่ำเสมอ โดยก�ำหนดให้กิน
อาหาร นอน เล่น ให้เป็นเวลา ชื่นชมเมื่อท�ำได้ ใช้วิธีเพิก ค�ำแนะน�ำเพื่อความปลอดภัย
เฉยหรือตัดสิทธิ์ในการลงโทษ หลีกเลี่ยงการตี (ดูรายละเอียดในบทที่ 10)
• ส่งเสริมการพูดคุยสือ่ สารกับเด็ก คุยโต้ตอบ • หลีกเลี่ยงการให้เด็กดูโทรทัศน์และสื่อผ่าน
กับเด็กบ่อยๆ เพื่อให้เด็กเข้าใจความหมายในภาษาพูด จอทุกประเภท
และท�ำกิจกรรมต่างๆ ร่วมกันในชีวติ ประจ�ำวัน เช่น อ่าน • พ่อแม่ควรดูแลเด็กใกล้ชดิ จัดบ้านและบริเวณ
หนังสือ/เล่านิทาน เพือ่ ให้เด็กได้คนุ้ เคยกับค�ำพูดและค�ำ รอบบ้านเพือ่ ป้องกันอันตราย จากการพลัดตกหกล้มโดย
ศัพท์ต่างๆ ตามรูปภาพในหนังสือ หรือ ร้องเพลงกับเด็ก การใช้ประตูปิดหรือกั้น เพื่อไม่ให้เด็กขึ้น หรือลงบันได
บ่อยๆ เป็นต้น พูดคุยกับเด็กด้วยค�ำหรือวลีสั้นๆ ที่ได้ใจ เองตามล�ำพัง การชนกระแทก การจมน�้ำ สารพิษ สัตว์
ความอย่างชัดเจน รวมถึงการใช้คำ� ทีแ่ สดงความรูส้ กึ และ กัด ไฟไหม้/น�้ำร้อนลวก และอันตรายจากไฟฟ้า โดย
อารมณ์รว่ มด้วย เพือ่ ช่วยให้เด็กเรียนรูเ้ กีย่ วกับความรูส้ กึ เฉพาะการวางของร้อน เตาไฟ ไม้ขีด หรือที่จุดไฟ ไว้ใน
ของตนเองต่างๆ มากขึ้น เช่น “หนูชอบ/สนุกเวลาแม่ บริเวณที่เด็กสามารถเข้าถึงได้ง่าย
อ่านหนังสือให้ฟัง” “หนูเจ็บเวลาวิ่งหกล้ม” เป็นต้น • ให้เด็กโดยสารรถยนต์อย่างปลอดภัย โดย
• ฝึกให้ขบั ถ่ายอุจจาระ/ปัสสาวะ โดยดูสญั ญาณ การเลือกใช้ท่ีนั่งนิรภัยอย่างเหมาะสม เพื่อป้องกัน

253
Early childhood (1-4 ปี)

อุบัติเหตุทางจราจร รู้ในชีวิตประจ�ำวันผ่านการเล่นสมมติได้เช่นกัน
• เริ่มสอนให้เด็กวัยนี้รู้จักอันตรายและหลีก
เลี่ยงการเข้าใกล้แหล่งน�้ำ การประเมินสุขภาพและปัญหาทั่วไป
• ไม่ควรเก็บอาวุธปืนไว้ในบ้าน • ทักทายและสอบถามปัญหาหรือความกังวล
ความเจ็บป่วย การเปลี่ยนแปลงภายในครอบครัว และ
ก่อนกลับ ความตึงเครียดในบ้าน ช่วงที่ผ่านมา
• เปิดโอกาสให้ซักถามสิ่งที่สงสัย ทบทวน • สอบถามอาการตามระบบ การเจริญเติบโต
สรุปเรื่องที่พูดคุยหรือแนวทางการแก้ไขปัญหา พัฒนาการและพฤติกรรมของเด็ก โดยเฉพาะด้านการ
• ชืน่ ชมและให้กำ� ลังใจพ่อแม่ทดี่ แู ลลูกอย่าง สื่อสาร การช่วยเหลือตนเอง และกิจวัตรประจ�ำวัน
เหมาะสม การเฝ้าระวังทางพัฒนาการ (ดูรายละเอียดในบทที่ 4)
• แจ้งวันนัดพบครั้งต่อไปที่อายุ 2 ปี
III

การเฝ้าระวังทางพัฒนาการ
• Gross Motor : เตะบอล วิ่ง เดินขึ้นบันได
อายุ 2 ปี โดยก้าวเท้าตาม
วัย 2 ปี สามารถเตะและขว้างลูกบอลโดยยก • Fine Motor : ต่อสิ่งของในแนวตั้งได้ 5-6
แขนสูงได้ เดินขึน้ และลงบันไดเอง กระโดดได้ ถอดเสือ้ ผ้า ชิ้น เริ่มเปิดหนังสือได้ทีละหน้า
และล้างมือได้ ต่อก้อนไม้เป็นแนวตั้งได้ประมาณ 5-6 • Personal social : ใช้ชอ้ นตักอาหารกินเองได้
ก้อน เริม่ ใช้สเี ทียนลากเส้นแนวดิง่ และแนวนอนตามแบบ • Expressive Language: พูดได้ประมาณ
ได้ เปิดหนังสือทีละหน้า เริ่มท�ำตามค�ำสั่งง่ายๆ ได้ 1-2 50 ค�ำ เริ่มพูดค�ำที่มีความหมายสองค�ำติดกัน เช่น กิน
ค�ำสั่ง สามารถพูดค�ำศัพท์ได้อย่างน้อย 20-50 ค�ำ และ ข้าว แม่อุ้ม
พูด 2 ค�ำต่อกันได้ โดยคนแปลกหน้าสามารถฟังเด็กได้ • Receptive Language :ชี้ไปยังสิ่งของหรือ
เข้าใจประมาณครึ่งหนึ่ง รูปภาพตามทีบ่ อกได้อย่างหลากหลาย ชีอ้ วัยวะได้อย่าง
เป็นวัยที่ชอบเลียนแบบพฤติกรรมของผู้ใหญ่ น้อย 6 ส่วน (ดูรายละเอียดในบทที่ 2)
และชอบเล่นกับเด็กคนอืน่ โดยต่างคนต่างเล่น เล่นสมมุติ
ทีม่ คี วามซับซ้อน โดยการใช้สงิ่ ของมาเล่นสมมุตแิ ทนข้าว สังเกตเด็กและปฏิสมั พันธ์ระหว่างพ่อแม่และเด็ก
ของจริงมากขึ้น เช่น น�ำก้อนไม้มาเล่นเป็นอาหารป้อน • กุมารแพทย์ควรสังเกตปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
ให้กบั ตุก๊ ตา น�ำกล้วยหรือไม้มาเล่นเป็นโทรศัพท์ น�ำแท่ง เด็กกับพ่อแม่ เช่น พ่อแม่พูดสื่อสารกับเด็กอย่างไร พ่อ
ไม้มาเล่นเป็นรถยนต์พร้อมกับท�ำท่าประกอบได้อย่าง แม่ปล่อยให้เด็กส�ำรวจในห้องตรวจมากน้อยเพียงใด รวม
เหมาะสม ทั้งควรสังเกตการเล่นและการส�ำรวจสิ่งของของเด็ก วิธี
ควรสังเกตหรือสอบถามวิธีเล่นของเด็ก หรือ การทีพ่ อ่ แม่กำ� หนดขอบเขตให้เด็ก รวมทัง้ ท่าที ความรูส้ กึ
ร่วมเล่นสมมุติกับเด็กในห้องตรวจ เพื่ออธิบายให้พ่อแม่ และน�ำ้ เสียงทีพ่ อ่ แม่ใช้
เข้าใจว่า เด็กจะเรียนรูผ้ า่ นการเล่นและสะท้อนสิง่ ทีเ่ รียน

254
วีระศักดิ์ ชลไชยะ นัยนา ณีศะนันท์

การตรวจร่างกาย การให้วัคซีน
1.ประเมินการเจริญเติบโตด้วยการชั่งน�้ำหนัก • ตรวจเช็คการให้วัคซีนที่ผ่านมา
วัดส่วนสูง วัดเส้นรอบศีรษะ ประเมินสัดส่วนของน�ำ้ หนัก • วัคซีนไข้สมองอักเสบเจอีชนิดเชื้อตาย
ต่อความสูง และบันทึกลงบนกราฟการเจริญเติบโต (JE1-2) ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง 2 ครั้ง ห่างกัน 1-4 สัปดาห์
2. ตรวจร่างกายตามระบบอย่างละเอียดและ (ดูรายละเอียดในบทที่ 7)
เน้นการตรวจต่อไปนี้:
• ตา:เพื่อดูการสะท้อนแสงจากจอประสาท ค�ำแนะน�ำและค�ำแนะน�ำล่วงหน้า
ตา (red reflex) และตรวจดูภาวะตาเหล่ (strabismus) ส่งเสริมความพร้อมของครอบครัว
ซึ่งอาจจ�ำเป็นต้องตรวจด้วยวิธี cover/uncover test • รัก เอาใจใส่ต่อตัวเด็ก ตอบสนองพอเหมาะ
ร่วมด้วย ไม่ตามใจ เน้นการช่วยเหลือตนเอง
• ฟัน:สังเกตฟันของเด็กว่ามีสี หรือคราบผิด • ก�ำหนดกฎกติกาให้เหมาะสมตามวัย และ

III
ปกติ ฟันผุ และมีเหงือกอักเสบร่วมด้วยหรือไม่ จัดระเบียบวินัยในกิจวัตรประจ�ำวัน
• สังเกตการเคลื่อนไหว โดยเฉพาะการวิ่ง • กุมารแพทย์ควรฝึกสังเกตพื้นอารมณ์ของ
การใช้มอื ขีดเขียน ทักษะทางสังคม ภาษาและการสือ่ สาร เด็กว่าเป็นอย่างไร เพื่อดูการตอบสนองต่อภาวะเครียด
ของเด็ก ของเด็กเมื่อต้องพบกับคนแปลกหน้าหรือสิ่งแวดล้อม
ใหม่ เพือ่ ทีจ่ ะให้คำ� แนะน�ำพ่อแม่ให้เข้าใจเกีย่ ว กับลักษณะ
การคัดกรองและตรวจประเมิน เฉพาะของเด็กมากยิ่งขึ้น
• เฝ้าระวังและติดตามพัฒนาการ โดยซักถาม • ท�ำความเข้าใจเรื่องพื้นอารมณ์ของเด็ก(พื้น
พ่อแม่ และสังเกตพฤติกรรมของเด็กในห้องตรวจ อารมณ์นิ่ง มั่นคง ปรับตัวง่าย พื้นอารมณ์ไม่มั่นคง ปรับ
• ตรวจประเมินสุขภาพช่องปากและฟัน ตัวยาก และพืน้ อารมณ์ไม่งา่ ยไม่ยาก) และยอมรับลักษณะ
• ตรวจประเมินการมองเห็น เฉพาะของลูกตนเองที่แตกต่างจากเด็กคนอื่น เด็กวัยนี้
• ตรวจประเมินการได้ยินโดยซักถาม และใช้ จะแสดงความต้องการชัดเจนแต่ยังพูดสื่อสารได้ไม่ดนี ัก
เทคนิคการตรวจอย่างง่าย เพื่อคัดกรองการได้ยินเบื้อง จึงเห็นเด็กหงุดหงิดง่าย อาละวาดเมือ่ ไม่ได้อย่างทีต่ อ้ งการ
ต้น ตามที่ระบุไว้ข้างต้น หรือพิจารณาใช้อุปกรณ์พิเศษ หากลูกปรับตัวยาก พ่อแม่ควรเข้าใจและให้เวลาเด็กใน
ในกรณีที่ยังไม่ได้ตรวจตั้งแต่แรกเกิด โดยเฉพาะเมื่อพ่อ การปรับตัวทีละน้อย และหลีกเลีย่ งการบีบบังคับเด็กให้
แม่มีความกังวล ร่วมกับมีประวัติพัฒนาการด้านภาษา ยอมรับในทันที เป็นต้น
และการสื่อสารที่ผิดปกติ • ส่งเสริมให้เด็กมีการแสดงออกทางอารมณ์
• ซักประวัติเพื่อคัดกรองความเสี่ยงต่อการ ทั้งทางด้านบวก เช่น ความรู้สึกสุข สนุกสนาน และด้าน
สัมผัสโรควัณโรค สารตะกั่ว และภาวะไขมันในเลือดสูง ลบ เช่น ความรู้สึกโกรธ เสียใจ และไม่พอใจได้อย่าง
(ดูรายละเอียดในบทที่ 15,18) เหมาะสม กุมารแพทย์ควรอธิบายให้พ่อแม่เห็นความ
ส�ำคัญของการสะท้อนความรูส้ กึ ของเด็ก ด้วยค�ำพูดสัน้ ๆ
และก�ำหนดขอบเขตให้ชัดเจนว่าเด็กสามารถ และไม่

255
Early childhood (1-4 ปี)

สามารถท�ำอะไรได้บา้ ง หากมีอารมณ์ฉนุ เฉียว เช่น “หนู • เน้นให้เด็กช่วยเหลือตัวเอง ท�ำสิง่ ต่างๆด้วย


เสียใจร้องไห้ได้ แต่หนูตีแม่ไม่ได้” เป็นต้น ตัวเองเพิ่มขึ้น เช่น กินอาหาร อาบน�้ำ นั่งกระโถน แต่ง
• พ่อแม่ควรชื่นชมเมื่อเด็กแสดงพฤติกรรมที่ ตัว เป็นต้น และควรให้แรงเสริมทางบวกเมื่อเด็กท�ำได้
เหมาะสม หรือประสบความส�ำเร็จในสิ่งต่างๆ แม้เพียง • ฝึกระเบียบวินัยในการใช้ชีวิต โดยก�ำหนด
เล็กน้อย เพือ่ ส่งเสริมความมัน่ ใจในตนเองให้แก่เด็กตัง้ แต่ เวลากินอาหาร นอน เล่น ให้เป็นเวลา เมือ่ เด็กท�ำได้ ควร
ยังเล็กซึ่งช่วยให้เด็กสามารถเรียนรู้ที่คงพฤติกรรมซึ่ง ชื่นชม การลงโทษควรใช้วิธีเพิกเฉยหรือตัดสิทธิ์ และ
เหมาะสมต่อไป หลีกเลีย่ งการตี
• การส่งเสริมทักษะส�ำคัญ เช่น การช่วยเหลือ
ตนเองและส่งเสริมพัฒนาการทุกด้านโดยเฉพาะการเล่น การส่งเสริมสุขนิสัยที่ดี
ควรสอบถามเกี่ยวกับการเล่นสมมุติของเด็ก หรือร่วม • นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ประมาณ
เล่นสมมุติกับเด็กวัยนี้ในห้องตรวจ เพื่ออธิบายให้พ่อแม่ 10-12 ชั่วโมงต่อวัน
III

เข้าใจว่า เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญามากขึ้น จน • แนะน�ำอาหารทีเ่ หมาะสมกับวัย เน้นอาหาร


สามารถเล่นสมมุตไิ ด้อย่างเหมาะสม เด็กวัยนีเ้ ป็นวัยทีม่ ี 5 หมู่เป็นอาหารหลัก 3 มื้อ ร่วมกับดื่มนมรสจืดเป็น
พัฒนาการด้านภาษาและการสื่อสาร ด้านสังคม ตลอด อาหารเสริม มื้อละ 6-8 ออนซ์ วันละ 2-3 มื้อ น�ำเสนอ
จนเล่นสมมุติได้ซับซ้อนมากขึ้น อาหารหลากหลายที่มีคุณค่าโดยให้เด็กได้เลือก
• ให้เวลาพูดคุย สื่อสาร เพราะเป็นวัยที่เรียน • ดูแลสุขภาพฟัน โดยหลีกเลี่ยงอาหารรส
รู้ด้านการพูดและภาษา สอนค�ำศัพท์หรือบรรยาย หวาน หัดดื่มนมหรือน�้ำจากถ้วย และส่งต่อบุคลากร
กิจกรรมที่ท�ำในชีวิตประจ�ำวัน ขยายค�ำที่เด็กพูดให้ยาว ทางทันตกรรมเพื่อตรวจสุขภาพช่องปากครั้งแรก (หาก
ขึ้น กุมารแพทย์ควรมีหนังสือนิทานในห้องตรวจและน�ำ ยังไม่ได้ส่งต่อเมื่ออายุ 1 ปี) แปรงฟันด้วยยาสีฟันวันละ
มาใช้ในการฝึกเด็กผ่านรูปภาพในหนังสือ โดยพูดเน้น 2 ครั้ง
เสียงและถ้อยค�ำให้ชัดเจน ช้าพอที่จะท�ำให้เด็กเข้าใจ • ฝึกให้เด็กขับถ่ายอุจจาระ/ปัสสาวะโดย
การเล่านิทาน รวมทั้งแนะน�ำเกี่ยวกับการอ่านหนังสือ นั่งกระโถน เมื่อเด็กพร้อม เช่น สามารถกลั้นอุจจาระ/
หรือเล่านิทานเรื่องเดิมกับเด็กทุกวัน ซึ่งจะท�ำให้พ่อแม่ ปัสสาวะได้อย่างน้อย 2 ชั่วโมง ต่อเนื่องกัน เข้าใจ
เห็นตัวอย่างและสามารถกลับไปฝึกเด็กต่อไป ความรู้สึกเปียกและแห้ง ช่วยถอดกางเกงได้ บอกความ
• แนะน�ำหนังสือทีเ่ หมาะสมกับอายุเด็ก แสดง ต้องการขับถ่ายของตนเองได้ โดยสร้างแรงจูงใจ ไม่บบี
วิธีอ่านหนังสือกับเด็ก รวมทั้งอธิบายพฤติกรรมของเด็ก บังคับ
ขณะส�ำรวจ พลิกหนังสือ หรือดูรูปภาพในหนังสือให้แก่ • ฝึกการรักษาสุขอนามัยที่ดีส่วนบุคคล เช่น
พ่อแม่เด็ก เพื่อชี้ให้พ่อแม่เห็นความส�ำคัญของการอ่าน การล้างมือ ควรจามหรือไอบนไหล่ เพือ่ ป้องกันไม่ให้สาร
หนังสือกับเด็กตัง้ แต่เล็ก ซึง่ จะเป็นการส่งเสริมพัฒนาการ คัดหลั่งจากทางเดินหายใจของเด็กกระจายไปยังส่วน
ด้านภาษาที่ส�ำคัญ การอ่านหนังสือกับเด็กยังท�ำให้พ่อ อื่นๆ ของร่างกาย หรือไปถูกบุคคลอื่นๆ เป็นต้น
แม่สอนการออกเสียง การตั้งค�ำถาม และส่งเสริมให้เด็ก
มีสมาธิติดตามเรื่องราวอีกด้วย

256
วีระศักดิ์ ชลไชยะ นัยนา ณีศะนันท์

ค�ำแนะน�ำเพื่อความปลอดภัย ก่อนกลับ
(รายละเอียดดูในที่ 10) • เปิดโอกาสให้ซกั ถามสิง่ ทีส่ งสัย และทบทวน
• ก�ำหนดเวลาของการได้รบั สือ่ อิเล็กทรอนิกส์ สรุปเรื่องที่พูดคุย หรือแนวทางการแก้ไขปัญหาที่ได้ใน
ประเภทต่างๆ เช่น โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต และ วันนี้
โทรศัพท์มือถือ เป็นต้น ไม่เกิน 1-2 ชั่วโมงต่อวัน เลือก • ชืน่ ชมและให้กำ� ลังใจพ่อแม่ทดี่ แู ลลูกอย่าง
รายการให้เหมาะสมกับวัย นัง่ ดูรว่ มกับเด็กพร้อมกับการ เหมาะสม
พูดคุยชี้แนะ จัดห้องนอนของเด็กให้ปราศจากสื่อต่างๆ • แจ้งวันนัดพบครั้งต่อไปที่อายุ 3 ปี
และพ่อแม่ควรเป็นแบบอย่างที่ดีในการได้รับสื่ออย่าง
เหมาะสม
• ดูแลใกล้ชิด จัดบ้านและบริเวณรอบบ้าน อายุ 3 ปี
เพือ่ ป้องกันอันตราย จากการพลัดตกหกล้ม ชนกระแทก อายุ 3 ปี เด็กจะเรียนรูไ้ ด้เพิม่ ขึน้ มาก ท�ำอะไร

III
จมน�ำ้ สารพิษ สัตว์กดั ไฟไหม้/น�ำ้ ร้อนลวก และอันตราย ได้ด้วยตัวเองหลายอย่างถ้าได้รับการฝึกฝน จัดการ
จากไฟฟ้า กิจวัตรประจ�ำวันตนเองได้ดีกว่าเดิม อยากมีส่วนร่วม
• ระวังความปลอดภัยเมื่อน�ำเด็กโดยสาร หรือท�ำอะไรด้วยตัวเองซึง่ เป็นพืน้ ฐานของความมัน่ ใจใน
รถยนต์โดยเลือกใช้ทนี่ งั่ และเข็มขัดนิรภัยอย่างเหมาะสม ตนเอง รับรู้ว่าตนเองแตกต่างจากเด็กคนอื่น รับรู้ว่าตัว
ส�ำหรับทั้งเด็กและพ่อแม่ ใช้หมวกนิรภัยให้กับเด็กทุก เองมีดความสามารถและความกระตือรือร้นในการเรียนรู้
ครั้งที่โดยสารจักรยานหรือจักรยานยนต์ เด็กวัยนีม้ คี วามพร้อมในด้านสังคมและอารมณ์
• เริ่มสอนให้เด็กวัยนี้รู้จักอันตรายและหลีก เรียนรู้ที่จะเริ่มสร้างสัมพันธภาพกับคนอื่นได้เพิ่มขึ้น
เลี่ยงการเข้าใกล้แหล่งน�้ำ แสดงความรู้สึก ความคิด และการกระท�ำของตัวเองได้
• จัดสภาพแวดล้อมให้ปลอดภัย เช่น โต๊ะทีวี ดีขนึ้ ความสม�ำ่ เสมอของพ่อแม่ในการตอบสนองต่อเด็ก
ตู้วางของต้องวางมั่นคง ไม่ล้มง่ายเมื่อเด็กโหนหรือปีน จะช่วยให้เด็กควบคุมตนเอง และจัดการกับอารมณ์ตนเอง
ป่าย ตรวจสอบความมัน่ คงของประตูรวั้ บ้าน ประตูเลือ่ น เวลาโกรธ และเสียใจ ได้อย่างเหมาะสม
ซึ่งมีขนาดใหญ่ การเก็บสารพิษให้พ้นสายตา หากเด็ก วัยนี้ยังแยกไม่ออกระหว่างเรื่องจริงกับเรื่อง
กินสารพิษ ให้ติดต่อศูนย์พิษวิทยาที่หมายเลข 02-201- สมมติ มีข้อจ�ำกัดของพัฒนาการด้านสติปัญญา ใช้
1083, 02-246-8282 จินตนาการสูง พ่อแม่ควรใกล้ชิด พูดคุยกับเด็กระหว่าง
• ไม่ให้เด็กเล่นกับสุนัขจรจัด สุนัขเลี้ยงที่ไม่รู้ เรือ่ งจริงและเรือ่ งสมมติ สอนเรือ่ งการเล่นอย่างปลอดภัย
จัก และลูกสุนัขแรกเกิดที่มีแม่อยู่ด้วย ไม่ให้รังแก รวมทั้งความปลอดภัยในการใช้รถ ใช้ถนน
สัตว์ เช่น ดึงหู ดึงหาง แย่งจานอาหาร ของเล่นของสัตว์ การที่เด็กจะเก่งขึ้นหรือเป็นตัวของตัวเองได้ดี
• ควรให้ความระมัดระวังเมือ่ เด็กอยูใ่ นบริเวณ หรือไม่นนั้ ขึน้ กับความสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับพ่อแม่ ว่า
ที่เสี่ยง เช่น ใกล้รถยนต์ เครื่องจักรกล บนถนน พ่อแม่ให้โอกาสเด็กได้ฝึกช่วยเหลือตนเอง ลองผิดลอง
• ไม่ควรเก็บอาวุธปืนไว้ในบ้าน ถูก จัดการสิง่ ต่างๆรอบตัวด้วยตัวเองภายใต้บรรยากาศ
ทีเ่ ป็นมิตร แต่อยูใ่ นขอบเขตทีเ่ หมาะสมหรือไม่ ทัศนคติ

257
Early childhood (1-4 ปี)

และพฤติกรรมของพ่อแม่จึงมีส่วนส�ำคัญยิ่งในการปลูก ในการประเมินครั้งที่ 1 ผู้ทดสอบจะให้ค�ำแนะน�ำในการ


ฝังค่านิยม จริยธรรมที่ดีให้กับเด็ก ซึ่งพ่อแม่ควรเป็น ส่งเสริมพัฒนาการแก่ผู้ปกครอง และนัดมาประเมินซ�้ำ
แบบอย่างที่ดีในทุกด้าน และสร้างสุขนิสัยที่ดีให้แก่เด็ก ครั้งที่ 2 อีก 1 เดือน และหากเด็กยังคงมีพัฒนาการไม่
สอนมารยาทต่างๆ เช่น ยกมือไหว้และสวัสดีเมื่อเจอ สมวัยแนะน�ำให้สง่ ต่อพบกุมารแพทย์ แบบคัดกรองและ
ผู้ใหญ่ ทิ้งขยะเป็นที่เป็นทาง เก็บของให้เป็นระเบียบ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กวัยแรกเกิด-5 ปี ส�ำหรับบุคคลา
เพื่อเป็นการเตรียมเด็กสู่โรงเรียนและสังคม กรสาธารณสุข ที่พัฒนาโดยกรมสุขภาพจิต กระทรวง
สาธารณสุข (ดูรายละเอียดในบทที่ 2)
การประเมินสุขภาพและปัญหาทั่วไป
ควรเริม่ ด้วยการพูดคุยกับผูเ้ ลีย้ งดูกอ่ น เพือ่ ให้ สังเกตเด็กและปฏิสมั พันธ์ระหว่างพ่อแม่และเด็ก
โอกาสเด็กได้มเี วลาส�ำรวจสิง่ ต่างๆ และผูต้ รวจควรสร้าง กุมารแพทย์ควรสังเกตปฏิสมั พันธ์ระหว่างเด็ก
ความเป็นมิตรกับเด็กด้วยรอยยิ้มหรือของเล่นตามวัย กับพ่อแม่และพี่น้อง วิธีการที่พ่อแม่พูดคุยกับเด็ก ความ
III

ก่อนการตรวจร่างกายหรือสัมผัสเด็ก เพื่อลดความกลัว เอาใจใส่ และวิธที ใี่ ช้จดั การกับปัญหาทีเ่ กิดขึน้ เช่น การ
ของเด็ก สอบถามและพูดคุยในเรื่องที่พ่อแม่กังวล ให้ทางเลือกกับเด็กว่า เด็กอยากจะอ่านนิทานหรือเล่น
รถ แพทย์ควรสังเกตเด็กว่า มีรปู แบบการสือ่ สารอย่างไร
การเฝ้าระวังทางพัฒนาการ เป็นหลัก ผ่านการพูดคุย หรือชี้ชวน เพื่อสังเกต
• Gross Motor : ยืนขาเดียว 2-3 วินาที ขี่ • พืน้ อารมณ์ของเด็ก ทักษะการควบคุมตนเอง
จักรยาน 3 ล้อ ขึ้นบันไดเองสลับเท้า ลงบันไดโดยก้าว ของเด็ก เช่น ยอมท�ำตามกฎกติกา มารยาททางสังคม
เท้าตาม • สร้างสถานการณ์ให้ผู้เลี้ยงดูได้มีโอกาส
• Fine Motor : ต่อสิ่งของในแนวตั้งได้ 8 ชิ้น อ่านหนังสือนิทานรูปภาพกับเด็ก หรือเล่นกับเด็ก ประเมิน
หรือมากกว่า เลียนแบบการวาดรูปวงกลม ทักษะเด็ก ความสนใจของเด็ก และทักษะผู้ปกครอง
• Personal social : เล่นสมมติที่ซับซ้อนขึ้น ในการตอบสนองต่อความสนใจของเด็กเหมาะสม
เล่นกับเด็กอื่น หรือไม่
• Expressive Language: เริ่มเล่าเรื่องได้ฟัง
เข้าใจแต่อาจไม่ทั้งหมด บอกเวลาต้องการขับถ่าย บอก การตรวจร่างกาย
ชื่อตนเอง เพศ หรืออายุ พอได้ 1. ประเมินการเจริญเติบโตด้วยการชัง่ น�ำ้ หนัก
Receptive Language :รู้จักสีอย่างน้อย 1-2 และวัดส่วนสูง ประเมินสัดส่วนของน�้ำหนักต่อความสูง
สี, เข้าใจค�ำกริยาที่แสดงการกระท�ำ ได้แก่ หมาก�ำลังวิ่ง และบันทึกลงบนกราฟการเจริญเติบโต
เด็กก�ำลังกิน เข้าใจค�ำคุณศัพท์ ได้แก่ ร้อน เย็น เหนื่อย 2. ตรวจร่างกายตามระบบอย่างละเอียดและ
สอนให้เข้าใจค�ำบุพบทง่ายๆ เช่น บน ล่าง ใน นอก (ดู เน้นการตรวจต่อไปนี้
รายละเอียดในบทที่ 2) • ระบบหัวใจและหลอดเลือด: ตรวจวัด
โดยกรมอนามัย ได้พฒั นาแบบประเมินพัฒนาการ ความดัน
“อนามัย 55” หากเด็กไม่ผา่ นข้อทดสอบในช่วงอายุนนั้ • ตรวจตา: ดูประสาทตา

258
วีระศักดิ์ ชลไชยะ นัยนา ณีศะนันท์

• ฟัน: ฟันผุ แผ่นคราบฟัน สีของฟัน และ และขอโทษ


สุขภาพเหงือก เช่น เหงือกอักเสบ • พ่อแม่เป็นตัวอย่างที่ดีในเรื่องของภาษา ไม่
พูดค�ำหยาบคาย เน้นการสื่อสารเชิงบวก
การคัดกรองและการตรวจประเมิน • ให้เด็กมีสว่ นร่วมในการคิด เลือก และตัดสิน
• คัดกรองพัฒนาการโดยการใช้แบบทดสอบ ใจในบางเรือ่ ง ภายใต้ขอ้ ก�ำหนดของพ่อแม่ให้โอกาสเด็ก
ทีไ่ ด้มาตรฐาน โดยใช้คมู่ อื คัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการ เรียนรูโ้ ดยใช้วธิ ลี องผิดลองถูก ส่งเสริมให้เด็กเป็นตัวของ
เด็กวัยแรกเกิดถึง 5 ปี(TDSI) ของสถาบันพัฒนาการเด็ก ตัวเอง เช่น ช่วยเหลือตัวเอง และภาคภูมิใจเมื่อท�ำได้
ราชนครินทร์ กรมสุขภาพจิต หรือใช้ Denver ส�ำเร็จ
Developmental Screening Test II • สร้างกฎเกณฑ์กติกาให้เหมาะสมตามวัย
• ตรวจวัดสายตาโดยใช้ picture tests และ และจัดระเบียบวินัยในกิจวัตรประจ�ำวัน และ
ทดสอบ Cover testing ประเมินภาวะตาเข ส่งเสริมให้พี่น้องปรับตัวเข้าหากัน

III
• ตรวจคัดกรองภาวะซีดโดยวัดระดับฮีโมโก • ฝึกให้รับผิดชอบตนเองเพิ่มขึ้นร่วมกับฝึก
ลบินหรือฮีมาโตคริท วินัยในกิจวัตรประจ�ำวัน เช่น เก็บของเล่นก�ำหนดเวลา
• ซักประวัติเพื่อคัดกรองความเสี่ยงต่อการ กิน นอน เล่น เมื่อเด็กท�ำได้ ควรชื่นชม การลงโทษควร
สัมผัสโรควัณโรค สารตะกั่ว และภาวะไขมันในเลือดสูง ใช้วิธีเพิกเฉยหรือตัดสิทธิ์ และหลีกเลี่ยงการตี
(หากยังไม่เคยซักประวัติดังกล่าว) (ดูรายละเอียดในบท
ที่ 18) การส่งเสริมทักษะส�ำคัญ
• ส่งเสริมพัฒนาการทุกด้าน และให้เวลาฝึกฝน
การให้วัคซีน หลายด้านอย่างสมดุล
• ตรวจเช็คการให้วัคซีนที่ผ่านมา • สนับสนุนการอ่านหนังสือ เล่านิทานกับเด็ก
• วัคซีนไข้สมองอักเสบเจอีชนิดเชือ้ ตาย (JE 3) ทุกวัน เน้นการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขพูดคุยกัน ท�ำ
ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง ครั้งที่ 3 (ดูรายละเอียดในบทที่ 7) กิจกรรมร่วมกันโดยเฉพาะอ่านเรื่องราวจากตัวอักษร
และชี้รูปภาพในนิทาน ซึ่งจะช่วยให้เด็ก แยกแยะหน่วย
ค�ำแนะน�ำและค�ำแนะน�ำล่วงหน้า ย่อยของเสียงอ่าน
ส่งเสริมความพร้อมของครอบครัว • การวาดรูป การขีดเขียน การระบายสี
• ให้ความรัก ใกล้ชิด แต่ให้พื้นที่อิสระและ • การเล่น ควรเลือกของเล่นที่เหมาะกับวัย
ปลอดภัยแก่เด็กในการเล่นและเรียนรู้ และเริ่มจากการเล่นของเล่นที่เด็กชอบ
• ฝึกให้เด็กเข้าใจอารมณ์และควบคุมความ • ควรจัดเวลาให้ตวั เองมีโอกาสเล่นกับลูก และ
โกรธเบือ้ งต้น โดยช่วยให้เด็กพูดเล่าเรือ่ งทีท่ ำ� ให้ไม่พอใจ สร้างโอกาสให้ลูกได้เล่นกับเด็กอื่น การเล่นร่วมกับคน
โกรธ เสียใจ หงุดหงิด ดีใจ และการปรับตัวอยู่ร่วมกับพี่ อื่นเป็นช่วงเวลาที่ส�ำคัญยิ่งที่เด็กได้มีโอกาสฝึกทักษะ
น้อง เพือ่ นๆได้อย่างสันติ พ่อแม่เป็นแบบอย่างทีด่ ใี นการ ทางสังคม การจัดการอารมณ์ตนเองและเข้าใจอารมณ์
จัดการและควบคุมอารมณ์ตนเอง การรอคอย การขอบคุณ ของคนอื่น

259
Early childhood (1-4 ปี)

การส่งเสริมสุขนิสัยที่ดี ก�ำลังใจพ่อแม่ที่ฝึกฝนลูกในทางที่เหมาะสม
• นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ประมาณ • แจ้งวันนัดพบครั้งต่อไป ที่อายุ 4 ปี
11-12 ชม.ต่อวัน
• อาหาร 5 หมู่เป็นอาหารหลัก 3 มื้อ ร่วมกับ
ดื่มนมรสจืดเป็นอาหารเสริมวันละ 2-3 แก้ว หลีกเลี่ยง อายุ 4 ปี
อาหารรสหวาน เด็กอายุ 4 ปี พร้อมทีจ่ ะเรียนรูแ้ ละเป็นตัวของ
• ให้เด็กแปรงฟันด้วยยาสีฟันเด็กอย่างน้อย ตัวเองชัดเจน จัดการกิจวัตรประจ�ำวันตนเองได้ ทัง้ เรือ่ ง
วันละ 2 ครั้ง และผู้ปกครองควรแปรงซ�้ำ การกิน นอน ขับถ่ายและการเข้าห้องน�้ำ ช่วยเหลือ
• ฝึกให้ขบั ถ่ายเป็นเวลา แต่ไม่ควรบังคับ และ ตนเองได้ดี เคลื่อนไหวคล่องแคล่ว พูดได้ชัดเจน เล่า
ฝึกเด็กให้มีส่วนร่วมช่วยเหลือตัวเองให้มากที่สุด เรื่องได้ต่อเนื่องและเชื่อมโยงกับเหตุการณ์ที่ผ่านมาได้
• เน้นออกก�ำลังกายกลางแจ้งอย่างน้อย 30 จนคนอืน่ ฟังเข้าใจทัง้ หมด บอก ชือ่ -นามสกุล เพศ เพือ่ น
III

นาทีต่อวัน สนิท กิจกรรมทีเ่ ด็กชอบท�ำ และเข้าใจอารมณ์ความรูส้ กึ


ของคนอื่น รวมทั้งเข้าใจความคาดหวังของคนอื่นต่อ
ค�ำแนะน�ำเพื่อความปลอดภัย พฤติกรรมของเด็กในสถานการณ์ตา่ งๆ แต่กย็ งั อาจพบ
(ดูรายละเอียดดูในบทที่ 10) ปัสสาวะรดทีน่ อนได้บา้ ง เด็กจะกระตือรือร้นอยากมีสว่ น
• ใช้สื่อผ่านจอทุกชนิดรวมแล้วไม่เกิน 1-2 ร่วมหรือท�ำอะไรด้วยตัวเองโดยจะให้ความร่วมมือ เป็น
ชั่วโมงต่อวัน ควรเลือกรายการให้เหมาะกับเด็ก และนั่ง ช่วงเวลาส�ำคัญในการฝึกเด็กให้ ช่วยเหลืองานบ้านด้าน
ดูร่วมกัน เพื่อให้มีปฏิสัมพันธ์ พูดคุย ชี้แนะ ระหว่าง ต่างๆ พ่อแม่ที่ส่งเสริมการเล่นกีฬาและท�ำกิจกรรมงาน
ผู้เลี้ยงดูกับเด็ก บ้านภายใต้กฎกติกาและชื่นชมเมื่อเด็กท�ำได้ จะช่วยให้
• ให้พอ่ แม่อยูใ่ กล้ชดิ จัดบ้านและบริเวณรอบ เด็กภาคภูมิใจในตัวเองและควบคุมตนเองได้ดีขึ้น แต่
บ้านเพื่อป้องกันอันตราย จากการพลัดตกหกล้ม ชน อย่างไรก็ตาม เด็กวัยนีย้ งั คงมีความคิดเอาตัวเองเป็นใหญ่
กระแทก จมน�้ำ สารพิษ สัตว์กัด ความร้อนลวกและ จึงพบพฤติกรรมดื้อ งอแง ท้าทายพ่อแม่อยู่บ้าง ซึ่ง
อันตรายจากไฟฟ้า เก็บสิง่ ของอันตราย เช่น ปืน สารเคมี เป็นการเรียนรูล้ องผิด ลองถูกว่ากฎกติกาทีพ่ อ่ แม่กำ� หนด
ยา ในที่ปลอดภัยให้พ้นสายตาและมือเด็ก นัน้ มีขอบเขตชัดเจนมากน้อยเพียงไร แต่กย็ งั คงต้องการ
• ห้ามเด็กข้ามถนนโดยล�ำพัง สอนให้เด็ก พ่อแม่ช่วยสนับสนุน
วัยนี้รู้จักอันตรายและหลีกเลี่ยงของการเข้าใกล้แหล่ง ทัศนคติและพฤติกรรมของพ่อแม่ที่แสดงออก
น�้ำ ให้เด็กเห็นจะมีส่วนส�ำคัญยิ่งในการปลูกฝังค่านิยม
จริยธรรมที่ดี และบุคลิกภาพของเด็ก เนื่องจากเด็กจะ
ก่อนกลับ เรียนรู้ ซึมซับพฤติกรรมจากคนรอบตัว และกฎกติกา
• เปิดโอกาสให้ถามสิ่งที่สงสัย และทบทวน มารยาททางสังคมไปพร้อมกับพัฒนาความเป็นตัวของ
สรุปเรื่องที่พูดคุยหรือแนวทางแก้ไขปัญหาในวันนี้ ตัวเองด้วย
• ชื่นชมเด็กที่แสดงความสามารถได้ และให้

260
วีระศักดิ์ ชลไชยะ นัยนา ณีศะนันท์

การประเมินสุขภาพและปัญหาทั่วไป ใส่ดูแลเด็ก ทั้งในภาษาพูดและการใช้ภาษาท่าทาง


• เริม่ ด้วยการทักทายและสอบถามความรูส้ กึ • วิธีที่พ่อแม่ใช้ตอบสนองต่อพฤติกรรม
ของการเป็นพ่อแม่เด็กวัย 4 ปี เหมาะสมและไม่เหมาะสมของเด็ก การควบคุมตนเอง
• สิ่งที่พ่อแม่อยากสอบถามเกี่ยวกับเด็ก เช่น ของเด็ก เช่น ยอมท�ำตามมารยาททางสังคม การต่อรอง
สุขภาพ พัฒนาการ เป็นต้น
• สอบถามเรื่องปัญหาเด็กโดยทั่วไป ท�ำอะไร • สร้างสถานการณ์ให้ผเู้ ลีย้ งดูได้มโี อกาสอ่าน
ได้บ้างเมื่อเทียบกับเด็กอื่น หนังสือนิทานรูปภาพหรือเล่นกับเด็ก เริม่ จากการให้เด็ก
• สภาพและบรรยากาศในครอบครัวหรือการ เลือกหนังสือทีต่ นเองสนใจจากหนังสือ 1-2 เล่ม ประเมิน
เปลี่ยนแปลงภายในครอบครัวช่วงที่ผ่านมา ทักษะพ่อแม่ในการตอบสนองต่อความสนใจของเด็ก และ
ประเมินความสนใจต่อเนื่องของเด็กต่อการอ่าน
การเฝ้าระวังทางพัฒนาการ

III
• Gross Motor : กระโดดขาเดียว ลงบันได การตรวจร่างกาย
สลับเท้า 1. ประเมินการเจริญเติบโตด้วยการ: ชั่งน�้ำ
• Fine Motor : วาดรูปวงกลมตามแบบ วาด หนัก วัดส่วนสูง ประเมินสัดส่วนของน�้ำหนักต่อความ
เส้นสองเส้นตัดกันตามแบบ (+) ต่อแท่งไม้ 3 ชิ้นเป็น สูง และบันทึกลงในกราฟการเจริญเติบโต
สะพาน 2. ตรวจร่างกายครบตามระบบอย่างละเอียด
• Personal social : เล่นเกมที่มีกติกาง่ายๆ และเน้นการตรวจต่อไปนี้
กับคนอื่นได้ รู้จักรอคอย ใส่กางเกง และใส่เสื้อยืดสวม • ระบบหัวใจและหลอดเลือด: ตรวจวัดความดัน
หัวเองได้ • ตรวจตา: ดูประสาทตา
• Expressive Language: พูดเล่าเรื่องเป็น • ฟัน: ฟันผุ แผ่นคราบฟัน สีของฟัน และ
ประโยคยาวๆ ให้คนอื่นเข้าใจได้ บอกสีได้หลายสี นับ สุขภาพเหงือก เช่น เหงือกอักเสบ
ของทีละชิ้นได้อย่างถูกต้องเรียงตามล�ำดับของการนับ
ประมาณ 5-10 ชิ้น การคัดกรอง
Receptive Language: เข้าใจประโยคค�ำถามที่ • ตรวจวัดสายตา โดยใช้ picture tests หาก
ซับซ้อนมากขึ้น ได้แก่ อย่างไร ท�ำไม เข้าใจค�ำสั่ง 3 ยังไม่ได้รับการคัดกรองเมื่ออายุ 3 ปี
ขั้นตอน เข้าใจจ�ำนวน “หนึ่ง” และ “หลายๆ” ได้แก่ • ตรวจคัดกรองภาวะซีดโดยวัดระดับฮีโม
หยิบของ 1 ชิน้ หรือหลายๆชิน้ ได้ถกู ต้อง เข้าใจค�ำบุพบท โกลบินหรือฮีมาโตคริท (หากยังไม่ได้รับ การคัดกรอง
เพิ่มเติม ได้แก่ ด้านหน้า ด้านข้าง ใต้ (ดูรายละเอียดใน เมื่ออายุ 3 ปี)
บทที่ 2) • ซักประวัติเพื่อคัดกรองความเสี่ยงต่อการ
สัมผัสโรควัณโรค สารตะกั่ว และภาวะไขมันในเลือดสูง
สังเกตเด็กและปฏิสมั พันธ์ระหว่างพ่อแม่และเด็ก หากยังไม่เคยซักประวัติดังกล่าว ระหว่างอายุ 18 เดือน
• สังเกตวิธีการที่พ่อแม่พูดคุยและการเอาใจ ถึง 4 ปี

261
Early childhood (1-4 ปี)

การให้วัคซีน การเข้าห้องน�้ำ การแต่งตัว


• วัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน (DTwP5) • ใช้มือ-ตาในการท�ำงานประสานกันได้
ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ครั้งที่ 5 เช่น ใช้ดินสอขีดเขียน วาดรูป ระบายสี
• วัคซีนโปลิโอชนิดหยอด (OPV5) ครั้งที่ 5 • ฝึกให้ทำ� งานเพือ่ เพิม่ ความจดจ่อต่อเนือ่ งใน
• วัคซีนหัด-หัดเยอรมัน-คางทูม(MMR2) ฉีด กิจกรรมที่ท�ำ
ใต้ผิวหนัง ครั้งที่ 2 (ดูรายละเอียดในบทที่ 7) • จัดการอารมณ์ตนเองได้ ให้เด็กรูจ้ กั แก้ปญั หา
รอคอย และแบ่งปัน
ค�ำแนะน�ำและค�ำแนะน�ำล่วงหน้า
ส่งเสริมความพร้อมของครอบครัว การส่งเสริมสุขนิสัยที่ดี
• ความรัก ความผูกพัน และความไว้วางใจที่ • เด็กวัยนี้สามารถจัดการกิจวัตรประจ�ำวัน
เด็กมีต่อพ่อแม่ จะเป็นรากฐานส�ำคัญที่ท�ำให้เด็กเชื่อฟัง ด้วยตัวเองเกือบทัง้ หมด เช่น การใช้หอ้ งน�ำ้ อาบน�ำ้ แปรง
III

และปฏิบัติตามที่พ่อแม่สอน ร่วมกับการที่เด็กเรียนรู้สิ่ง ฟัน แต่งตัว การกิน การนอน เป็นต้น แต่อาจต้องการ


ต่างๆรอบตัวจากการสังเกตและเลียนแบบพ่อแม่ ยิ่งพ่อ ความช่วยเหลือในความเรียบร้อยบ้าง เช่น ผูกเชือก
แม่ใกล้ชดิ และให้เวลาให้กบั เด็กมากเท่าไร ก็ยงิ่ เพิม่ โอกาส รองเท้า เป็นต้น
ในการที่เด็กจะซึมซับพฤติกรรม ค่านิยม และจริยธรรม • ให้เด็กแปรงฟันด้วยยาสีฟันเด็กอย่างน้อย
มาจากพ่อแม่มากเท่านั้น วันละ 2 ครั้ง ใช้ยาสีฟันขนาดเท่าเมล็ดถั่วเขียว และ
• สนับสนุนและตอบสนองต่อพฤติกรรมที่ พ่อแม่ควรแปรงซ�้ำ
เหมาะสมของเด็ก โดยการสร้างแรงจูงใจและแรงเสริม • จัดให้นอน 11-12 ชัว่ โมง/วัน และนอนกลาง
มากกว่าการตอบสนองต่อพฤติกรรมที่ไม่ดีของเด็ก วัน เด็กบางคนอาจไม่นอนกลางวัน
• การก�ำหนดตารางเวลากิจวัตรประจ�ำวันที่ • สร้างบรรยากาศการเข้านอนที่สงบ มีวินัย
ชัดเจน จะช่วยให้เด็กปฏิบัติตามได้ง่ายขึ้น พ่อแม่ควร ตามเวลา โดยผ่านกิจกรรมการอ่านหนังสือนิทานกับเด็ก
คาดหวังอย่างเหมาะสมตามวัยของเด็ก และให้เด็กช่วย ซึง่ ช่วยให้การนอนเป็นไปอย่างราบรืน่ และยังช่วยเตรียม
เหลือตัวเองให้มากที่สุด ความพร้อมเรื่องทักษะการอ่านด้วย
• เน้นอาหารที่เหมาะสมกับวัย เน้นอาหาร 5
การส่งเสริมทักษะที่ส�ำคัญ หมู่เป็นอาหารหลัก 3 มื้อ ร่วมกับดื่มนมสดรสจืด เป็น
• เตรียมความพร้อมเพื่อไปโรงเรียน อาหารเสริมวันละ 2-3 แก้วหรือกล่อง หลีกเลี่ยงอาหาร
• การฟัง และปฏิบัติตามค�ำสั่งหรือกติกาได้ ไขมันสูง รสเค็มจัดหรือใช้ผงชูรสในปริมาณมาก สร้าง
สื่อสารกับครูหรือเด็กคนอื่น บรรยากาศการกินที่เป็นมิตร มีการพูดคุย และไม่เปิด
• สุขภาพแข็งแรง สร้างโอกาสให้เด็กได้เล่น โทรทัศน์ระหว่างมื้ออาหาร
กับเด็กอื่นๆ ออกก�ำลังกาย/วิ่งเล่นทุกวัน แต่การเจ็บ • พ่อแม่เป็นแบบอย่างทีด่ ใี นการออกก�ำลังกาย
ป่วย/ความพิการไม่เป็นข้อจ�ำกัดในการไปโรงเรียน และเปิดโอกาสให้เด็กได้มีกิจกรรมทางกาย เช่น เดินขึ้น
• ช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจ�ำวันได้ เช่น ลงบันไดแทนการใช้ลิฟต์ การเดิน/วิ่งในสวนสาธารณะ

262
วีระศักดิ์ ชลไชยะ นัยนา ณีศะนันท์

ค�ำแนะน�ำเพื่อความปลอดภัย ก่อนกลับ
(ดูรายละเอียด ในบทที่ 10) • เปิดโอกาสให้ถามสิ่งที่สงสัย และทบทวน
• ให้เด็กนั่งเบาะหลังและมีการใช้ที่นั่งนิรภัย สรุปเรื่องที่พูดคุยหรือแนวทางแก้ไขปัญหาที่ได้ในวันนี้
ที่เหมาะกับวัย กรณีเป็นรถกระบะให้นั่งด้านข้างคนขับ • ชมเชยเด็กในสิ่งที่เขาท�ำได้ดี
และห้ามใช้ถุงลมนิรภัยในที่นั่งด้านคนขับ เพราะถุงลม • ให้ก�ำลังใจผู้เลี้ยงดูในเรื่องการดูแลเด็ก
ทีก่ างออกขณะเกิดอุบตั เิ หตุ จะท�ำให้เกิดอันตรายแก่เด็ก • แจ้งวันนัดพบครั้งต่อไปที่อายุ 6 ปี
เด็กวัยนี้สามารถโดยสารรถจักรยานยนต์ได้แต่ต้องสวม
หมวกนิรภัยเสมอ
• ห้ามทิง้ เด็กไว้ในรถเพียงล�ำพังอย่างเด็ดขาด
• สอนเด็กเกีย่ วกับการระวังอันตรายขณะข้าม
ถนน แต่ไม่อนุญาตให้เด็กข้ามถนนเอง ควรมีผู้ดูแลเด็ก

III
อย่างใกล้ชิดขณะที่เด็กเล่นบนทางเท้าหรือใกล้ถนน
• สอนเด็กให้ระวังคนแปลกหน้า โดยการไม่
ไปไหนกับคนแปลกหน้าและไม่รับของจากคนอื่น
• การป้องกันตัวเองจากการถูกล่วงละเมิด
สอนเด็กเกีย่ วกับอวัยวะทีเ่ ป็นพืน้ ทีส่ ว่ นตัวของเด็กไม่ควร
ให้คนอื่นมาสัมผัส เช่น หน้าอก อวัยวะเพศ หรือส่วน
อื่นๆ ของร่างกายที่อยู่ในร่มผ้า หรือหากเป็นคนที่เด็ก
รูจ้ กั แต่การสัมผัสจับต้องท�ำให้เด็กรูส้ กึ ไม่สบายใจ เด็กมี
สิทธิที่จะปฏิเสธ ท�ำนองเดียวกันถ้ามีใครชวนให้เด็กยุ่ง
เกี่ยวกับอวัยวะที่เป็นพื้นที่ส่วนตัวของเขา เด็กมีสิทธิที่
จะปฏิเสธไม่ท�ำตาม
• ใช้สื่อผ่านจอทุกชนิดรวมแล้วไม่เกิน 1-2
ชั่วโมงต่อวัน เพื่อให้เด็กได้มีโอกาสท�ำกิจกรรมอื่นหรือ
เล่นกับคนอืน่ แม้รายการหรือสือ่ ในลักษณะส่งเสริมการ
เรียนรู้ของเด็กอาจจะช่วยพัฒนาทักษะที่ใช้ในการเรียน
ได้ ควรเลือกรายการให้เหมาะสมกับเด็กและนัง่ ดูรว่ มกัน
เพื่อให้มีปฏิสัมพันธ์ และเกิดการพูดคุย ชี้แนะ ระหว่าง
ผู้เลี้ยงดูกับเด็ก

263
Middle childhood (5-10 ปี)

บทที่ 23
Middle childhood (5-10 ปี)
สุธาทิพย์ เอมเปรมศิลป์
อดิศร์สุดา เฟื่องฟู
III

อายุ 6 ปี การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของเด็กทั้งเชิงบวกและ ลบ
เด็กอายุ 6 ปี เป็นวัยทีเ่ ข้าสูร่ ะบบการศึกษาขัน้ อาจฝ่าฝืนกฎกติกาบางอย่างบ้าง พ่อแม่จงึ ยังต้องก�ำกับ
พืน้ ฐาน พัฒนาการพร้อมทุกด้านทัง้ ด้านการสือ่ สารการ ดูแลใกล้ชิดโดยเฉพาะเรื่องความปลอดภัยและป้องกัน
เคลือ่ นไหว การช่วยเหลือตนเอง การควบคุมอารมณ์และ พฤติกรรมเสี่ยง ที่อาจเกิดขึ้นได้ เช่น การข้ามถนน การ
เรียนรู้รอบด้าน การเข้าโรงเรียนเป็นจุดเริ่มต้นของ ใช้หมวกกันน็อกเวลาปั่นจักรยานหรือซ้อนมอเตอร์ไซด์
การเรียนรู้อย่างเป็นระบบ เด็กที่ปรับตัวเข้ากับครูและ เล่นในพื้นที่เสี่ยงเช่นใกล้บ่อน�้ำหรือแหล่งน�้ำขนาดใหญ่
เพือ่ นได้ ท�ำตามค�ำสัง่ ของคุณครูได้จะมีโอกาสทีจ่ ะเรียน และสอนลูกให้หลีกเลี่ยงการพูดคุยกับคนแปลกหน้า
รูไ้ ด้ดี อยูร่ ว่ มกับเพือ่ นคนอืน่ ภายใต้กฎระเบียบทีโ่ รงเรียน ร้องขอความช่วยเหลือหรือบอกพ่อแม่เมือ่ มีผู้อื่นมากระ
ก�ำหนด ต้องเคารพคุณครูและผู้ที่อาวุโสกว่า ท�ำหรือปฏิบัติโดยมิชอบต่อร่างกาย
การเตรียมเด็กให้พร้อม เข้าโรงเรียนจึงมีความ
ส�ำคัญ เด็กทีเ่ ติบโตมาจากครอบครัวทีไ่ ม่ได้เตรียมพร้อม ประเมินสุขภาพและปัญหาทั่วไป
ในเรื่องดังกล่าว จะปรับตัวยากที่โรงเรียน เช่น เด็กกิน • ทักทายและสอบถามปัญหาหรือความกังวล
ยาก ไม่ยอมช่วยตนเอง ครูและพ่อแม่จะต้องช่วยฝึกฝน ที่มีในช่วงที่ผ่านมา โดยใช้ค�ำถามปลายเปิด เช่น พ่อแม่
ให้เป็นไปในทิศเดียวกันและต้องเข้าใจความรูส้ กึ ของเด็ก กังวลไหมคะ/ครับ เกี่ยวกับสุขภาพของเด็ก
ให้ก�ำลังใจและคอยสนับสนุนให้เด็กได้เติบโตและปรับ • ทบทวนความเจ็บป่วยทีผ่ า่ นมา การเรียนใน
ตนเองเพือ่ เรียนรูเ้ ต็มตามศักยภาพ โดยทีค่ รูจะรายงาน ระดับอนุบาลหรือประถมศึกษา การด�ำเนินชีวิต เพื่อน
ความก้าวหน้าของเด็กให้พ่อแม่รับทราบ ปฏิสมั พันธ์กบั พ่อแม่ ครู ค�ำถามเช่น ลูกเข้าโรงเรียนแล้ว
จะเห็นความเป็นอิสระและเป็นตัวของตัวเอง เป็นอย่างไรบ้างคะ/ครับ
ในเด็กเพิม่ ขึน้ เด็กจะใช้เวลาอยูก่ บั เพือ่ นและท�ำกิจกรรม • สอบถามอาการตามระบบ การเจริญเติบโต
นอกบ้านนานขึ้น อิทธิพลของกลุ่มเพื่อนจะเริ่มมีผลต่อ และพัฒนาการตามวัย ความเครียด การเปลี่ยนแปลง

264
สุธาทิพย์ เอมเปรมศิลป์ อดิศร์สุดา เฟื่องฟู

ภายในครอบครัว ค�ำถามเช่น พ่อคุณแม่มเี รือ่ งอะไรกังวล หลัก ท่าที่ของพ่อแม่ที่มีต่อเด็กเวลาตอบค�ำถามแพทย์


เกี่ยวกับการเรียนรู้ของเด็กที่โรงเรียนไหมคะ/ครับ เป็นแบบชื่นชม หรือ ต�ำหนิ
• ประเมินพฤติกรรมเด็ก การให้ความร่วมมือ • การจ้องหน้าสบตาเวลาพูดคุยกัน ยิ้มแย้ม
ความรับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว และที่โรงเรียน • ความคาดหวังของผู้ปกครองเหมาะสมกับ
ค�ำถามเช่น ความรับผิดชอบของเด็กในเรื่องการเรียน เด็กหรือไม่
เป็นอย่างไรบ้างคะ/ครับ • สังเกตการแสดงออกทั้ง ภาษา ท่าทางและ
การให้ความร่วมมือของเด็กในระหว่างการตรวจ
การเฝ้าระวังทางพัฒนาการ
• Gross Motor : เดินบนส้นเท้า, เดินต่อเท้า ตรวจร่างกาย
ถอยหลัง, รับลูกบอลโดยใช้สองมือ, กระโดดไกล 120 1.ประเมินการเจริญเติบโตด้วยการ: ชัง่ น�ำ้ หนัก
เซนติเมตร วัดส่วนสูง ประเมินสัดส่วนของน�้ำหนักต่อส่วนสูง และ

III
• Fine Motor : วาดรูปสามเหลี่ยม วาดรูป บันทึกลงในกราฟการเจริญเติบโต
คนที่มีอวัยวะ 6 ส่วนหรือมากกว่า, เลียนแบบการเขียน 2.ตรวจร่างกายตามระบบอย่างละเอียดและ
พยัญชนะง่ายๆบางตัวได้ เน้นการตรวจต่อไปนี้
• Personal social : แต่งตัว และเตรียมอาหาร • ผิวหนัง: ดูร่องรอยการถูกท�ำร้าย รอยด�ำ
ง่ายๆ ได้เองโดยไม่ต้องมีคนช่วย ด้านหลังคอในกรณีอ้วน
• Expressive Language: อธิบายความหมาย • ฟัน: ตรวจสุขภาพช่องปากฟันและการสบ
ของค�ำในชีวิตประจ�ำวันได้ ได้แก่ ลูกบอล บ้าน, บอก กันของฟัน
ความแตกต่างของสิ่งของ 2 สิ่งได้, รู้จักจ�ำนวนนับ 1-10
บอกจ�ำนวนนับรวมทัง้ หมดได้อย่างถูกต้อง, บอกชือ่ ของ การคัดกรอง
ตัวพยัญชนะไทยส่วนใหญ่ได้ถูกต้อง แม้ไม่มีรูปภาพ • ตรวจสายตา (ตรวจ 1 ครัง้ ในช่วงอายุ 3-6 ปี)
ประกอบ ได้แก่ บอกได้ว่า “ก” ชื่อ ก.ไก่ ใช้เครื่องมือ เช่น Snellen test หรือ E-chart ถ้าการ
• Receptive Language : เข้าใจเรื่องข�ำขัน มองเห็นที่อยู่ตั้งแต่ 20/40 หรือ 6/12 ขึ้นไปอย่างน้อย
ของเด็กๆ, เข้าใจล�ำดับของเหตุการณ์ ได้แก่ เรือ่ งในอดีต หนึ่งข้าง ควรส่งต่อจักษุแพทย์เพื่อค้นหาสาเหตุและ
ปัจจุบนั , เข้าใจว่าตัวพยัญชนะไทยแต่ละตัวมีเสียง ได้แก่ อาการร่วมอย่างอืน่ เช่น สายตาเอียง หรือ ตาเข เป็นต้น
ตัว ก มีเสียง กอ (หรือเกอะ) ตัว ท และ ธ มีเสียงเดียวกัน • ตรวจการได้ยิน (ตรวจ 1 ครั้งในช่วงอายุ
คือ ทอ (หรือเทอะ) เข้าใจสัญลักษณ์ตัวเลขว่ามีค่าเป็น 3-6 ปี) โดยการซักถามเพือ่ ประเมินเรือ่ งการสือ่ สาร และ
จ�ำนวนต่างๆ ในช่วง 1-10 (ดูรายละเอียดในบทที่ 2) ใช้เทคนิคการตรวจอย่างง่ายโดยใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้ว
ชี้ถูกันเบาๆ ห่างจากรูหูประมาณ 1 นิ้ว โดยตรวจหูทีละ
สังเกตเด็กและปฏิสมั พันธ์ระหว่างพ่อแม่และเด็ก ข้าง ถ้าข้างใดไม่ได้ยินเสียงให้สงสัยว่าหูข้างนั้นมีความ
• ในขณะที่ซักถามพูดคุย สังเกตการตอบ ผิดปกติ
ค�ำถามว่าเด็กสามารถเล่าเรือ่ งได้เองหรือพ่อแม่ตอบเป็น • ประเมินภาวะโลหิตจาง (ตรวจ 1 ครั้งใน

265
Middle childhood (5-10 ปี)

ช่วงอายุ 3-6 ปี)โดยตรวจเลือดหาค่าฮีมาโตรคริต หรือ • ฝึกฝนให้มคี วามอดทน อดกลัน้ การตรงต่อ


ฮีโมโกลบิน ถ้า Hct < 35 % หรือ Hb < 11.5 mg% จะ เวลา รักการอ่าน
ถือว่าเด็กมีภาวะโลหิตจาง ควรได้รบั การรักษาและติดตาม • ฝึกฝนเด็กให้เข้าใจอารมณ์ตนเองและการ
• ระดับตะกัว่ หรือไขมันในเลือด ประเมินความ ควบคุมอารมณ์ โกรธหรือ เสียใจโดยพ่อแม่ตอ้ งเป็นแบบ
เสีย่ งโดยการซักถาม และตรวจร่างกาย** กรณีทมี คี วาม อย่างที่ดี
เสีย่ งให้สง่ ตรวจ Blood lead level or Lipid screening
ทดสอบวัณโรค ประเมินความเสีย่ งโดยการซักถามประวัตกิ าร โรงเรียนและการเรียน
มีผู้ป่วยวัณโรคในครอบครัวและตรวจร่างกาย กรณีทีมี • ติดตาม ฝึกฝนให้อ่านเขียนหนังสือทุกวัน
ข้อบ่งชีใ้ ห้สง่ ตรวจ PPD test (ดูรายละเอียดในบทที่ 18) จัดหาที่สงบให้เด็กได้ท�ำการบ้าน
• ฝึกฝนทักษะการเล่นกับเพือ่ น การคบเพือ่ น
การให้วัคซีน ส่งเสริมการปรับตัวในหลายสถานการณ์
III

ในกรณีที่ไม่ได้รับวัคซีนที่อายุ 4 ปี • พิจารณาแผนการเรียนรูเ้ ฉพาะบุคคลในราย


• วัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน (DTwP5) ที่มีปัญหาการเรียนรู้
ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ครั้งที่ 5
• วัคซีนโปลิโอชนิดหยอด (OPV5) ครั้งที่ 5 การส่งเสริมสุขนิสัยที่ดี
• วัคซีนหัด-หัดเยอรมัน-คางทูม(MMR2) ฉีด • นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ประมาณ 8-10
ใต้ผิวหนัง ครั้งที่ 2 (ดูรายละเอียดในบทที่ 7) ชั่วโมงต่อวัน
• เน้นกับเด็กว่าอาหารเช้ามีความส�ำคัญอย่าง
ค�ำแนะน�ำและค�ำแนะน�ำล่วงหน้าส�ำหรับพ่อแม่ มากต่อการเรียนรู้ พ่อแม่ควรดูแลให้เด็กรับประทาน
ส่งเสริมความพร้อมของครอบครัว อาหารให้ครบ 5 หมู่ทุกวัน หลีกเลี่ยงอาหารหวาน เค็ม
• รัก เอาใจใส่ตอ่ ตัวเด็ก ตอบสนองพอเหมาะ และไขมันสูง
สนใจต่อการปรับตัวที่โรงเรียน • ดื่มนมจืดไขมันต�่ำ 2-3 แก้วหรือกล่อง/วัน
• ปรับกฎเกณฑ์กติกาให้เหมาะสมตามวัยและ เพื่อให้ได้แคลเซียมที่เพียงพอ
ให้ใกล้เคียงกับโรงเรียน. • ออกก�ำลังกายสม�ำ่ เสมอทุกวันหรือมีกจิ กรรม
• ให้ช่วยตนเองและผูอ้ นื่ ให้ทำ� งานบ้าน เพิม่ ที่ออกแรงอย่างน้อย 30 นาทีต่อวัน
ความสามารถในการแก้ปัญหา • สนับสนุน ช่วยเหลือด้านการเรียน ให้แบ่ง
• ฝึกให้เด็กคิดด้านบวกโดยพ่อแม่ควรประพฤติ เวลาเรียนให้เหมาะสม แนะวิธีจัดการความเครียด
เป็นแบบอย่าง • แปรงฟันอย่างน้อยวันละ 2 ครั้งและใช้ไหม
ขัดฟัน พิจารณาการใช้ยาสีฟนั ผสมฟลูออไรด์ในปริมาณ
การส่งเสริมทักษะส�ำคัญ ที่เหมาะสมคือขนาดเท่าเม็ดถั่วเขียว
• ฝึกฝนเรื่องความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อ • แนะน�ำพบบุคลากรทางทันตกรรมปีละ
งานบ้านและการเรียน 1-2 ครั้ง

266
สุธาทิพย์ เอมเปรมศิลป์ อดิศร์สุดา เฟื่องฟู

ค�ำแนะน�ำเพื่อความปลอดภัย อายุ 8 ปี
• ก�ำหนดเวลาดูโทรทัศน์ ใช้คอมพิวเตอร์ และ เด็กวัยประถมตอนต้นเป็นช่วงที่มีการเรียนรู้
จออิเล็คโทรนิคส์ทุกประเภท ไม่เกิน 1-2 ชั่วโมงต่อวัน เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว มีการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านร่างกาย
โดยเลือกรายการให้เหมาะสมกับวัย นัง่ ดูรว่ มกับเด็กและ จิตใจ อารมณ์และสังคมโดยจะปรับตัวเข้ากับเพื่อนได้
มีการพูดคุยชี้แนะ ควรใช้เวลาส่วนใหญ่ท�ำกิจกรรมอื่น ง่ายขึ้น สื่อสารบอกความต้องการของตนเองและกล้าที่
ร่วมกับเด็ก จะแสดงความคิดเห็นของตนทั้งที่เห็นด้วยและขัดแย้ง
• สอนให้เด็กว่ายน�ำ้ และให้รจู้ กั ประเมินความ พ่อแม่ควรรับฟังและเปิดโอกาสให้เด็กได้หัดท�ำสิ่งต่างๆ
เสีย่ งในการลงเล่นน�ำ้ ในแหล่งน�ำ้ ธรรมชาติหรือแหล่งน�ำ้ ตามความเหมาะสม ซึง่ จะเป็นแนวทางทีช่ ว่ ยให้เด็กก้าว
สาธารณะ ไปสู่การมีวุฒิภาวะเพิ่มขึ้น
• ฝึกให้ขี่จักรยานเมื่ออายุมากกว่า 5 ปี อย่าง เด็กจะช่วยตัวเองได้มากและเป็นตัวของตัวเอง
ถูกวิธีและปลอดภัย (ขี่จักรยานริมทาง ขับไม่สวนทาง เด็ก ยอมรับกฎกติกาสังคมได้งา่ ยขึน้ ซึง่ จะพัฒนาไปสูพ่ นื้

III
ท�ำตามกฎจราจร) ส่งเสริมการใช้หมวกนิรภัยทุกครั้งที่ ฐานของsuperegoที่เหมาะสม โดยเด็กต้องหัดยับยั้ง
ใช้จักรยาน ชั่งใจ สนใจและปรับตัวเข้ากับเพื่อนมากขึ้นสนใจเพื่อน
• สอนให้เด็กป้องกันตัวและบอกพ่อแม่หรือ เพศเดียวกัน เริ่มมีเพื่อนสนิท จะเรียนรู้เพิ่มขึ้นทั้งในบท
ครู เมือ่ มีผอู้ นื่ มากระท�ำให้บาดเจ็บหรือปฏิบตั โิ ดยมิชอบ เรียนและเรียนรู้จากสิ่งรอบตัว เด็กวัยนี้จะใช้เวลานอก
ต่อร่างกาย บ้านทั้งวัน โดยเฉพาะเวลาว่างหลังเลิกเรียนจะเป็นช่วง
• แนะน�ำเรื่องโทษของ เหล้า บุหรี่ และสาร เวลาที่สำ� คัญทีจ่ ะค้นหาความชอบความถนัดของตนเอง
เสพติด อย่างเป็นอิสระ เช่น กีฬา ดนตรี ศิลปะ
ความรับผิดชอบจะค่อยๆ พัฒนาเพิ่มขึ้นตาม
ก่อนกลับ วัยจากการที่พ่อแม่ครูมอบงานให้เด็ก ขณะเดียวกันจะ
• เปิดโอกาสให้ถามสิ่งที่สงสัย ทบทวนสรุป พบว่าเด็กเองสามารถคิดท�ำสิ่งต่างๆด้วยตัวเองได้ เช่น
เรื่องที่พูดคุยหรือแนวทางแก้ไขปัญหาที่ได้ในวันนี้ จัดห้อง จัดโต๊ะเรียนหนังสือของตนเอง เก็บเตียงพับผ้า
• ชืน่ ชมความสามารถของเด็กในระหว่างการ ห่มให้เป็นระเบียบ ช่วยพ่อแม่ท�ำอาหาร จัดโต๊ะอาหาร
ประเมิน เลือกเสื้อผ้า เป็นต้น
• ชื่นชมและให้ก�ำลังใจพ่อแม่ที่ฝึกฝนลูกใน วิธีเรียนรู้จะเปลี่ยนมาเป็นเรียนรู้เป็นกลุ่มเพิ่ม
ทางที่เหมาะสม มากขึน้ มีการท�ำรายงานกับกลุม่ เพือ่ น มีการพัฒนาทักษะ
• แจ้งวันนัดพบครั้งต่อไป ที่อายุ 8 ปี สังคมเรียนรู้ ฝึกรับฟังความคิดเห็นของเพือ่ นในกลุม่ ลด
อัตตาของตัวเองจากเดิมที่เน้นตัวเองเป็นศูนย์กลางของ
ทุกอย่าง ขณะเดียวกันในครอบครัวควรลดการตามใจ
และเปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงความคิดเห็น แต่เด็กก็ตอ้ ง
หัดรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นเช่นเดียวกัน
ความส�ำเร็จในด้านการเรียน จะเกิดได้ต้อง

267
Middle childhood (5-10 ปี)

อาศัยองค์ประกอบหลายอย่าง เช่น ความรับผิดชอบ • สังเกตภาษาพูดของเด็กและพ่อแม่ และการ


สมาธิ สติปัญญา ความอดทน มุ่งมั่นและการแสดงออก ปรับตัวเข้ากับคนแปลกหน้า
ทางอารมณ์ที่เหมาะสม ความสามารถในการเรียน การ
คบเพื่อน การท�ำกิจกรรมหลายด้านจะเป็นสิ่งส�ำคัญที่ การตรวจร่างกาย
หล่อหลอมให้เด็กเติบโตขึน้ อย่างมัน่ ใจและภาคภูมใิ จใน 1. ประเมินการเจริญเติบโตด้วยการ: ชั่งน�้ำ
ตัวเอง หนัก วัดส่วนสูง และบันทึกลงบนกราฟการเจริญเติบโต
2. ตรวจร่างกายตามระบบอย่างละเอียดและ
การประเมินสุขภาพและปัญหาทั่วไป เน้นการตรวจต่อไปนี้
• ทักทายและสอบถามปัญหาหรือความกังวล • ผิวหนัง: ตรวจร่องรอยของผิวหนังว่ามีสงิ่ ผิด
ใจของเด็ก เช่น หนู/ผมรูส้ กึ กังวลเกีย่ วกับสุขภาพในด้าน ปกติหรือไม่ มีร่องรอยใดที่ผิดปกติจากการถูกท�ำร้าย
ใดหรือไม่หนู/ผมมีความกังวลเกีย่ วกับการเรียนหรือการ • ตา: โดยใช้เครือ่ งมือตรวจ (ดูรายละเอียดใน
III

ไปโรงเรียนหรือไม่ บทที่ 13)


• สอบถามพ่อแม่เกี่ยวกับความกังวลใน • ระบบหัวใจและหลอดเลือด: วัดความดันโลหิต
พฤติกรรมและอารมณ์ของลูก • ฟัน: ตรวจช่องปาก ฟัน เหงือก การสบของฟัน
• การเฝ้าระวังทางพัฒนาการ • ความเปลีย่ นแปลงทางด้านเพศ: ตรวจร่างกาย
• ดูในบทความเรื่อง แนวทางการส่งเสริม ภาวะความเป็นหนุม่ สาว เช่น หน้าอก เสียง และประเมิน
พัฒนาการเด็กในสังคมไทย ว่าอยูใ่ นความเปลีย่ นแปลงทางเพศ (Tanner หรือ SMR)
ขัน้ ใด
สังเกตเด็กและปฏิสมั พันธ์ระหว่างพ่อแม่และเด็ก
• ในช่วงทีม่ าพบแพทย์ควรสังเกตปฏิสมั พันธ์ การคัดกรอง
ระหว่างเด็กกับผู้ปกครองทั้งภาษาพูดและท่าทางที่ใช้ • คัดกรองปัญหาการเรียน พฤติกรรมและ
เช่น ใครมีบทบาทหลักในการตอบ เมื่อเด็กพูดผู้ใหญ่ฟัง อารมณ์โดยการซักประวัติ เช่น สมาธิสั้น ความยับยั้ง
หรือไม่ ท่าทางที่เป็นมิตรเคารพเชื่อฟังของเด็กกับผู้ ชัง่ ใจ พฤติกรรมก้าวร้าว ความสามารถในการอ่านเขียน
ปกครองเป็นต้น และค�ำนวณ
• มุมมองของพ่อแม่และเด็กทีม่ ตี อ่ กันและกัน • ความเชื่อมั่นในตัวเอง การปรับตัวกับเพือ่ น
ระหว่างที่พาเด็กมาพบแพทย์มีการกล่าวชมหรือต�ำหนิ ที่โรงเรียน
อย่างเหมาะสมหรือไม่ • การมองเห็นด้วยเครื่องมือ Snellen test
• การมองหน้าสบตาท่าทางทีเ่ ปิดเผยกับแพทย์ • การได้ยินด้วยเครื่องมือAudiometry
และบุคลากรแพทย์ เด็กกล้าที่จะตั้งค�ำถามโดยตรงกับ
แพทย์หรือไม่ การประเมินความเสี่ยง
• สังเกตเด็กในด้านของสมาธิ ความจดจ่อ ส่งตรวจต่อเมื่อซักประวัติบ่งชี้ว่ามีความเสี่ยง
ความสบายใจ • ภาวะซีด โดยส่งตรวจวัดค่า Hemoglobin

268
สุธาทิพย์ เอมเปรมศิลป์ อดิศร์สุดา เฟื่องฟู

or hematocrit ยอมรับฟังความคิดเห็นของเด็กมีความรับผิดชอบในเรือ่ ง
• วัณโรค โดยส่งท�ำ Tuberculin skin test ส่วนตัว เช่น การเรียนการใช้เวลาในงานอดิเรกอย่าง
• ไขมันในเลือดหรือไม่เคยตรวจมาก่อน เหมาะสมส่วนรวม
โดยส่งตรวจ Fasting lipid profile • เด็กควรได้รับมอบหมายหน้าที่ความรับผิด
ชอบในงานบ้านงานสวนทั้งนี้ควรเกิดจากการตกลงกัน
การให้วัคซีน ระหว่างผู้ปกครองกับเด็กควรหลีกเลี่ยงการสั่งเด็กฝ่าย
• ให้วัคซีนในกรณีที่ไม่ได้รับ (ดูรายละเอียด เดียวเพราะเด็กจะต่อต้านเด็กควรมีสถานที่ส่วนตัวห้อง
ในบทที่ 7) ส่วนตัวในบ้าน
• ผูป้ กครองควรสอดส่องดูแลแต่ไม่ควบคุมจน
ค�ำแนะน�ำและค�ำแนะน�ำล่วงหน้าส�ำหรับพ่อแม่ เด็กไม่เป็นตัวของตัวเอง
ส่งเสริมความพร้อมของครอบครัว • การปฏิบตั ติ วั เป็นแบบอย่าของการมีศลี ธรรม

III
• ส่งเสริมการฝึกฝนทักษะการเรียน จะเป็นช่วงเวลาทีเ่ หมาะสมเด็กวัยนีจ้ ะเข้าใจ ส่งเสริมให้
• ส่งเสริมให้เด็กมีความเป็นตัวของตัวเอง เด็กมีทักษะจัดการกับความโกรธและอารมณ์ของตน

ตัวอย่างค�ำถามเพื่อประเมินความเสี่ยง
ใช่ ไม่ใช่ ไม่แน่ใจ
คุณรู้สึกว่าลูกคุณมีปัญหาการมองเห็นหรือไม่
ลูกของคุณเคยตรวจการคัดกรองการมองเห็นไม่ผ่านหรือไม่
ลูกของคุณเคยมีแนวโน้มที่จะตาเขหรือไม่
คุณกังวลเกี่ยวกับการพูดของลูกคุณหรือไม่
คุณกังวลเกี่ยวกับการได้ยินของลูกคุณหรือไม่
คุณคิดว่าลูกของคุณไม่สามารถแยกเสียงบางเสียงจากสิ่งแวดล้อมที่เต็มไปด้วยเสียงหรือ
ไม่ เช่น เสียงโทรศัพท์
ลูกของคุณได้เดินทางไปยังประเทศที่มีความเสี่ยงต่อการเป็นวัณโรคหรือไม่(ทุกประเทศ
ยกเว้น อเมริกา แคนนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ยุโรปตะวันตก)
ลูกของคุณได้อยู่ในประเทศเหล่านี้หรือสัมผัสคนในประเทศเหล่านี้เกินหนึ่งสัปดาห์หรือ
ไม่ (ทุกประเทศ ยกเว้น อเมริกา แคนนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ยุโรปตะวันตก)
ลูกของคุณมีประวัติติด HIV หรือไม่
ลูกของคุณกินอาหารมังสวิรัติหรือไม่
ถ้ากินอาหารมังสวิรัติได้รับประทานเหล็กเสริมหรือไม่
ลูกของคุณกินอาหารที่อุดมไปด้วยธาตุเหล็กหรือไม่ ได้แก่ เนื้อสัตว์ ไข่ อาหารธัญพืชที่
เติมเหล็ก ถั่ว

269
Middle childhood (5-10 ปี)

สอนเด็กให้รับรู้ว่าการที่คนเรามีอารมณ์ต่างๆ เช่นโกรธ ปัญหาอารมณ์ที่พบบ่อยเช่นซึมเศร้า พัฒนาการด้าน


น้อยใจเกลียดดีใจไม่ได้เป็นสิง่ ผิดเราควรรูเ้ ท่าทันอารมณ์ อารมณ์และสติปัญญา เช่น ความมั่นใจในตัวเอง การ
ตนเองและแสดงออกอย่างเหมาะสม เคารพกฎกติกาของครอบครัว โรงเรียน ความก้าวร้าว
• พ่อแม่ต้องมีความเข้าใจในตัวเด็กและส่ง การเปลี่ยนแปลงทั้งทางกายและใจเมื่อเริ่มก้าวสู่วัยรุ่น
เสริมทักษะอย่างรอบด้าน • การฝึกระเบียบวินัย อย่างเหมาะสมกับเด็ก
• วัยเรียนควรได้รับสารอาหารให้ครบ 5 หมู่ แต่ละคน เพราะเด็กมีเอกลักษณ์ของตนเองและควร
ในปริมาณที่พอเหมาะและต้องรับประทานอาหารเช้า ยอมรับในตัวตนของเด็ก
ส่งเสริมให้วยั เรียน รับประทานอาหารว่างทีม่ คี ณ ุ ค่าทาง • ส่งเสริมให้เด็กมีความมัน่ ใจในตัวเองในด้าน
โภชนาการ เช่น นม ผลไม้โดยพยายามเลี่ยงน�้ำผลไม้ ต่างๆ โดยเด็กควรมีโอกาสที่จะรักภาคภูมิใจและรู้จักให้
ควรหลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน เช่น กาแฟ อภัยตนเอง
ชา น�้ำหวาน และน�้ำอัดลม หลีกเลี่ยงขนมขบเคี้ยว • เด็กควรพัฒนาความสามารถรอบด้านเพื่อ
III

และอาหารฟาสท์ฟู้ดส์ เช่น แฮมเบอร์เกอร์ พิซซ่า พัฒนาความมั่นใจในตัวเอง รวมทั้งเข้าใจกฎกติกาของ


เฟรนซ์ฟรายส์ ฯลฯ ครอบครัวและโรงเรียน มีความคิดแบบมีเหตุมีผลและ
• ส่งเสริมให้เด็กออกก�ำลังกายเป็นประจ�ำอย่าง รับผิดชอบเพิม่ ขึน้ ตามวัยเมือ่ เกิดปัญหาความขัดแย้งเด็ก
สม�ำ่ เสมอและพักผ่อนให้เพียงพอจะช่วยกระตุน้ การหลัง่ มีทักษะในการแก้ปัญหาเองเช่นสื่อสารบอกเพื่อน เดิน
ของฮอร์โมนส�ำหรับการเจริญเติบโต หนี แจ้งครู แจ้งผู้ปกครองแทนการตอบโต้ที่ยั้งคิดและ
• เด็กวัยนี้ควรมีกิจกรรมที่มีการเคลื่อนไหว รุนแรง
ออกก�ำลังประมาณ60นาทีต่อวัน โดยเลือกกิจกรรมที่ • การปรับตัวโดยเฉพาะการปรับตัวทีโ่ รงเรียน
เด็กชอบ และสามารถเป็นกิจกรรมที่ท�ำร่วมกับคนใน เช่น การเลือกแผนการเรียนการปรับตัวเมือ่ เข้าโรงเรียน
ครอบครัวได้อย่างเป็นธรรมชาติ ใหม่ ปัญหาการเรียน ผลการเรียนและการเลือกลักษณะ
• ควรจ�ำกัดเวลาในการดูโทรทัศน์และเล่นเกม การเรียนการสอนทัง้ ในเด็กปกติและเด็กทีม่ คี วามต้องการ
ไม่ควรเกินวันละ 1-2 ชม.และควรเป็นรายการหรือเกม พิเศษเป็นสิ่งที่ควรสนใจและสอบถามเสมอเพื่อให้ค�ำ
ทีผ่ า่ นการกลัน่ กรองจากผูป้ กครองแล้ว ไม่อนุญาตให้นำ� แนะน�ำที่เหมาะสม
โทรทัศน์หรือคอมพิวเตอร์ไว้ในห้องนอน
การส่งเสริมสุขนิสัยที่ดี
การส่งเสริมทักษะส�ำคัญ • สุขภาพปากและฟัน เด็กควรดูแลปากและ
• ด้านการเรียน การปรับตัวเมื่อเข้าโรงเรียน ฟันได้ แปรงฟันถูกวิธรี วมทัง้ ใช้ไหมขัดฟันเป็น ใช้ยาสีฟนั
ใหม่ ปัญหาการเรียน ผลการเรียน การจัดโปรแกรมการ ที่มีฟลูออไรด์ในปริมาณที่เหมาะสม ได้รับสารเคลือบ
เรียนและการเลือกลักษณะการเรียนการสอนในเด็กปกติ หลุมร่องฟัน(ดูรายละเอียดในบทที่ 8)
และเด็กที่มีความต้องการพิเศษ ผลการเรียน
• กิจกรรมที่ท�ำในช่วงเลิกเรียนทักษะสังคม ค�ำแนะน�ำเพื่อความปลอดภัย
• ปัญหาพฤติกรรมและอารมณ์เช่นเกเร ก้าวร้าว • ในเด็กวัย8ปีควรแนะน�ำเกี่ยวกับความ

270
สุธาทิพย์ เอมเปรมศิลป์ อดิศร์สุดา เฟื่องฟู

ปลอดภัยของสนามเด็กเล่นหรืออุปกรณ์การเล่นบางชิน้ อายุ 10 ปี
ใส่อปุ กรณ์ปอ้ งกันเวลาเล่น เช่น รองเท้าสเก็ต ขีจ่ กั รยาน เด็กวัยนีจ้ ะมีการเปลีย่ นแปลงทางร่างกายและ
• หัดให้วา่ ยน�ำ้ ได้เด็กวัยเรียนแม้จะว่ายน�ำ้ เป็น จิตใจควบคู่กันไป สูงขึ้นเร็วทั้งหญิงและชาย เด็กหญิง
ต้องอยู่ในสายตาผู้ใหญ่ตลอดเวลา และควรทราบความ เริ่มมีหน้าอก เด็กชายมีอัณฑะโตขึ้น ด้านอารมณ์มี
ลึกของสระว่ายน�้ำนั้น เปลี่ยนแปลงรวดเร็ว ต้องการการยอมรับจากคนรอบ
• หากนั่งเรือเด็กวัยนี้ควรสวมเสื้อชูชีพเสมอ ข้าง และเริ่มต้องการความเป็นส่วนตัว ติดเพื่อนเพิ่มขึ้น
และหากมีสระว่ายน�้ำในบ้านหรือบริเวณที่พักควรมีรั้ว แต่ยังพึ่งพาตนเองไม่ได้เต็มที่ จนอาจเกิดความขัดแย้ง
รอบขอบชิดป้องกันเสมอ ทางอารมณ์ได้
• ควรตระหนักถึงความเสี่ยงต่างๆที่เด็กอาจ พ่อแม่ควรศึกษาพัฒนาการตามวัย พยายาม
พบเจอได้โดยทางตรงหรือทางอ้อม เช่นบุหรี่ เหล้า เข้าใจและควรเปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงความคิดเห็นโดย
สารเสพติดเป็นต้นเด็กอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เสี่ยงหรือไม่ ผู้ใหญ่ร่วมพูดคุย และรับฟังเพื่อให้ได้ข้อตกลงที่เป็น

III
หรือเห็นสิง่ เหล่านีผ้ า่ นสือ่ ถ้ามีโอกาสควรพูดคุยกับลูกให้ กรอบในการด�ำรงชีวิตของเด็กแทนการวางกฎเกณฑ์ให้
ทราบถึงผลเสียของสิ่งนั้นและแนะน�ำว่าควรหลีกเลี่ยง เด็กประพฤติปฏิบัติตามดังเช่นวัยเด็กเล็ก เปิดโอกาสให้
อย่างไร เด็กได้ทำ� ตามความต้องการทีเ่ หมาะสมจนประสบความ
• ความปลอดภัยในบ้านเช่นไฟฟ้า ยาฆ่าแมลง ส�ำเร็จ กลายเป็นความมั่นใจ ภูมิใจในตัวเองซึ่งเป็น
ปืนควรเก็บให้พ้นมือเด็ก คุณสมบัติส�ำคัญที่จะปกป้องเด็กวัยนี้จากพฤติกรรมไม่
• ควรสอนลูกให้รู้จักระมัดระวังภัยจากคน เหมาะสม
แปลกหน้าไม่เชื่อหรือท�ำตามค�ำแนะน�ำของคนที่ไม่รู้จัก ปัจจุบันพฤติกรรมทางเพศของเด็กไทยมีแนว
และรีบบอกพ่อแม่หากมีเหตุการณ์ที่น่าสงสัยเกิดขึ้น โน้มเปลีย่ นแปลงตามวัฒนธรรมตะวันตกมากขึน้ จึงควร
• แนะน�ำให้เด็กมีทักษะดูแลปกป้องตนเอง เริ่มให้ความรู้ที่เหมาะสมกับบริบทของวัฒนธรรมและ
เช่น ภัยจากคนแปลกหน้า การถูกชักชวนให้ใช้บหุ รีห่ รือ ประเพณีไทยทีด่ ใี นเรือ่ งการวางตัว เพศศึกษา ทักษะการ
สารเสพติด ความปลอดภัยในการเล่นกีฬา ปฏิเสธทีเ่ หมาะสมเพือ่ ป้องกันปัญหาพฤติกรรมทางเพศ
ที่ไม่พึงประสงค์ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ตามมาในช่วงวัยรุ่น
ก่อนกลับ
• เปิดโอกาสให้ถามสิ่งที่สงสัย การประเมินสุขภาพและปัญหาทั่วไป
• ชืน่ ชมความสามารถของเด็กในระหว่างการ • ทักทายและสอบถามปัญหาหรือความกังวล
ประเมิน ใจของเด็ก เช่น หนู/ผมรูส้ กึ กังวลเกีย่ วกับสุขภาพในด้าน
• ชื่นชมและให้ก�ำลังใจพ่อแม่ที่ฝึกฝนลูกใน ใดหรือไม่ หนู/ผมมีความกังวลเกีย่ วกับการเรียนหรือการ
ทางที่เหมาะสม ไปโรงเรียนหรือไม่ สอบถามพ่อแม่เกี่ยวกับความกังวล
• ทบทวนสรุปเรือ่ งทีพ่ ดู คุยหรือแนวทางแก้ไข ในพฤติกรรมและอารมณ์ของลูก
ปัญหาที่ได้ในวันนี้
• แจ้งวันนัดพบครั้งต่อไป ที่อายุ 10 ปี

271
Middle childhood (5-10 ปี)

การสังเกตเด็กและปฏิสมั พันธ์ระหว่างพ่อแม่ การคัดกรอง


และเด็ก • คัดกรองปัญหาการเรียน พฤติกรรมและ
• ควรสังเกตปฏิสมั พันธ์ระหว่างเด็กกับพ่อแม่ อารมณ์โดยการซักประวัติ เช่น สมาธิสั้น ความยับยั้ง
ภาษาพูดและภาษาท่าทาง เช่น ใครมีบทบาทหลักในการ ชัง่ ใจ พฤติกรรมก้าวร้าว ความสามารถในการอ่านเขียน
ตอบ เมื่อเด็กพูดผู้ใหญ่ฟังหรือไม่ ท่าทางที่เป็นมิตร และค�ำนวณ
เคารพเชื่อฟังของเด็กกับพ่อแม่ เป็นต้น รวมทั้งมุมมอง • ความเชื่อมั่นในตัวเอง การปรับตัวกับเพือ่ น
ของพ่อแม่และเด็กทีม่ ตี อ่ กันและกัน ระหว่างทีพ่ าเด็กมา ที่โรงเรียน
พบแพทย์มีการกล่าวชมหรือต�ำหนิอย่างเหมาะสม • การมองเห็นด้วยเครื่องมือ Snellen test
หรือไม่ • การได้ยินด้วยเครื่องมือAudiometry
• การมองหน้าสบตาท่าทางทีเ่ ปิดเผยกับแพทย์
และบุคลากรทางการแพทย์ เด็กกล้าทีจ่ ะตัง้ ค�ำถามโดยตรง การประเมินความเสี่ยง
III

กับแพทย์หรือไม่ การส่งตรวจต่อเมือ่ ซักประวัตบิ ง่ ชีว้ า่ มีความเสีย่ ง


• สังเกตเด็กในด้านของสมาธิ ความจดจ่อ • ภาวะซีด โดยส่งตรวจวัดค่าHemoglobin
ความสบายใจ or hematocrit
• สังเกตพัฒนาการทางภาษาและปฏิสมั พันธ์ • วัณโรค โดยส่งท�ำ Tuberculin skin test
ทางสังคมของเด็กกับคนในครอบครัวและคนแปลกหน้า • ไขมันในเลือดหรือไม่เคยตรวจมาก่อน
โดยส่งตรวจ Fasting lipid profile
การตรวจร่างกาย
1. ประเมินการเจริญเติบโตด้วยการ: ชั่งน�้ำ การให้วัคซีน
หนัก วัดส่วนสูง และบันทึกลงบนกราฟการเจริญเติบโต • วัคซีนคอตีบ-บาดทะยักส�ำหรับเด็กโต (dT)
2.ตรวจร่างกายตามระบบอย่างละเอียดและ ใช้ฉีดเข้ากล้ามเนื้อครั้งเดียวทุก 5-10 ปี (ดูรายละเอียด
เน้นการตรวจต่อไปนี้ ในบทที่ 7)
• ผิวหนัง: ตรวจร่องรอยของผิวหนังว่ามีสงิ่ ผิด
ปกติหรือไม่ มีร่องรอยใดที่ผิดปกติจากการถูกท�ำร้าย ค�ำแนะน�ำและค�ำแนะน�ำล่วงหน้าส�ำหรับพ่อแม่
• ตา: โดยใช้เครือ่ งมือตรวจ (ดูรายละเอียดใน ส่งเสริมความพร้อมของครอบครัว
ที่ 13) • ปรับกฎเกณฑ์กติกาและวิธีการเลี้ยงดูให้
• ระบบหัวใจและหลอดเลือด: วัดความดันโลหิต เหมาะสมกับเด็กตามวัย สอดส่องดูแลใกล้ชิดแต่ไม่
• ฟัน: ตรวจช่องปาก ฟัน เหงือก การสบของฟัน ควบคุมจนเด็กไม่เป็นตัวของตัวเอง ควรมีสถานทีส่ ว่ นตัว
• ความเปลีย่ นแปลงทางด้านเพศ: ตรวจร่างกาย ในบ้าน เช่น โต๊ะท�ำงาน ห้องนอน
ภาวะความเป็นหนุม่ สาว เช่น หน้าอกเสียง และประเมิน • ส่งเสริมให้เด็กมีความเป็นตัวของตัวเอง
ว่าอยูใ่ นความเปลีย่ นแปลงทางเพศ (Tanner หรือ SMR) ยอมรับฟังความคิดเห็นของเด็ก ให้รับผิดชอบงานส่วน
ขัน้ ใด ตัว เช่น การเรียน ของเล่น เวลาในการใช้คอมพิวเตอร์

272
สุธาทิพย์ เอมเปรมศิลป์ อดิศร์สุดา เฟื่องฟู

เกม เป็นต้น ส่งเสริมการใช้เวลาว่างที่มีประโยชน์ เช่น กับอารมณ์โกรธ เสียใจ ผิดหวัง ในทางทีเ่ หมาะสม เน้น
เลี้ยงสัตว์ ประดิษฐ์สิ่งของ กีฬา ดนตรี ศิลปะตามความ การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในทางที่สร้างสรรค์
ถนัดของเด็กแต่ละคน ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ เป็นต้น • ควรได้รบั สารอาหารให้ครบ 5 หมู่ ในปริมาณ
โดยเลือกกิจกรรมทีเ่ หมาะกับเด็ก และเป็นกิจกรรมทีท่ ำ� ที่พอเหมาะและต้องรับประทานอาหารเช้า ส่งเสริมให้
ร่วมกับคนในครอบครัว วัยเรียน รับประทานอาหารว่างทีม่ คี ณุ ค่าทางโภชนาการ
• เด็กควรได้รับมอบหมายหน้าที่ความรับผิด เช่น นม ผลไม้โดยพยายามเลี่ยงน�้ำผลไม้ ควรหลีกเลี่ยง
ชอบในงานบ้านงานสวน ทีเ่ กิดจากการตกลงกันระหว่าง การดื่มเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน เช่น กาแฟ ชา น�้ำหวาน
ผู้ปกครองกับเด็ก ควรหลีกเลี่ยงการสั่งเด็กฝ่ายเดียว และน�้ำอัดลม หลีกเลี่ยงขนมขบเคี้ยว และอาหารฟาสท์
เพราะเด็กอาจต่อต้าน เพื่อเพิ่มทักษะด้านต่างๆ รวมทั้ง ฟู้ดส์ เช่น แฮมเบอร์เกอร์ พิซซ่า เฟรนท์ฟรายส์ ฯลฯ
ทักษะในการแก้ปัญหา • เน้นการเล่นกีฬา ออกก�ำลังกายประมาณ
• พ่อแม่ต้องท�ำความเข้าใจในตัวเด็กและส่ง 60 นาทีต่อวัน เป็นประจ�ำอย่างสม�่ำเสมอและพักผ่อน

III
เสริมทักษะอย่างรอบด้าน เป็นแบบอย่างทีด่ ใี ห้เด็ก เน้น ให้เพียงพอจะ กระตุ้นการหลั่งของฮอร์โมนส�ำหรับการ
ความใกล้ชิด สื่อสารสองทาง และส่งเสริมให้เด็กจัดการ เจริญเติบโต ท�ำให้รา่ งกายแข็งแรง จิตใจ แจ่มใส เบิกบาน
ตัวอย่างค�ำถามเพื่อประเมินความเสี่ยง
ใช่ ไม่ใช่ ไม่แน่ใจ
คุณรู้สึกว่าลูกคุณมีปัญหาการมองเห็นหรือไม่
ลูกของคุณเคยตรวจการคัดกรองการมองเห็นไม่ผ่านหรือไม่
ลูกของคุณเคยมีแนวโน้มที่จะตาเขหรือไม่
คุณกังวลเกี่ยวกับการพูดของลูกคุณหรือไม่
คุณกังวลเกี่ยวกับการได้ยินของลูกคุณหรือไม่
คุณคิดว่าลูกของคุณไม่สามารถแยกเสียงบางเสียงจากสิ่งแวดล้อมที่เต็มไปด้วยเสียงหรือ
ไม่ เช่น เสียงโทรศัพท์
ลูกของคุณได้เดินทางไปยังประเทศที่มีความเสี่ยงต่อการเป็นวัณโรคหรือไม่ (ทุกประเทศ
ยกเว้น อเมริกา แคนนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ยุโรปตะวันตก)
ลูกของคุณได้อยู่ในประเทศเหล่านี้หรือสัมผัสคนในประเทศเหล่านี้เกินหนึ่งสัปดาห์หรือ
ไม่ (ทุกประเทศ ยกเว้น อเมริกา แคนนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ยุโรปตะวันตก)
ลูกของคุณมีประวัติติด HIV หรือไม่
ลูกของคุณกินอาหารมังสวิรัติหรือไม่
ถ้ากินอาหารมังสวิรัติได้รับประทานเหล็กเสริมหรือไม่
ลูกของคุณกินอาหารที่อุดมไปด้วยธาตุเหล็กหรือไม่ ได้แก่ เนื้อสัตว์ ไข่ อาหารธัญพืชที่
เติมเหล็ก ถั่ว

273
Middle childhood (5-10 ปี)

• ควรจ�ำกัดเวลาในการดูโทรทัศน์และเล่นเกม ปลอดภัยของสนามเด็กเล่นหรืออุปกรณ์การเล่นบางชิน้
ไม่ควรเกินวันละ 1-2 ชม.และควรเป็นรายการหรือเกม ใส่อปุ กรณ์ปอ้ งกันเวลาเล่น เช่น รองเท้าสเก็ต ขีจ่ กั รยาน
ทีผ่ า่ นการกลัน่ กรองจากผูป้ กครองแล้ว ไม่อนุญาตให้นำ� • หัดให้วา่ ยน�ำ้ ได้เด็กวัยเรียนแม้จะว่ายน�ำ้ เป็น
โทรทัศน์หรือคอมพิวเตอร์ไว้ในห้องนอน ต้องอยู่ในสายตาผู้ใหญ่ตลอดเวลา และควรทราบความ
ลึกของสระว่ายน�้ำนั้น
การส่งเสริมทักษะส�ำคัญ • หากนั่งเรือเด็กวัยนี้ควรสวมเสื้อชูชีพเสมอ
• ให้รบั ผิดชอบในหน้าทีข่ องตนเอง อดทน ตรง และหากมีสระว่ายน�้ำในบ้านหรือบริเวณที่พักควรมีรั้ว
ต่อเวลา ฝึกระเบียบวินยั เน้นการช่วยเหลืองานบ้าน โดยฝึก รอบขอบชิดป้องกันเสมอ
ให้ทำ� งานบ้านเป็นหลายด้าน และเล่นกีฬาหลากหลายอย่าง • ควรตระหนักถึงความเสี่ยงต่างๆที่เด็กอาจ
• ส่งเสริมให้รบั ผิดชอบด้านการเรียน ติดตาม พบเจอได้โดยทางตรงหรือทางอ้อมี่ไม่พึงประสงค์เช่น
ผลการเรียน จัดโปรแกรมการเรียนและการเลือกลักษณะ บุหรี่ เหล้า สารเสพติดเป็นต้นเด็กอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่
III

การเรียนการสอนในเด็กปกติและเด็กที่มีความต้องการ เสี่ยงหรือไม่ หรือเห็นสิ่งเหล่านี้ผ่านสื่อถ้ามีโอกาสควร


พิเศษ ผลการเรียน พูดคุยกับลูกให้ทราบถึงผลเสียของสิ่งนั้นและแนะน�ำว่า
• ทักษะการสื่อสาร และทักษะการควบคุม ควรหลีกเลี่ยงอย่างไร
อารมณ์และการแสดงออกที่เหมาะสม • ความปลอดภัยในบ้านเช่นไฟฟ้า ยาฆ่าแมลง
• ส่งเสริมให้เด็กมีความมั่นใจในตัวเอง ภาค ปืนควรเก็บให้พ้นมือเด็ก
ภูมิใจและรู้จักให้อภัยตนเองได้ • ควรสอนลูกให้รู้จักระมัดระวังภัยจากคน
• ฝึกให้เด็กอยูใ่ นสภาพแวดล้อมใหม่ กฎกติกา แปลกหน้าไม่เชื่อหรือท�ำตามค�ำแนะน�ำของคนที่ไม่รู้จัก
ใหม่ เช่น การไปเข้าค่าย บวชหรือไปอยู่บ้านญาติในช่วง และรีบบอกพ่อแม่หากมีเหตุการณ์ที่น่าสงสัยเกิดขึ้น
ปิดเทอม เพื่อฝึกให้ปรับตัว โดยเฉพาะการปรับตัวที่ • แนะน�ำให้เด็กมีทักษะดูแลปกป้องตนเอง
โรงเรียนใหม่ เช่น การเลือกแผนการเรียน การปรับตัว เช่น ภัยจากคนแปลกหน้า การถูกชักชวนให้ใช้บหุ รีห่ รือ
กับเพื่อนใหม่ เป็นต้น สารเสพติด ความปลอดภัยในการเล่นกีฬา

การส่งเสริมสุขนิสัยที่ดี ก่อนกลับ
• สุขภาพปากและฟัน เด็กควรดูแลปากและ • เปิดโอกาสให้ถามสิ่งที่สงสัย
ฟันได้ แปรงฟันถูกวิธรี วมทัง้ ใช้ไหมขัดฟันเป็น ใช้ยาสีฟนั • ชืน่ ชมความสามารถของเด็กในระหว่างการ
ที่มีฟลูออไรด์ในปริมาณที่เหมาะสม ได้รับสารเคลือบ ประเมิน
หลุมร่องฟัน(ดูรายละเอียดในบทที่ 8) • ชื่นชมและให้ก�ำลังใจพ่อแม่ที่ฝึกฝนลูกใน
ทางที่เหมาะสม
ค�ำแนะน�ำเพื่อความปลอดภัย • ทบทวนสรุปเรือ่ งทีพ่ ดู คุยหรือแนวทางแก้ไข
(ดูรายละเอียดในบทที่ 10) ปัญหาที่ได้ในวันนี้
• ในเด็กวัย 10 ปีควรแนะน�ำเกี่ยวกับความ • แจ้งวันนัดพบครั้งต่อไป ที่อายุ 11-14 ปี

274
บุญยิ่ง มานะบริบูรณ์ จริยา ทะรักษา

บทที่ 24
Adolescence (11-18 ปี)
บุญยิ่ง มานะบริบูรณ์
จริยา ทะรักษา

III
อายุ 11-14 ปี อย่างมาก ท�ำให้มีอารมณ์ สังคมและจิตใจเปลี่ยนแปลง
วัยรุ่นตอนต้น เป็นช่วงที่ร่างกายและจิตใจมี ตามไปด้วย วัยรุ่นพยายามที่จะหาลักษณะจ�ำเพาะของ
การเปลีย่ นแปลงอย่างมากโดยเฉพาะทางด้านการเจริญ ตนเอง ชอบอยู่กับเพื่อน แสดงความคิดของตัวเอง โดย
เติบโต และการเปลีย่ นแปลงทางเพศทีเ่ ข้าสูห่ นุม่ สาว วัย ให้ความส�ำคัญกับเพื่อน รูปร่าง หน้าตา แต่งตัวและการ
รุ่นจะสูงขึ้นชัดเจน มี growth spurt และตามมาด้วย ยอมรับในกลุม่ เพือ่ นมากกว่าพ่อแม่ ท�ำให้พอ่ แม่สว่ นใหญ่
การมีความสูงเพิม่ ในอัตราสูงสุด รวมทัง้ มีการเปลีย่ นแปลง เข้าใจว่าลูกมีนิสัยเปลี่ยนไป
ทางเพศ ได้แก่ มีหน้าอกในเพศหญิง และอัณฑะมีขนาด
ใหญ่ขึ้นในชาย มีการเพิ่มขนาดของอัณฑะโดยเส้นผ่าน ประเมินปัญหาสุขภาพและปัญหาทางจิตใจ
ศูนย์กลางแกนยาวของอัณฑะเท่ากับ 2.5 ซม.หรือมี สังคมและพฤติกรรม
ปริมาตรของอัณฑะเท่ากับ 4 มล. ในเพศชาย ซึ่งการ หากเป็นการพบกันครัง้ แรกระหว่างแพทย์และ
เปลีย่ นแปลงทางเพศดังกล่าว อยูใ่ นช่วงการเปลีย่ นแปลง วัยรุ่น แพทย์ควรเชิญผู้ปกครองให้เข้ามามีส่วนร่วมใน
พัฒนาการทางเพศ Sexual Maturating Rating (SMR) การพูดคุยด้วยเพือ่ ให้ขอ้ มูลและสอบถามประวัตทิ สี่ ำ� คัญ
หรือ Tanner stage 2 หลังจากนั้นภายใน 1-2 ปี เพศ รวมทัง้ สังเกตพฤติกรรมหรือบรรยากาศการพูดคุยระหว่าง
หญิงจะเริ่มมีประจ�ำเดือนครั้งแรก ซึ่งประจ�ำเดือนที่มา ผูป้ กครองและวัยรุน่ หลังจากนัน้ แพทย์ควรพูดคุยกับวัย
ในช่วงแรกๆอาจมี ปริมาณและความถี่ไม่สม�่ำเสมอ โดย รุ่นตามล�ำพัง โดยมีแนวทางในการสัมภาษณ์ดังนี้
จะมีความสม�ำ่ เสมอ ภายใน 2-3 ปี การเปลีย่ นแปลงทาง • แจ้งเรื่องการรักษาข้อมูลส่วนตัวหรือความ
เพศ อย่างอื่นๆที่พบร่วม ได้แก่ สะโพกผายขึ้น เริ่มมี ลับของผูป้ ว่ ย (patient confidentiality) รวม ถึงบทบาท
กลิน่ ตัว มีขนทีร่ กั แร้และหัวหน่าว ในเพศหญิง หรือ เสียง ของแพทย์ในการให้ความช่วยเหลือให้วัยรุ่นทราบ เพื่อ
แตก มีหนวดเครา สิว และฝันเปียกในเพศชาย เป็นต้น ให้วัยรุ่นและผู้ปกครองมีความมั่นใจและเข้าใจแนวทาง
การทีร่ า่ งกายและระดับของฮอร์โมนเปลีย่ นแปลง การดูแลรักษาและให้ค�ำแนะน�ำของแพทย์

275
Adolescence (11-18 ปี)

• สอบถามปัญหาหรือความกังวลใจที่ผ่านมา • ประเมินพัฒนาการทางเพศ (sexual maturity


รวมถึงประวัติต่างๆที่ส�ำคัญจากผู้ปกครอง เช่น ประวัติ rating ; SMR): โดยแพทย์อาจตรวจด้วยตนเองหรือ
การคลอด ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต ประวัติยา อธิบายแล้วให้วัยรุ่นชี้จากรูปภาพก็ได้ โดยที่เพศชายใช้
เป็นต้น genital staging และ pubic hair staging และเพศ
• ประเมินปัญหาทางด้านสังคม จิตใจและ หญิงใช้ breast tanner staging และ pubic hair
พฤติกรรม ด้วยใช้ HEEADSS interview โดยซักถาม staging
วัยรุ่น เกี่ยวกับ บรรยากาศและความสัมพันธ์ในบ้าน • หน้าอก : นอกจากประเมินพัฒนาการทาง
การกินอาหาร การเรียนหรือการงาน กิจกรรมและเพือ่ น เพศในเพศหญิงแล้ว ควรดูว่าหน้าอก 2 ข้างเท่ากันหรือ
การใช้ยาหรือสารเสพติด พฤติกรรมทางเพศ อารมณ์ ไม่ ซึ่งอาจพบเป็นภาวะปรกติได้ในวัยรุ่นแต่อาจเป็น
และความรู้สึกเศร้า ความรู้สึกอยากฆ่าตัวตาย ความ สาเหตุที่ท�ำให้วัยรุ่นกังวลใจ ตรวจภาวะนมโตในเพศ
รุนแรงและความปลอดภัย (ดูรายละเอียดในบทที่ 10) ชาย (pubertal gynecomastia)
III

โดยวัยรุ่นตอนต้นนั้น ควรให้ความส�ำคัญเกี่ยวกับ • อวัยวะเพศ


การปรับตัว เพื่อน และการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย เพศหญิง : ดูลักษณะขนที่บริเวณหัวหน่าว
เป็นส�ำคัญ เพื่อประเมินพัฒนาการทางเพศ ตรวจหาอาการแสดงที่
• สอบถามอาการตามระบบ (review of system) บ่งชี้ว่าติดเชื้อ และแนะน�ำการตรวจภายใน ตามข้อบ่ง
ชี้ ได้แก่ มีประวัติมีเพศสัมพันธ์แล้ว ตกขาว หรือเลือด
ตรวจร่างกาย ออกผิดปรกติ เป็นต้น
1. ประเมินการเจริญเติบโตด้วยการ: ชั่งน�้ำ เพศชาย: ดูขนาดของอัณฑะและลักษณะ
หนัก วัดส่วนสูง ค�ำนวณดัชนีมวลกาย( BMI) และบันทึก ขนที่บริเวณหัวหน่าวเพื่อประเมินพัฒนาการทางเพศ
ข้อมูลลงบนกราฟการเจริญเติบโต ตรวจหาอาการแสดงที่บ่งชี้ว่าติดเชื้อ ภาวะไส้เลื่อน ถุง
2. ตรวจร่างกายตามระบบอย่างละเอียดและ น�้ำ ก้อน เส้นเลือดขอด เป็นต้น
เน้นการตรวจต่อไปนี้
• ผิวหนัง : สิว รอยสัก รอยเจาะ ร่องรอยการ การคัดกรอง
ถูกท�ำร้าย รอยเข็ม รอยด�ำด้านหลังคอ(acanthosis • ตรวจสายตาด้วยเครื่องมือ เช่น Snellen
nigricans)ในกรณีอ้วน ดูรอยแข็งนูนที่ด้านหลังของนิ้ว test ถ้าการมองเห็นที่อยู่ตั้งแต่ 20/50 หรือ 6/18 ขึ้น
(Russell’s sign) ในกรณีสงสัย eating disorder เป็นต้น ไปอย่างน้อยหนึ่งข้าง ควรส่งต่อ
• ช่องปากและฟัน: ฟันผุ การเจาะลิ้น ฟันสึก • ตรวจระดับฮีโมโกลบิน/ฮีมาโตคริต ในวัย
กร่อน รุ่นที่อาจมีภาวะเลือดจาง เช่น เลือกรับประทานอาหาร
• กระดูกสันหลัง : ดูความสูงต�่ำของไหล่ทั้ง 2 รับประทานมังสวิรัติ วัยรุ่นหญิงที่มีประจ�ำเดือนมามาก
ข้างและสะโพก การโค้งงอของกระดูกสันหลัง และตรวจ หรือตรวจร่างกายพบว่าซีด เป็นต้น
โดยให้วยั รุน่ ก้มหลังเพือ่ ดูความสูงต�ำ่ ของหลัง( Adam’s • ตรวจคัดกรองในวัยรุน่ ทีม่ คี วามเสีย่ งของโรค
Forward bending test) ต่อไปนี้

276
บุญยิ่ง มานะบริบูรณ์ จริยา ทะรักษา

• วัณโรค ในรายที่มีประวัติสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ • การคบเพื่อน โดยส่งเสริมให้วัยรุ่นรู้จักแก้


ป่วยวัณโรค โดยการทดสอบทูเบอร์คูลิน ปัญหากับเพื่อนกรณีที่เกิดความขัดแย้งกันโดยสันติวิธี
• ไขมันในเลือดสูง เบาหวาน (ดูรายละเอียด สนับสนุนการท�ำกิจกรรมกลุ่มหรือกิจกรรมจิตอาสา
ในที่ 18) เป็นต้น
• ตรวจหาโรคติดเชือ้ ทางเพศสัมพันธ์ ในกรณี • ความพอใจกับรูปร่าง หน้าตาของตน และ
ที่เคยมีเพศสัมพันธ์แบบไม่ป้องกัน ตกขาว เข้าใจเรื่องเพศได้อย่างถูกต้อง โดยอธิบายให้วัยรุ่น
• ผิดปรกติหรือมีขอ้ บ่งชี้ (ดูรายละเอียดในบท เข้าใจพัฒนาการทางด้านเพศ ผลทีเ่ กิดตามมาเมือ่ วัยรุน่
ที่ 21) เริม่ มีประจ�ำเดือน บทบาททางเพศในสังคม สิทธิพนื้ ฐาน
ของคนในการปฏิเสธเรื่องเพศ เป็นต้น
การให้วัคซีน • ความมีเอกลักษณ์ของตนเอง การรู้คุณค่า
ดูรายละเอียดในบทที่ 7 ในตนเอง และสามารถวางแผนด้านการเรียนหรือการ

III
ท�ำงานในอนาคตที่เป็นจริงได้ โดยชี้ให้วัยรุ่นเห็นจุดเด่น
ค�ำแนะน�ำและค�ำแนะน�ำล่วงหน้าส�ำหรับพ่อแม่ หรือความสามารถของตนเอง ปลูกฝังการมีจติ สาธารณะ
การเลี้ยงดูวัยรุ่นและส่งเสริมพัฒนาการ และส่งเสริมให้วัยรุ่นเรียนหรือท�ำงานในด้านที่ตนเอง
• อธิบายให้พอ่ แม่เข้าใจพัฒนาการของวัยรุน่ ถนัดหรือชอบบนพื้นฐานที่เป็นไปได้ รวมทั้งกระตุ้นให้
ตอนต้น ถึงเรื่องการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย การ วัยรุ่นคิดและหาข้อมูลทางด้านการเรียนหรืออาชีพใน
พัฒนาการทางเพศ ความกังวลของวัยรุน่ ต่อรูปร่าง หน้าตา อนาคตด้วยตนเอง เป็นต้น
การมีประจ�ำเดือนหรือฝันเปียก รวมไปถึงการคบเพื่อน • ปรับกติกาในบ้านให้เหมาะสมกับวัยรุน่ เช่น
เพือ่ ส่งเสริมให้พอ่ แม่รบั ฟัง เข้าใจความรูส้ กึ ของลูกวัยรุน่ การจ�ำกัดเรือ่ งเวลาในการเล่นอินเตอร์เน็ต หรือ การพูด
• ชื่นชมพ่อแม่ที่ปรับวิธีการเลี้ยงดูให้เหมาะ คุยออนไลน์ผา่ นอินเตอร์เน็ตท�ำความเข้าใจกับวัยรุน่ เรือ่ ง
กับวัยรุ่น ส่งเสริมสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัวด้วยการ การรับสื่ออย่างมีสติ การใช้อินเตอร์เน็ตอย่างฉลาด ไม่
ให้ความรัก ความอบอุน่ และเป็นแบบอย่างทีด่ ี ท�ำหน้าที่ ถูกหลอกเป็นเหยื่อ เป็นต้น
เป็นที่ปรึกษาและชี้แนะวัยรุ่นได้อย่างเหมาะสม • สนับสนุนช่วยเหลือด้านการเรียน ฝึกให้แบ่ง
เวลาเรียนอย่างเหมาะสมและแนะวิธจี ดั การความ เครียด
การส่งเสริมทักษะส�ำคัญ
ส่งเสริมวุฒภิ าวะทีเ่ หมาะสมตามวัย ได้แก่ การส่งเสริมสุขนิสัยที่ดี
• ความเป็นตัวของตัวเอง โดยเปิดโอกาสให้ • อธิบายให้วัยรุ่นเข้าใจถึงประโยชน์ของการ
ลูกได้แสดงความคิดเห็น ตั้งใจรับฟัง ให้โอกาสท�ำตาม นอนทีเ่ พียงพอ ซึง่ จะมีผลต่อความสูงจากการทีม่ ฮี อร์โมน
ความคิดที่เหมาะสม ฝึกให้แก้ปัญหาด้วยตัวเองทั้งด้าน การเจริญเติบโตหลัง่ เน้นการนอนอย่างน้อย 8-10 ชม.ต่อ
การเรียนและการใช้ชีวิตประจ�ำวัน ฝึกให้ท�ำสิ่งต่างๆได้ วัน รวมทั้งส่งเสริมให้มีสุขอนามัยในการนอนที่ถูกต้อง
หลายอย่าง โดยให้ท�ำกิจกรรมต่างๆยามว่าง รวมทั้ง (good sleep hygiene)
มอบงานที่เหมาะสมให้รับผิดชอบ • อธิบายให้วยั รุน่ เข้าใจถึงประโยชน์ของอาหาร

277
Adolescence (11-18 ปี)

ทีม่ ตี อ่ ร่างกายและแนะน�ำให้วยั รุน่ รับประทานอาหารให้ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์


ครบ 5 หมู่ และได้รับแคลเซียมเพียงพอ 1000-1300 • หลีกเลี่ยงสถานการณ์อันตรายต่อการถูก
มก.ต่อวัน รวมทั้งได้พลังงานพียงพอต่อความ ต้องการ ท�ำร้าย หรือถูกล่วงละเมิด ฝึกทักษะการปฏิเสธและการ
ของร่างกายโดยวัยรุน่ หญิงควรได้ 1600-1800 กิโลแคลอรี แก้ ปัญหาเฉพาะหน้าในสถานการณ์ที่เสี่ยงสูง ไม่ใช้
ต่อวัน ส่วนวัยรุ่นชายควรได้รับ1800-2200 กิโลแคลอรี ความรุนแรงแก้ปัญหา
ต่อวัน ทัง้ นีข้ นึ้ กับกิจกรรมของวัยรุน่ ในแต่ละวันอธิบาย • ส่งเสริมการปฏิบตั ติ ามกฎจราจร สวมหมวก
ถึงประโยชน์ของการออกก�ำลังกายต่อร่างกายและจิตใจ นิรภัยหรือคาดเข็มขัดนิรภัยทุกครั้งที่ขับขี่
โดยสนับสนุนให้วยั รุน่ ออกก�ำลังกายสม�ำ่ เสมอทุกวัน หรือ
มีกจิ กรรมทีอ่ อกแรงอย่างน้อย 1 ชม.ต่อวัน ลดเวลาการ ก่อนกลับ
ใช้คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์หรือดูโทรทัศน์ (screen time) • เปิดโอกาสให้วัยรุ่นสอบถามสิ่งที่สงสัย
เท่าที่จ�ำเป็น ไม่ควรเกิน 2 ชม.ต่อวัน • ทบทวนโดยให้วัยรุ่นสรุปเรื่องที่พูดคุยหรือ
III

• อธิบายการดูแลช่องปากและฟันที่ถูกต้อง แนวทางแก้ไขปัญหาที่ได้ในวันนี้
โดยใช้ยาสีฟนั ทีม่ ฟี ลูออไรด์และไหมขัดฟันรวมทัง้ แนะน�ำ • กรณีทกี่ ารแก้ปญ ั หาต้องได้รบั ความร่วมมือ
ให้พบทันตแพทย์ปีละ 2 ครั้ง จากพ่อแม่ ก่อนกลับ แพทย์ควรเชิญพ่อแม่เข้ามาพูดคุย
ด้วย โดยแพทย์ควรพูดคุยกับวัยรุ่นให้ทราบถึงความ
ค�ำแนะน�ำเพือ่ ความปลอดภัย และแนวทางลดความ จ�ำเป็นทีต่ อ้ งให้พอ่ แม่ทราบในบางเรือ่ ง และเรือ่ งใดบ้าง
เสี่ยง (รายละเอียดดูในบทที่ 10) ทีจ่ ะต้องบอกพ่อแม่ เพือ่ ให้วยั รุน่ ได้รบั ทราบก่อนแพทย์
• สนับสนุนให้วยั รุน่ งดหรือหลีกเลีย่ งการมีเพศ บอกพ่อแม่ รวมทัง้ ให้วยั รุน่ เลือกทีจ่ ะบอกพ่อแม่เองหรือ
สัมพันธ์ โดยให้ความรู้เรื่องเพศศึกษาที่เข้าใจง่าย เช่น จะให้แพทย์เป็นผู้บอก
การมีประจ�ำเดือนในเพศหญิงหมายความว่า ร่างกายของ • กรณีที่พ่อแม่ต้องการสอบถามแพทย์ถึง
ผูห้ ญิงคนนัน้ สามารถตัง้ ครรภ์ได้แล้ว ผลของการตัง้ ครรภ์ ปัญหาสุขภาพหรือปัญหาพฤติกรรมของวัยรุ่นก่อนกลับ
ต่อมารดาและทารก ปัจจัยที่ท�ำให้วัยรุ่นมีเพศสัมพันธ์ แพทย์ควรอธิบายให้พ่อแม่เข้าใจทั้งปัญหาพัฒนาการ
ก่อนวัย ท�ำอย่างไรให้หา่ งไกลความเสีย่ งเรือ่ งเพศ เป็นต้น และพฤติกรรมของวัยรุ่น และบอกแนวทางการเลี้ยงดู
ส�ำหรับผูท้ มี่ เี พศสัมพันธ์แล้วให้แนะน�ำวิธปี อ้ งกันการตัง้ วัยรุ่น หากพ่อแม่ต้องการทราบรายละเอียดที่เป็นเรื่อง
ครรภ์และการติดเชือ้ ทางเพศสัมพันธ์อย่างมีประสิทธิภาพ ส่วนตัวของวัยรุ่นแพทย์สามารถทบทวนเรื่องการเก็บ
(dual method)โดยการใช้ยาคุมก�ำเนิดร่วมกับการใช้ รักษาข้อมูลส่วนตัวหรือความลับของวัยรุ่นและข้อบ่งชี้
ถุงยางอนามัย รวมทั้งแนะน�ำให้ตรวจภายในปีละครั้ง ในการเปิดเผย รวมทัง้ บทบาทของแพทย์ในการให้ความ
• งดหรือหลีกเลีย่ งการสูบบุหรี่ ดืม่ แอลกอฮอล์ ช่วยเหลือวัยรุ่นตามที่กล่าวตอนต้น เพื่อให้ผู้ปกครอง
และใช้สารเสพติดทุกชนิด กรณีทใี่ ช้อยูแ่ นะน�ำให้ลดการ เข้าใจ โดยพยายามหลีกเลี่ยงไม่ให้พ่อแม่รู้สึกว่า แพทย์
ใช้ และป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ รวมทั้ง และวัยรุ่นปิดบังเรื่องราวบางอย่างไว้
ชีใ้ ห้เห็นว่าสาเหตุการตายทีส่ ำ� คัญของวัยรุน่ อายุ 15-24 • แจ้งวันนัดพบครั้งต่อไป ตามความจ�ำเป็น
ปีเกิดจากอุบัติเหตุบนท้องถนนซึ่งสัมพันธ์กับการดื่ม โดยทัว่ ไป ถ้าเป็นวัยรุน่ ทีม่ สี ขุ ภาพแข็งแรงและไม่มคี วาม
เสี่ยงใดๆ แพทย์สามารถนัดตรวจสุขภาพได้ทุกปี หรือ
278
บุญยิ่ง มานะบริบูรณ์ จริยา ทะรักษา

อย่างน้อยช่วงวัยละ 1 ครั้ง เช่น วัยรุ่นตอนต้น 1 ครั้ง ลับของผูป้ ว่ ย (patient confidentiality) รวมถึงบทบาท


ครั้งต่อไปในช่วงวัยรุ่นตอนกลาง เป็นต้น ของแพทย์ในการให้ความช่วยเหลือวัยรุ่น เพื่อให้วัยรุ่น
• ให้หมายเลขโทรศัพท์เพื่อติดต่อแก่วัยรุ่น และผูป้ กครองมัน่ ใจและเข้าใจแนวทางในการดูแลรักษา
กรณีมีข้อสงสัย และให้ค�ำแนะน�ำของแพทย์
• สอบถามปัญหาหรือความกังวลใจที่ผ่านมา
รวมถึงประวัติต่างๆที่ส�ำคัญจากผู้ปกครองด้วย เช่น
อายุ 15-17 ปี ประวัตกิ ารคลอด ประวัตกิ ารเจ็บป่วยในอดีต ประวัตยิ า
วัยรุ่นตอนกลางเป็นวัยที่ร่างกายมีการเจริญ เป็นต้น
เติบโตและเปลี่ยนแปลงทางเพศมาแล้ว (physical and • ประเมินปัญหาทางด้านสังคม จิตใจและ
pubertal development) วัยรุ่นส่วนใหญ่เข้าใจการ พฤติกรรม โดยใช้ HEEADSS interview โดยซักถามวัย
เปลีย่ นแปลงดังกล่าว วัยรุน่ ช่วงนีเ้ ริม่ สนใจสิง่ รอบตัวมาก รุน่ เกีย่ วกับ บรรยากาศและความสัมพันธ์ในบ้าน การกิน

III
ขึ้น เพื่อนเป็นบุคคลส�ำคัญ เริ่มมีการคบเพื่อนต่างเพศ อาหาร การเรียนหรือการงาน กิจกรรมและเพื่อน การ
ให้ความสนใจเรือ่ งเพศมากขึน้ อยากให้ตนเองเด่นทัง้ ใน ใช้ยาหรือสารเสพติด พฤติกรรมทางเพศ อารมณ์และ
หมู่เพื่อนและเพศตรงข้าม เริ่มมีพฤติกรรมอยากลอง ความรู้สึกเศร้าความรู้สึกอยากฆ่าตัวตาย ความรุนแรง
(experimentation) มากขึ้น ขาดความยับยั้งชั่งใจและ และความปลอดภัย (อ่านเพิม่ เติมในบทที่ 19) โดยในวัย
ยังขาดทักษะในการแก้ปัญหา หรือ มีความรู้เท่าไม่ถึง รุ่นตอนกลางนั้น ควรให้ความส�ำคัญทุกเรื่องโดยเฉพาะ
การณ์ รวมทัง้ มีความอ่อนไหวทางอารมณ์เป็นอย่างมาก เรื่องเพื่อน แฟน อารมณ์ การเรียนที่ยากขึ้น การลอง
ดังนั้นวัยรุ่นตอนกลางจึงเป็นช่วงเวลาส�ำคัญที่มีโอกาส สูบบุหรี่หรือดื่มสุรา การขี่มอเตอร์ไซด์ เป็นต้น
เกิดพฤติกรรมเสี่ยงจนท�ำให้เกิดปัญหาตามมา เช่น ลอง • สอบถามอาการตามระบบ (review of system)
สูบบุหรี่ ดื่มแอลกอฮอล์ มีเพศสัมพันธ์ ขี่มอเตอร์ไซด์
ผาดโผนและไม่มีใบอนุญาต พกอาวุธ ยกพวกตีกัน กิน ตรวจร่างกาย
ยาเกินขนาด หรือ ท�ำร้ายตนเอง เป็นต้น 1.ตรวจร่างกายประเมินการเจริญเติบโตด้วย
การ: ชั่งน�้ำหนัก วัดส่วนสูง ค�ำนวณดัชนีมวลกาย( BMI)
ประเมินปัญหาด้านสุขภาพและปัญหาทาง และบันทึกข้อมูลลงบนกราฟการเจริญเติบโต
จิตใจ สังคมและพฤติกรรม 2.ตรวจร่างกายตามระบบอย่างละเอียดและ
หากเป็นการพบกันครัง้ แรกระหว่างแพทย์และ เน้นการตรวจต่อไปนี้
วัยรุ่น แพทย์ควรเชิญผู้ปกครองให้เข้ามามีส่วนร่วมใน • ผิวหนัง : สิว รอยสัก รอยเจาะ ร่องรอยการ
การพูดคุยด้วยเพือ่ ให้ขอ้ มูลและสอบถามประวัตทิ สี่ ำ� คัญ ถูกท�ำร้าย รอยเข็ม รอยด�ำด้านหลังคอ(acanthosis
รวมทัง้ สังเกตพฤติกรรมหรือบรรยากาศการพูดคุยระหว่าง nigricans)ในกรณีอ้วน ดูรอยแข็งนูนที่ด้านหลังของนิ้ว
ผูป้ กครองและวัยรุน่ หลังจากนัน้ แพทย์ควรพูดคุยกับวัย (Russell’s sign) ในกรณีสงสัย eating disorder เป็นต้น
รุ่นตามล�ำพัง โดยมีแนวทางในการสัมภาษณ์ดังนี้ • ช่องปากและฟัน: ฟันผุ การเจาะลิ้น ฟันสึก
• แจ้งเรื่องการรักษาข้อมูลส่วนตัวหรือความ กร่อน

279
Adolescence (11-18 ปี)

• กระดูกสันหลัง : ดูความสูงต�่ำของไหล่ทั้ง 2 หรือตรวจร่างกายพบว่าซีด เป็นต้น


ข้างและสะโพก การโค้งงอของกระดูกสันหลัง และตรวจ • ตรวจคัดกรองในวัยรุน่ ทีม่ คี วามเสีย่ งของโรค
โดยให้วยั รุน่ ก้มหลังเพือ่ ดูความสูงต�ำ่ ของหลัง( Adam’s ต่อไปนี้
Forward bending test) • วัณโรค ในรายที่มีประวัติสัมผัสใกล้ชิดกับ
• ประเมินพัฒนาการทางเพศ (sexual maturity ผู้ป่วยวัณโรค โดยการทดสอบทูเบอร์คูลิน
rating ; SMR): โดยแพทย์อาจตรวจด้วยตนเองหรือ • ไขมันในเลือดสูง เบาหวาน (ดูรายละเอียดใน
อธิบายแล้วให้วัยรุ่นชี้จากรูปภาพก็ได้ โดยที่เพศชายใช้ ที่ 18)
genital staging และ pubic hair staging และเพศ • ตรวจหาโรคติดเชือ้ ทางเพศสัมพันธ์ ในกรณี
หญิงใช้ breast tanner staging และ pubic hair staging ที่เคยมีเพศสัมพันธ์แบบไม่ป้องกัน ตกขาผิดปรกติหรือ
• หน้าอก : นอกจากประเมินพัฒนาการทาง มีข้อบ่งชี้ (ดูรายละเอียดในบทที่ 21)
เพศในเพศหญิงแล้ว ควรดูว่าหน้าอก 2 ข้างเท่ากันหรือ
III

ไม่ ซึ่งอาจพบเป็นภาวะปรกติได้ในวัยรุ่นแต่อาจเป็น การให้วัคซีน


สาเหตุทที่ ำ� ให้วยั รุน่ กังวลใจ ตรวจภาวะนมโตในเพศชาย ดูรายละเอียดในบทที่ 7
(pubertal gynecomastia)
• อวัยวะเพศ ค�ำปรึกษาแนะน�ำและค�ำแนะน�ำล่วงหน้า
เพศหญิง : ดูลักษณะขนที่บริเวณหัวหน่าว ส่งเสริมความพร้อมของครอบครัว
เพื่อประเมินพัฒนาการทางเพศ ตรวจหาอาการแสดง • อธิบายให้พอ่ แม่เข้าใจพัฒนาการของวัยรุน่
ทีบ่ ง่ ชีว้ า่ ติดเชือ้ และแนะน�ำการตรวจภายใน ตามข้อบ่ง ตอนกลางโดยเฉพาะพฤติกรรมต่างๆที่เปลี่ยนไป โดย
ชี้ ได้แก่ มีประวัติมีเพศสัมพันธ์แล้ว ตกขาว หรือเลือด ควรรับฟัง เข้าใจความรูส้ กึ ของลูกวัยรุน่ พูดคุยกับลูกวัย
ออกผิดปรกติ เป็นต้น รุน่ โดยใช้เหตุผล ไม่ใช้อารมณ์ ชืน่ ชมพ่อแม่ทปี่ รับวิธกี าร
เพศชาย: ดูขนาดของอัณฑะและลักษณะ เลี้ยงให้เหมาะกับวัยรุ่นและเป็นแบบอย่างที่ดี เป็นที่
ขนที่บริเวณหัวหน่าวเพื่อประเมินพัฒนาการทางเพศ ปรึกษาและชีแ้ นะวัยรุน่ ให้เห็นถึงข้อดี ข้อเสีย หรือ เหตุผล
ตรวจหาอาการแสดงที่บ่งชี้ว่าติดเชื้อ ภาวะไส้เลื่อน ถุง ต่างๆ ได้เหมาะสม การส่งเสริมทักษะที่ส�ำคัญ
น�้ำ ก้อน เส้นเลือดขอด เป็นต้น ส่งเสริมวัยรุ่น
• ส่งเสริมให้วัยรุ่นมีวุฒิภาวะที่เหมาะสมตาม
การคัดกรอง วัย (adolescent tasks) ได้แก่
• ตรวจสายตาโดยใช้เครือ่ งมือ เช่น Snellen • ความเป็นตัวของตัวเอง ( independence)
test ถ้าการมองเห็นที่อยู่ตั้งแต่ 20/50 หรือ 6/18 ขึ้น โดยส่งเสริมให้วัยรุ่นกล้าแสดงความคิดเห็น สนับสนุน
ไปอย่างน้อยหนึ่งข้าง ควรส่งต่อ เรื่องการพัฒนาความคิด การแก้ปัญหา การเรียน ความ
• ตรวจระดับฮีโมโกลบิน/ฮีมาโตคริต ในวัย สามารถรอบด้านและการท�ำกิจกรรมต่างๆยามว่างรวม
รุ่นที่อาจมีภาวะเลือดจาง เช่น เลือกรับประทานอาหาร ทั้งมอบหมายงานให้รับผิดชอบอย่างเหมาะสม เป็นต้น
รับประทานมังสวิรัติ วัยรุ่นหญิงที่มีประจ�ำเดือนมามาก • การคบเพื่อน (peers and lifestyle) โดย

280
บุญยิ่ง มานะบริบูรณ์ จริยา ทะรักษา

ส่งเสริมให้วัยรุ่นรู้จักแก้ปัญหากับเพื่อนกรณีที่เกิด ต้อง (good sleep hygiene)


ความขัดแย้งกันโดยสันติวิธี สนับสนุนการท�ำกิจกรรม • อาหารที่มีต่อร่างกาย แนะน�ำให้วัยรุ่นรับ
กลุ่มหรือกิจกรรมจิตอาสา เป็นต้น ประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ได้รับแคลเซียม 1,000-
• ความพอใจกับรูปร่าง หน้าตาของตน และ 1,300 มก.ต่อวันรวมทั้งได้พลังงานพียงพอต่อความ
เข้าใจเรือ่ งเพศได้อย่างถูกต้อง (body image, sexuality) ต้องการของร่างกาย โดยวัยรุน่ หญิงควรได้ 1,600-1,800
โดยอธิบายให้วัยรุ่นเข้าใจถึงผลที่เกิดตามมาของการมี กิโลแคลอรีตอ่ วัน ส่วนวัยรุน่ ชายควรได้รบั 1,800-2,200
เพศสัมพันธ์ บทบาททางเพศในสังคม สิทธิพื้นฐานของ กิโลแคลอรีต่อวัน ทั้งนี้ขึ้นกับกิจกรรมในแต่ละวัน
คนในการปฏิเสธเรื่องเพศ ค่านิยมเรื่องเพศในสังคมไทย • การออกก�ำลังกายต่อร่างกายและจิตใจโดย
เป็นต้น สนับสนุนให้วัยรุ่นออกก�ำลังกายสม�่ำเสมอทุกวันหรือ
• ความมีเอกลักษณ์ของตนเอง การรู้คุณค่า มีกิจกรรมที่ออกแรง (physical activity) อย่างน้อย
ในตนเอง และสามารถวางแผนด้านการเรียนหรือการ 1 ชม.ต่อวัน ลดเวลาการใช้คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ หรือ

III
ท�ำงานในอนาคตทีเ่ ป็นจริงได้ (identity, moral, realistic ดูโทรทัศน์ (screen time) เท่าที่จ�ำเป็นแต่ไม่ควรเกิน
vocational and educational goal) โดยชี้ให้วัยรุ่น 2 ชม.ต่อวัน (6)
เห็นจุดเด่นหรือความสามารถของตนเอง ปลูกฝังการมี • การดูแลช่องปากและฟันที่ถูกต้องโดยใช้
จิตสาธารณะและส่งเสริมให้วัยรุ่นเรียนหรือท�ำงานใน ยาสีฟันที่มีฟลูออร์ไรด์และไหมขัดฟันรวมทั้ง แนะน�ำให้
ด้านที่ตนเองถนัดหรือชอบบนพื้นฐานที่เป็นไปได้ รวม พบทันตแพทย์ปีละ 2 ครั้ง
ทั้งกระตุ้นให้วัยรุ่นคิดและหาข้อมูลทางด้านการเรียน
หรืออาชีพในอนาคตด้วยตนเองอย่างจริงจังขึ้น เป็นต้น ค�ำแนะน�ำเพือ่ ความปลอดภัยและแนวทางลด
• ปรับกติกาในบ้านให้เหมาะสมกับวัยรุน่ เช่น ความเสี่ยง (รายละเอียดดูในบทที่ 10)
การจ�ำกัดเรือ่ งเวลาในการเล่นอินเตอร์เน็ต หรือ การพูด • สนับสนุนให้วยั รุน่ งดหรือหลีกเลีย่ งการมีเพศ
คุยออนไลน์ผ่านอินเตอร์เน็ต ท�ำความเข้าใจกับวัยรุ่น สัมพันธ์โดยให้ความรู้เรื่องเพศศึกษา เช่น ผลของการมี
เรือ่ งการรับสือ่ อย่างมีสติ การใช้อนิ เตอร์เน็ตอย่างฉลาด เพศสัมพันธ์ในวัยรุ่น ผลของการตั้งครรภ์ต่อมารดาและ
ไม่ถูกหลอกเป็นเหยื่อ เป็นต้น ทารก ปัจจัยทีท่ ำ� ให้วยั รุน่ มีเพศสัมพันธ์กอ่ นวัย ท�ำอย่างไร
• ส่งเสริมให้วยั รุน่ เห็นความส�ำคัญของตนเอง ให้ห่างไกลความเสี่ยงเรื่องเพศ เป็นต้น ส�ำหรับผู้ที่มีเพศ
และมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเอง รวมทั้ง สัมพันธ์แล้วให้แนะน�ำวิธปี อ้ งกันการตัง้ ครรภ์และการติด
สนับสนุนด้านการเรียน แบ่งเวลาเรียนให้เหมาะสมและ เชือ้ ทางเพศสัมพันธ์อย่างมีประสิทธิภาพ(dual method))
แนะวิธีจัดการกับความเครียด โดยใช้ยาคุมก�ำเนิดร่วมกับถุงยางอนามัย รวมทัง้ แนะน�ำ
ให้ตรวจภายในปีละครั้ง
การส่งเสริมสุขนิสัยที่ดี • งดหรือหลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ ดื่มเครื่องดื่ม
อธิบายให้วัยรุ่นเข้าใจถึงประโยชน์ของ ที่มีแอลกอฮอล์และใช้สารเสพติดทุกชนิด กรณีที่ใช้อยู่
• การนอนหลับอย่างเพียงพอ ประมาณ 8-10 แนะน�ำให้ลดการใช้และป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจ
ชม.ต่อวันรวมทัง้ ส่งเสริมให้มสี ขุ อนามัยในการนอนทีถ่ กู เกิดขึน้ รวมทัง้ ชีใ้ ห้เห็นว่าสาเหตุการตายทีส่ ำ� คัญของวัย

281
Adolescence (11-18 ปี)

รุน่ อายุ15-24 ปีเกิดจากอุบตั เิ หตุบนท้องถนนซึง่ สัมพันธ์ • แจ้งวันนัดพบครั้งต่อไป ตามความจ�ำเป็น


กับการดื่มที่มีแอลกอฮอล์ โดยทัว่ ไป ถ้าเป็นวัยรุน่ ทีม่ สี ขุ ภาพแข็งแรงและไม่มคี วาม
• หลีกเลีย่ งสถานการณ์เสีย่ งต่อการถูกท�ำร้าย เสี่ยง แพทย์สามารถนัดตรวจสุขภาพได้ทุกปี หรืออย่าง
หรือถูกล่วงละเมิด ฝึกทักษะการปฏิเสธและการแก้ ปัญหา น้อยช่วงวัยละ 1 ครั้ง เช่น วัยรุ่นตอนกลาง 1 ครั้ง ครั้ง
เฉพาะหน้าในสถานการณ์ที่เสี่ยงสูง ไม่ใช้ความรุนแรง ต่อไปในช่วงวัยรุ่นตอนปลายในบางสถานบริการอาจให้
แก้ปัญหา บริการผู้ป่วยเด็กและวัยรุ่นถึงอายุ 15 ปี เท่านั้น ดังนั้น
• ส่งเสริมการปฏิบตั ติ ามกฎจราจร สวมหมวก แพทย์ควรให้ข้อมูลเพื่อเตรียมวัยรุ่นและครอบครัวถึง
นิรภัยหรือคาดเข็มขัดนิรภัยทุกครั้งที่ขับขี่รวมทั้งเน้นย�้ำ การเปลีย่ นถ่ายการรักษาจากระบบการรักษาแบบเด็กสู่
เรื่องการขับขี่โดยไม่มีใบอนุญาตขับขี่ ระบบการรักษาแบบผู้ใหญ่ โดยเฉพาะวัยรุ่นที่มีโรค
ประจ�ำตัว หรือ โรคเรื้อรัง ซึ่งแพทย์ควรเตรียมความ
ก่อนกลับ พร้อมวัยรุน่ ถึงความเจ็บป่วยทีเ่ ป็นอยู่ การรักษาทีเ่ คยได้
III

• เปิดโอกาสให้วัยรุ่นสอบถามสิ่งที่สงสัย รับและการรักษาในปัจจุบัน เป็นต้น


• ทบทวนโดยให้วัยรุ่นสรุปเรื่องที่พูดคุยหรือ • ให้หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อแก่วัยรุ่นกรณีมี
แนวทางแก้ไขปัญหาที่ได้ในวันนี้ ข้อสงสัย
• กรณีทกี่ ารแก้ปญั หาต้องได้รบั ความร่วมมือ
จากพ่อแม่ ก่อนกลับ แพทย์ควรเชิญพ่อแม่เข้ามาพูดคุย
ด้วย โดยแพทย์ควรพูดคุยกับวัยรุ่นให้ทราบถึงความ อายุ 18-21 ปี
จ�ำเป็นทีต่ อ้ งให้พอ่ แม่ทราบในบางเรือ่ ง และเรือ่ งใดบ้าง วัยรุ่นตอนปลายเป็นวัยที่ร่างกายมีการเจริญ
ทีจ่ ะต้องบอกพ่อแม่ เพือ่ ให้วยั รุน่ ได้รบั ทราบก่อนแพทย์ เติบโตและเปลีย่ นแปลงทางเพศเต็มทีแ่ ล้ว มีความรูค้ วาม
บอกพ่อแม่ รวมทัง้ ให้วยั รุน่ เลือกทีจ่ ะบอกพ่อแม่เองหรือ เข้าใจเรื่องการเปลี่ยนแปลงต่างๆของร่างกายและเริ่มมี
จะให้แพทย์เป็นผู้บอก ความรู้สึก นึกคิดเป็นนามธรรมมากขึ้น ใช้เหตุผลในการ
• กรณีที่พ่อแม่ต้องการสอบถามแพทย์ถึง แก้ปัญหา มีจุดมุ่งหมายในอนาคตเรื่องการเรียน งาน
ปัญหาสุขภาพหรือปัญหาพฤติกรรมของวัยรุ่นก่อนกลับ หรือคูค่ รองชัดเจนขึน้ ขณะเดียวกันบางรายอาจมีคคู่ รอง
แพทย์ควรอธิบายให้พ่อแม่เข้าใจทั้งปัญหาพัฒนาการ เป็นพ่อแม่ หรือ ท�ำงานแล้ว ท�ำให้มีโอกาสพบเจอกับ
และพฤติกรรมของวัยรุ่น และบอกแนวทางการเลี้ยงดู พฤติกรรมเสี่ยงเพิ่มขึ้นจากการเข้าสังคม อาทิเช่น การ
วัยรุ่น หากพ่อแม่ต้องการทราบรายละเอียดที่เป็นเรื่อง ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์กับเพื่อน การสูบบุหรี่ เมา
ส่วนตัวของวัยรุ่นแพทย์สามารถทบทวนเรื่องการเก็บ แล้วขับ เป็นต้น กล่าวโดยรวมวัยรุ่นช่วงนี้มีความคิดที่มี
รักษาข้อมูลส่วนตัวหรือความลับของวัยรุ่นและข้อบ่งชี้ ความเป็นผูใ้ หญ่มากขึน้ มีความรับผิดชอบมากขึน้ ทัง้ กับ
ในการเปิดเผย รวมทัง้ บทบาทของแพทย์ในการให้ความ ตัวเองและครอบครัว แต่ยังคงมีความเสี่ยงทั้งในด้าน
ช่วยเหลือวัยรุ่นตามที่กล่าวตอนต้น เพื่อให้ผู้ปกครอง สุขภาพกายและจิตใจ ดังนัน้ ยังมีความจ�ำเป็นต้องได้รบั ค�ำ
เข้าใจ โดยพยายามหลีกเลี่ยงไม่ให้พ่อแม่รู้สึกว่า แพทย์ แนะน�ำปรึกษาจากผู้ใหญ่รอบข้างที่ไว้ใจได้ เพื่อให้เขา
และวัยรุ่นปิดบังเรื่องราวบางอย่างไว้ เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่สมบูรณ์ทั้งกายและใจ

282
บุญยิ่ง มานะบริบูรณ์ จริยา ทะรักษา

ประเมินปัญหาด้านสุขภาพและปัญหาทาง ตรวจร่างกาย
จิตใจ สังคมและพฤติกรรม 1. ประเมินการเจริญเติบโตด้วยการ: ชั่งน�้ำ
แพทย์ควรพูดคุยและให้เกียรติวยั รุน่ เหมือนพูด หนัก วัดส่วนสูง ค�ำนวนดัชนีมวลกาย และบันทึกข้อมูล
คุยกับผู้ใหญ่คนหนึ่งเนื่องจากช่วงนี้ถือได้ว่าวัยรุ่นบรรลุ ลงบนกราฟการเจริญเติบโต
นิติภาวะแล้ว แพทย์สามารถพูดคุยกับวัยรุ่นตามล�ำพัง 2. ตรวจร่างกายตามระบบอย่างละเอียดและ
โดยไม่ต้องขออนุญาตพ่อแม่ได้ เน้นการตรวจต่อไปนี้
• ผิวหนัง : สิว รอยสัก รอยเจาะ ร่องรอยการ
แนวทางในการสัมภาษณ์วัยรุ่น ถูกท�ำร้าย รอยเข็ม รอยด�ำด้านหลังคอ (acanthosis
• หลังแนะน�ำตัวและท�ำความรูจ้ กั แพทย์ควร nigricans) ในกรณีอ้วน ดูรอยแข็งนูนที่ด้านหลังของนิ้ว
อธิบายให้วยั รุน่ ทราบถึงบทบาทของแพทย์ในการให้ความ (Russell’s sign) ในกรณีสงสัย eating disorder เป็นต้น
ดูแลและช่วยเหลือ รวมทัง้ แจ้งเรือ่ งการรักษาข้อมูลส่วน • ช่องปากและฟัน: ฟันผุ การเจาะลิน้ ฟันสึก

III
ตัวหรือความลับของผู้ป่วย (patient confidentiality) กร่อน
ให้ทราบ เพื่อให้วัยรุ่นมั่นใจและเข้าใจ แนวทางในการ • กระดูกสันหลัง : ดูความสูงต�่ำของไหล่ทั้ง 2
ดูแลรักษารวมถึงการให้ค�ำแนะน�ำของแพทย์แก่วัยรุ่น ข้างและสะโพก การโค้งงอของกระดูกสันหลัง และตรวจ
• หากจ�ำเป็น แพทย์สามารถขอสอบถามปัญหา โดยให้วยั รุน่ ก้มหลังเพือ่ ดูความสูงต�ำ่ ของหลัง( Adam’s
หรือความกังวลใจที่ผ่านมารวมถึงประวัติต่างๆที่ส�ำคัญ Forward bending test)
จากผูป้ กครองได้ เช่น ประวัติการคลอด ประวัตกิ ารเจ็บ • ประเมินพัฒนาการทางเพศ (sexual maturity
ป่วยในอดีต ประวัติยา เป็นต้น rating; SMR): โดยแพทย์อาจตรวจด้วยตนเองหรืออธิบาย
• ประเมินปัญหาทางด้านสังคม จิตใจและ แล้วให้วยั รุน่ ชีจ้ ากรูปภาพก็ได้ โดยทีเ่ พศชายใช้ genital
พฤติกรรม โดยใช้ HEEADSS interview โดยการซัก staging และ pubic hair staging และเพศหญิงใช้
ถามวัยรุน่ เกีย่ วกับ บรรยากาศและความสัมพันธ์ในบ้าน breast tanner staging และ pubic hair staging
การกินอาหาร การเรียนหรือการงาน กิจกรรมและเพือ่ น • หน้าอก : นอกจากประเมินพัฒนาการทาง
การใช้ยาหรือสารเสพติด พฤติกรรมทางเพศ อารมณ์ เพศในเพศหญิงแล้ว ควรดูว่าหน้าอก 2 ข้างเท่ากันหรือ
และความรู้สึกเศร้า ความรู้สึกอยากฆ่าตัวตาย ความ ไม่ ซึ่งอาจพบเป็นภาวะปรกติได้ในวัยรุ่นแต่อาจเป็น
รุนแรงและความปลอดภัย (ดูรายละเอียดในบทความ สาเหตุทที่ ำ� ให้วยั รุน่ กังวลใจ ตรวจภาวะนมโตในเพศชาย
เรื่อง การให้ค�ำแนะน�ำในการป้องกันอุบัติเหตุตามวัย) (pubertal gynecomastia)
โดยวัยรุ่นตอนปลายนั้น ควรให้ความส�ำคัญในเรื่อง • อวัยวะเพศ
แผนการเรียน การงานในอนาคต ทัศนคติเรื่องคู่ครอง เพศหญิง : ดูลักษณะขนที่บริเวณหัวหน่าว
ความสัมพันธ์กบั คนรักในปัจจุบนั รวมถึงความรูเ้ รือ่ งการ เพื่อประเมินพัฒนาการทางเพศ ตรวจหาอาการแสดงที่
มีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัย และพฤติกรรมสีย่ งด้านอืน่ บ่งชีว้ า่ ติดเชือ้ และแนะน�ำการตรวจภายใน ตามข้อบ่งชี้
เป็นต้น ได้แก่ มีประวัตมิ เี พศสัมพันธ์แล้ว ตกขาว หรือเลือดออก
• สอบถามอาการตามระบบ (review of system) ผิดปรกติ เป็นต้น

283
Adolescence (11-18 ปี)

เพศชาย: ดูขนาดของอัณฑะและลักษณะ หรือ เหตุผลต่างๆ อย่างเหมาะสม


ขนที่บริเวณหัวหน่าวเพื่อประเมินพัฒนาการทางเพศ
ตรวจหาอาการแสดงที่บ่งชี้ว่าติดเชื้อ ภาวะไส้เลื่อน ถุง การส่งเสริมทักษะส�ำคัญ
น�้ำ ก้อน เส้นเลือดขอด เป็นต้น • ความเป็นตัวของตัวเอง ( independence)
โดยส่งเสริมให้วยั รุน่ กล้าแสดงความคิดเห็น สนับ สนุนกา
การคัดกรอง รพัฒนาความคิด การแก้ปญ ั หา การเรียน ความสามารถ
• ตรวจสายตาด้วยเครื่องมือ เช่น Snellen รอบด้านและการท�ำกิจกรรมยามว่าง รวมทั้งมอบงานที่
test การมองเห็นที่อยู่ตั้งแต่ 20/50 หรือ 6/18 ขึ้นไป เหมาะสมให้รับผิดชอบ เป็นต้น
อย่างน้อยหนึ่งข้าง ควรส่งต่อตรวจระดับฮีโมโกลบิน/ฮี • การคบเพือ่ น ส่งเสริมให้วยั รุน่ รูจ้ กั แก้ปญ
ั หา
มาโตคริต ในวัยรุ่นที่อาจมีภาวะเลือดจาง เช่น เลือกรับ กับเพื่อนเมื่อเกิดความขัดแย้งกันโดยสันติวิธี สนับสนุน
ประทานอาหาร รับประทานมังสวิรัติ วัยรุ่นหญิงที่มี การท�ำกิจกรรมกลุ่มและกิจกรรมจิตอาสา เป็นต้น
III

ประจ�ำเดือนมาก หรือตรวจร่างกายพบว่าซีด เป็นต้น • ความพอใจกับรูปร่าง หน้าตาของตน และ


• ตรวจคัดกรองในวัยรุน่ ทีม่ คี วามเสีย่ งของโรค เข้าใจเรือ่ งเพศได้อย่างถูกต้อง โดยอธิบายให้วยั รุน่ เข้าใจ
• วัณโรค ในรายที่มีประวัติสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ ถึงผลทีต่ ามมาของการมีเพศสัมพันธ์ บทบาททางเพศใน
ป่วยโรควัณโรค โดยการทดสอบทูเบอร์คูลิน สังคม สิทธิพื้นฐานในการปฏิเสธเรื่องเพศ ค่านิยมเรื่อง
• ไขมันในเลือดสูง เบาหวาน (ดูรายละเอียด เพศในสังคมไทย เป็นต้น
ในบทความเรื่อง แนวทางการคัดกรองไขมันในเลือดใน • ความมีเอกลักษณ์ของตนเอง การรู้คุณค่า
เด็กและวัยรุ่น และแนวทางการคัดกรองเบาหวาน) ในตนเอง และสามารถวางแผนการเรียนหรือการท�ำงาน
• ตรวจหาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ในกรณี ในอนาคตทีส่ มเหตุสมผล โดยชีใ้ ห้วยั รุน่ เห็นจุดเด่นหรือ
ที่เคยมีเพศสัมพันธ์แบบไม่ป้องกัน ตกขาว ผิดปรกติ ความสามารถของตนเอง ปลูกฝังการมีจติ สาธารณะและ
หรือมีข้อบ่งชี้ (ดูรายละเอียดในบทที่ 21) ส่งเสริมให้วัยรุ่นเรียนหรือท�ำงานในด้านที่ตนเองถนัด
หรือชอบ บนพื้นฐานที่เป็นไปได้ รวมทั้งกระตุ้นให้วัยรุ่น
การให้วัคซีน คิดและหาข้อมูลทางด้านการเรียนต่อหรืออาชีพในอนาคต
ดูรายละเอียดในบทที่ 7 ด้วยตนเองอย่างจริงจัง เป็นต้น
• ปรับกติกาในบ้านให้เหมาะสมกับวัยรุน่ เช่น
ค�ำแนะน�ำและค�ำแนะน�ำล่วงหน้าส�ำหรับพ่อแม่ วัยรุน่ บางคนอาจท�ำงานท�ำให้จำ� เป็นต้องกลับบ้านดึกพ่อ
ส่งเสริมความพร้อมของครอบครัว แม่และวัยรุน่ ควรก�ำหนดเวลากลับบ้านทีเ่ หมาะสม หรือ
• อธิบายให้พอ่ แม่เข้าใจพัฒนาการของวัยรุน่ ข้อยกเว้นในกรณีที่จ�ำเป็นแต่ควรสื่อสารให้ทางบ้านได้
ตอนปลาย โดยควรรับฟัง เข้าใจความรู้สึกของลูกวัยรุ่น รับทราบ หรือ หากไปสังสรรค์กับเพื่อน และมีการดื่ม
พูดคุยกับลูกวัยรุ่นด้วยเหตุผล ไม่ใช้อารมณ์ เครือ่ งดืม่ ทีม่ แี อลกอฮอล์ วัยรุน่ ควรหลีกเลีย่ ง หากเลีย่ ง
• ชืน่ ชมพ่อแม่ทเี่ ป็นทีป่ รึกษาให้กบั วัยรุน่ และ ไม่ได้ค วรจ�ำกัด ปริม าณที่ด ื่ม นอกจากนีพ้ อ่ แม่ควรท�ำความ
เป็นแบบอย่างที่ดี ชี้แนะวัยรุ่นให้เห็นถึงข้อดี ข้อเสีย เข้าใจกับวัยรุ่นเรื่องการรับสื่ออย่างมีสติ เป็นต้น

284
บุญยิ่ง มานะบริบูรณ์ จริยา ทะรักษา

• ส่งเสริมให้วยั รุน่ เห็นความส�ำคัญของตนเอง สัมพันธ์โดยให้ความรู้เรื่องเพศศึกษา เช่น ผลของการมี


และรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเองมากขึ้น เช่น รับผิด เพศ สัมพันธ์ในวัยรุน่ ผลของการตัง้ ครรภ์ตอ่ มารดาและ
ชอบค่าใช้จ่ายส่วนตัวด้วยตนเองกรณีที่ท�ำงานแล้ว ทารก ปัจจัยทีท่ ำ� ให้วยั รุน่ มีเพศสัมพันธ์กอ่ นวัย ท�ำอย่างไร
สนับสนุนด้านการเรียน แบ่งเวลาเรียนให้เหมาะสม ให้ห่างไกลความเสี่ยงจากพฤติกรรมทางเพศ เป็นต้น
บริหารจัดการเวลาท�ำงานและสังสรรค์ รวมทั้งแนะน�ำ ส�ำหรับผูท้ มี่ เี พศสัมพันธ์แล้ว ให้แนะน�ำวิธปี อ้ งกันการตัง้
วิธีจัดการกับความเครียด ครรภ์และการติดเชือ้ ทางเพศสัมพันธ์อย่างมีประสิทธิภาพ
(dual method) โดยการใช้ยาคุมก�ำเนิดร่วมกับถุงยาง
การส่งเสริมสุขนิสัยที่ดี อนามัย รวมทั้งแนะน�ำให้ตรวจภายในปีละ 1 ครั้ง
• อธิบายให้วัยรุ่นเข้าใจถึงประโยชน์ของการ • ดหรือหลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ ดื่มเครื่องดื่มที่
นอนหลับที่เพียงพอ ประมาณ 8-10 ชม.ต่อวัน รวมทั้ง มีแอลกอฮอล์และการใช้สารเสพติดทุกชนิด กรณีที่ใช้
ส่งเสริมให้มีสุขอนามัยการนอนที่ถูกต้อง (good sleep อยู่แนะน�ำให้ลดการใช้ และป้องกันภาวะแทรกซ้อน

III
hygiene) ที่อาจเกิดขึ้น รวมทั้งชี้ให้เห็นว่าสาเหตุการตายที่ส�ำคัญ
• อธิบายให้วยั รุน่ เข้าใจถึงประโยชน์ของอาหาร ของวัยรุน่ อายุ 15-24 ปีเกิดจากอุบตั เิ หตุบนท้องถนนซึง่
ทีม่ ตี อ่ ร่างกาย แนะน�ำให้วยั รุน่ รับประทานอาหารให้ครบ สัมพันธ์กับการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
5 หมู่ และได้รับแคลเซียม 1000-1300 มก.ต่อวัน รวม • หลีกเลีย่ งสถานการณ์ทเี่ สีย่ งต่อการถูกท�ำร้าย
ทัง้ ได้ พลังงานพียงพอต่อความ ต้องการของร่างกายโดย หรือล่วงละเมิด ฝึกทักษะการปฏิเสธและการแก้ ปัญหา
วัยรุ่นหญิงควรได้ 1600-1800 กิโลแคลอรีต่อวัน ส่วน เฉพาะหน้าในสถานการณ์ที่เสี่ยงสูง ไม่ใช้ความรุนแรง
วัยรุ่นชายควรได้รับ1800-2200 กิโลแคลอรีต่อวัน ทั้งนี้ แก้ปัญหา
ขึ้นกับกิจกรรมในแต่ละวัน • ส่งเสริมการปฏิบตั ติ ามกฎจราจร สวมหมวก
• อธิบายถึงประโยชน์ของการออกก�ำลังกาย นิรภัยหรือคาดเข็มขัดนิรภัยทุกครัง้ ทีข่ บั ขี่ รวมทัง้ เน้นย�ำ้
ต่อร่างกายและจิตใจโดยสนับสนุนให้วยั รุน่ ออกก�ำลังกาย เรื่องการขับขี่โดยไม่มีใบอนุญาตขับขี่
สม�่ำเสมอทุกวันหรือมีกิจกรรมที่ออกแรง อย่างน้อย 1
ชม.ต่อวัน ลดเวลาการใช้คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์หรือดู ก่อนกลับ
โทรทัศน์ (screen time) เท่าที่จ�ำเป็น แต่ไม่ควรเกิน 2 • เปิดโอกาสให้วัยรุ่นสอบถามสิ่งที่สงสัย
ชม.ต่อวัน • ทบทวนโดยให้วัยรุ่นสรุปเรื่องที่พูดคุยหรือ
• อธิบายเรื่องการดูแลช่องปากและฟันที่ถูก แนวทางแก้ไขปัญหาทีไ่ ด้ในวันนี้ โดยแพทย์ควรให้กำ� ลัง
ต้องโดยใช้ยาสีฟันที่มีฟลูออร์ไรด์และไหมขัดฟันรวมทั้ง ใจเพือ่ ให้วยั รุน่ มีความพยายามทีจ่ ะปรับเปลีย่ นหรือแก้ไข
แนะน�ำให้พบทันตแพทย์ปีละ 2 ครั้ง ปัญหาด้วยตนเอง
• กรณีทกี่ ารแก้ปญ
ั หาต้องได้รบั ความร่วมมือ
ค�ำแนะน�ำเพื่อความปลอดภัย และแนวทาง จากผู้ปกครอง ก่อนกลับ แพทย์ควรบอกวัยรุ่นถึงความ
ลดความเสี่ยง (รายละเอียดดูในบทที่ 10) ส�ำคัญของการเชิญผูป้ กครองเข้ามาพูดคุยด้วย โดยแพทย์
• สนับสนุนให้วยั รุน่ งดหรือหลีกเลีย่ งการมีเพศ ควรพูดคุยกับวัยรุ่นให้ทราบถึงความจ�ำเป็นที่ต้องให้

285
Adolescence (11-18 ปี)

ผู้ปกครองทราบในบางเรื่อง และเรื่องใดบ้างที่จะต้อง ผู้ใหญ่ ในกรณีที่วัยรุ่นมีโรคประจ�ำตัว หรือ โรคเรื้อรัง


บอกผู้ปกครอง เพื่อให้วัยรุน่ ได้รบั ทราบก่อนแพทย์บอก แพทย์ควรเตรียมความพร้อมวัยรุ่นรวมไปถึงการดูแล
ผู้ปกครองรวมทั้งให้วัยรุ่นเลือกที่จะบอกผู้ปกครองเอง ตนเองในโรคที่เจ็บป่วย การใช้ชีวิต การรักษาที่เคยได้
หรือจะให้แพทย์เป็นผู้บอก รับและการรักษาในปัจจุบัน เป็นต้น
• แจ้งวันนัดพบครัง้ ต่อไป โดยนัดตรวจสุขภาพ • ให้หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อแก่วัยรุ่นกรณีมี
ทุกปี หรืออย่างน้อยช่วงวัยละ 1 ครัง้ รวมทัง้ ควรให้ขอ้ มูล ข้อสงสัย
เพื่อเตรียมวัยรุ่นและครอบครัวถึงการเปลี่ยนถ่ายการ
รักษาจากระบบการรักษาแบบเด็กสูร่ ะบบการรักษาแบบ
III

286
Guideline in Child Health Supervision

เอกสารอ้างอิง
1. Bright Future Visit: Infancy. In: Hagen JF, Shaw JS, Duncan PM. Bright Futures: Guidelines for Health
Supervision of Infants, Children and Adolescents, 3rd ed. Illinois : American Academy of Pediatrics; 2008:
253-67
2. Bright Future Visit: Early childhood. In: Hagen JF, Shaw JS, Duncan PM. Bright Futures: Guidelines for
Health Supervision of Infants, Children and Adolescents, 3rd ed. Illinois : American Academy of Pediatrics;
2008: 383-461
3. Bright future Visit: Middle childhood In: Hagen JF, Shaw JS, Duncan PM. Bright Futures: Guidelines for
Health Supervision of Infants, Children and Adolescents, 3rd ed. Illinois : American Academy of Pediatrics.
[Online].2008 [cited 2013 decem ber 3]: Avaiable from: URL:http://www.brightfuture.org
4. BrightFuture Visit: Adolescence. In: Joseph F. Hagan, Judith S. Shaw, Paula M. Duncan, editors. Guidelines
for Health Supervision of Infants, Children, and Adolescents. 3rd ed. illinois: American Academy of Pediatrics;
2008:515-59.
5. Specht EE. Congenital dislocation of the hip. West J Med. 1976;124(1): 18-28.
6. Feigelman S. The first year. In: Kliegman RM, Stanton BMD, Geme JS, Schor N, Behrman RE, editors.
Nelson textbook of Pediatrics. 19th ed. Philadelphia: Elsevier Saunders. 2011: 26-31.
7.Kimmel SR, Ratliff-Schaub K. Growth and Development. In: Rakel RE, Rakel DP, editors.Textbook of family
medicine. 8th ed. Texas: Elsevier Saunders. 2011: 421-41.
8. Hazen EP, Abrams AN, Muriel AC, Danforth N. Child, Adolescent, and Adult Development. In: Stern TA,
Rosenbaum JF, Fava M, Biederman J, Rauch SL, editor. Massachusetts general hospital comprehensive
clinical psychiatry. 1st ed. China. Elsevier Saunders. 2011: 59-75.
9. Johnson CP. Recognition of autism before age 2 years. Pediatr Rev 2008; 29: 86-96.
10. Hoon AH, Jr., Pulsifer MB, Gopalan R, Palmer FB, Capute AJ. Clinical Adaptive Test/Clinical Linguistic
Auditory Milestone Scale in early cognitive assessment. J Pediatr 1993; 123: S1-8.
11. Dixon SD, Hennessy MJ. One year: one giant step forward. In: Dixon SD, Stein MT, editors. Encounters
with children. 4th ed. Philadelphia: Mosby Inc; 2006:322-51.
12. BrazeltonTouchpointsCenter. Touchpoints Reference Guide and Participant Training Materials. 2000.
13. Sparrow J, Brazelton TB. Anticipatory guidance in well child care visits in the first 3 years: The
TouchpointsTM model of development. In: Augustyn M, Zuckerman B, Caronna EB, editors. The Zuckerman
Parker Handbook of Developmental and Behavioral Pediatrics for Primary Care. 3rd ed. Philadelphia, PA:
Lippincott Williams & Wilkins; 2011: 18-22.
14. Zuckerman B, Parker S, Kaplan-Sanoff M. Teachable moments in primary care. In: Augustyn M, Zuckerman B,
Caronna EB, editors. The Zuckerman Parker Handbook of Developmental and Behavioral Pediatrics for
Primary Care. 3rd ed. Philadelphia, PA: Lippincott Williams & Wilkins; 2011: 12-7.
15. Feigelman S. The first year. In: Kliegman RM, Stanton BF, St. Geme JW, Schor NF, Behrman RE, editors.

287
Guideline in Child Health Supervision

Nelson Textbook of Pediatrics. 19th ed. Philadelphia: Elsevier Saunders; 2011: 26-31.
16. Johnson CP, Blasco PA. Infant growth and development. Pediatr Rev 1997; 18: 224-42.
17. Trozzi M, Stein MT. 15 to 18 Months: Declaring independence and pushing the limits. In: Dixon SD,
Stein MT, editors. Encounters with children. 4th ed. Philadelphia: Mosby Inc; 2006: 353-81.
18. Robins DL, Fein D, Barton ML, Green JA. The Modified Checklist for Autism in Toddlers: an initial study
investigating the early detection of autism and pervasive developmental disorders. J Autism Dev Disord
2001; 31: 131-44.
19. American Academy of Pediatrics, Council on Children With Disabilities. Identifying infants and young
children with developmental disorders in the medical home: an algorithm for developmental surveillance
and screening. Pediatrics 2006; 118: 405-20.
20. Frankenburg WK, Dodds J, Archer P, Shapiro H, Bresnick B. The Denver II: a major revision and
restandardization of the Denver Developmental Screening Test. Pediatrics 1992; 89: 91-7.
21. Dixon SD, Stein MT. First days at home: making a place in the family. In: Dixon SD, Stein MT, editors.
Encounters with children. 4th ed. Philadelphia: Mosby Inc; 2006: 201-21.
22. Dixon SD. Two years: language leaps. In: Dixon SD, Stein MT, editors. Encounters with children. 4th ed.
Philadelphia: Mosby Inc; 2006: 382-409.
23. Leppert M. Neurodevelopmental assessment and medical evaluation. In: Voigt RG, Macias MM, Myers
SM, editors. Developmental and Behavioral Pediatrics. 1st ed. Elk Grove Village, IL: American Academy of
Pediatrics; 2011: 93-120.
24. Chonchaiya W, Nuntnarumit P, Pruksananonda C. Comparison of television viewing between children
with autism spectrum disorder and controls. Acta Paediatr 2011; 100: 1033-7.
25. Chonchaiya W, Pintunan P, Pruksananonda C. M-CHAT Thai version. 2011; Available from: http://www2.
gsu.edu/~psydlr/DianaLRobins/Official_M-CHAT_Website_files/M-CHAT_Thai.pdf.
26. Brown A. Media use by children younger than 2 years. Pediatrics 2011; 128: 1040-5.
27. Strasburger VC, Jordan AB, Donnerstein E. Children, adolescents, and the media: health effects. Pediatr
Clin North Am 2012; 59: 533-87, vii.
28. Chonchaiya W, Pruksananonda C. Television viewing associates with delayed language development.
Acta Paediatr 2008; 97: 977-82.
29. Tanimura M, Okuma K, Kyoshima K. Television viewing, reduced parental utterance, and delayed speech
development in infants and young children. Arch Pediatr Adolesc Med 2007; 161: 618-9.
30. Kirkorian HL, Pempek TA, Murphy LA, Schmidt ME, Anderson DR. The impact of background television
on parent-child interaction. Child Dev 2009; 80: 1350-9.
31. Dixon SD. Three years: Emergence of magic. In: Dixon SD, Stein MT, editors. Encounters with children:
Pediatric behavior and development, 4thed. Philadelphia: Mosby Elsveir; 2006: 410-433.
32. Hagan JF, Shaw JS, Duncan PM. Promoting child development . In: Bright futures: guidelines for health
supervision of infants, children, and adolescent, 3rded. American Academy of Pediatrics; [Online].2008

288
Guideline in Child Health Supervision

[cited 2013 December]; Available from http://brightfutures.aap.org/pdfs/Guidelines_PDF/3-Promoting_


Child_Development.pdf: 39-76
33. Baker RC. Well-child visits-Early childhood: 2 to 3 years. In: Baker RC, editors. Pediatric primary care:
well-child care. Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins; 2001: 155-60.
34. Bright future visit: Early childhood. In: Hagan JF, Shaw JS, Duncan PM. Bright futures: guidelines for
health supervision of infants, children, and adolescent, 3rded. American Academy of Pediatrics. [online].
2008.[cite 2013 Dec]:.Available from http://brightfutures.aap.org/pdfs/Guidelines_PDF/16-Early_Childhood.
pdf: 439-48
35. Stein MT, Lukasik MK. Developmental screening and assessment: infants, toddlers, and preschoolers.
In: Carey WB, Crocker AC, Coleman WL, Elias ER, Feldman HM. Developmental-behavioral pediatrics. 4th
edition Philadelphia: Saunders Elsevier; 2009: 785-96.
36. Frankenburg WK, DoddsJ, Archer P, Bresnick B, Maschla P, Edelman N, et al.DENVER II Screening manual.
Denver: Denver developmental material incooperated; 1992.
37. Tingley DH. Vision screening essentials: screening today for eye disorders in the pediatric patient.
PedsinRev. 2007; 28(2): 54-61.
38. Executive summary. In: Developing early literacy: report of the national early literacy panel: A Scientiic
Synthesis of Early Literacy Development and Implications for Intervention. National institute for literacy
and National center for family literacy. [online]. 2008. [cited 2013 Dec]: Available from https://www.nichd.
nih.gov/publications/pubs/documents/NELPReport09.pdf.
39. Dixon SD. Four years: clearer sense of self. In: Dixon SD, Stein MT, editors. Encounters with children:
Pediatric behavior and development, 4thed. Philadelphia: Mosby Elsveir; 2006: 434-56.
40. Hagan JF, Shaw JS, Duncan PM. Promoting child development. In: Bright futures: guidelines for health
supervision of infants, children, and adolescent, 3rded. American Academy of Pediatrics; [online]. 2008.
[cited 2013 Dec]: Available from http://brightfutures.aap.org/pdfs/Guidelines_PDF/3-Promoting_Child_
Development.pdf: 39-76.
41. Baker RC. Well-child visits-Early childhood: 2 to 3 years. In: Baker RC, editors. Pediatric primary care:
well-child care. Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins; 2001: 155-160.
42. Durrant JE. Positive Discipline: What it is and how to do it. Save the Children Sweden Southeast Asia
and the Pacific. [online]. 2007[cited 2013 December]: Available from http://seap.savethechildren.se/Global/
scs/SEAP/publication/publication%20pdf/Child%20Protection/Positive%20Discipline%20Report%2023
Aug07.pdf.
43. High PC, the Committee on Early Childhood, Adoption, and Dependent Care and Council on School
Health. School readiness. PEDIATRICS. 2008; 121(4): e1008 -e1015.
Executive summary. In: Developing early literacy: report of the national early literacy panel: A Scientiic
Synthesis of Early Literacy Development and Implications for Intervention. National institute for literacy
and National center for family literacy. [online]. 2008 [cited 2013 December]: Available from https://www.

289
Guideline in Child Health Supervision

nichd.nih.gov/publications/pubs/documents/NELPReport09.pdf. p. V-XII
44. Guevara JP,Gerdes M,Localio R,Huang YV,Pinto-Martin J,Minkovitz CS,et al.Effective of developmental
screening in an urban setting.Pediatrics 2013;131(1):30-7
45. ACOG. American College of Obstetricians and Gynecologists Practice Bulletin number 109, December
2009: cervical cytology screening. Obstet Gynecol 2009;114:1409-20.
47. Gidding SS, Dennison BA, Birch LL, Daniels SR, Gillman MW, Lichtenstein AH, et al. Dietary recommendations
for children and adolescents: a guide for practitioners. Pediatrics 2006; 117(2):544-59.
48. American, Academy, of, Pediatrics, Committee, onNutrition. Optimizing bone health and calcium intakes
of infants, children and adolescents. Pediatrics 2006;117:578-85.
49. WHO. WHO Guidelines on Preventing Early Pregnancy and Poor Reproductive Outcomes 2011.
50. M.Anderson M, S.Neinstein L. Alcohol. In: N.Neinstein L, M.Gordon C, K.Katzman D, S.Rosen D, R.Woods
E, editors. Adolescent health Care: A practical guide. 5th ed. Philadelphia: Wolters Kluwer, Lippincott
Williams & Wilkins; 2008: 878.
51. Elster AB. Comparison of Recommendations for Adolescent Clinical Preventive Services Developed by
National Organizations. Arch Pediatr Adolesc Med1998;152:93-8.
52. อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์. การป้องกันอุบัติเหตุ. ใน: เปรมฤดี ภูมิถาวร สุวัฒน์ เบญพลพิทักษ์ กาญจนา ตั้งนรารัชชกิจ
สุเทพ วาณิชย์กุล สุรางค์เจียมจรรรยา บรรณาธิการ. กุมารเวชศาสตร์ส�ำหรับนักศึกษาแพทย์ เล่มที่1. กรุงเทพ: ธนาเพรส
จ�ำกัด; 2552: 185-94
53. วีระศักดิ์ ชลไชยะ. การสื่อสารส�ำหรับเด็กที่มีปัญหาทางพัฒนาการและพฤติกรรม. ใน: วีระศักดิ์ ชลไชยะ, สุชีรา ฉัตรเพริด
พราย, ชิษณุ พันธุ์เจริญ, จรุงจิตร์ งามไพบูลย์, บรรณาธิการ. ทักษะการสื่อสารเพื่อความเป็นเลิศด้านบริการทางการแพทย์.
กรุงเทพมหานคร: ธนาเพรส; 2552. หน้า 239-54.
54. วีระศักดิ์ ชลไชยะ. Optimizing care in ambulatory pediatrics: developmental perspectives. ใน: นวลจันทร์
ปราบพาล, ศิรวิ รรณ วนานุกลู , สุชาดา ศรีทพิ ยวรรณ, สุชรี า ฉัตรเพริดพราย, บรรณาธิการ. การอบรมระยะสัน้ กุมารเวชศาสตร์
Optimizing health care in Pediatrics. กรุงเทพมหานคร: บียอนด์เอ็นเทอร์ไพรซ์; 2551: 131-44.
55. ศิริกุล อิศรานุรักษ์ ประภาภรณ์ จังพานิช. แบบคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก (อนามัย 55) (ปรับปรุงครั้งที่1). กลุ่ม
อนามัยแม่และเด็ก ส�ำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. กรุงเทพฯ: ส�ำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย;
2555.
56. สมัย ศิริทองถาวร. คู่มือคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็กวัยแรกเกิด-5 ปี ส�ำหรับบุคคลากรสาธารณสุข(TDSI). สถาบัน
พัฒนาการเด็กราชนครินทร์ กรมสุขภาพจิต
57. ศิริกุล อิศรานุรักษ์ ประภาภรณ์ จังพานิช. แบบคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก (อนามัย 55) (ปรับปรุงครั้งที่1). กลุ่ม
อนามัยแม่และเด็ก ส�ำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. กรุงเทพฯ: ส�ำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย;
2555.
58. ลัดดา เหมาะสุวรรณ, จันฑ์ทิตา พฤกษานานนท์, จุฬธิดา โฉมฉาย, วินัดดา ปิยะศิลป์, สุธาทิพย์ ศิริจันทร์เพ็ญ, ปราณี
เมืองน้อยและคณะ.วิเคราะห์สุขภาวะของเด็กและวัยรุ่นอายุ 6-12 ปี. ใน: คณะท�ำงานโครงการวิเคราะห์สุขภาวะของเด็กและ
วัยรุ่นไทย ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย. สุขภาวะของเด็กและวัยรุ่นไทย พ.ศ.2552: บ.บียอน เอ็นเทอร์ไพรซ์
จ�ำกัด; 2552 หน้า 140-60.

290
Guideline in Child Health Supervision

59. สุธาทิพย์ เอมเปรมศิลป์. การคัดกรองสุขภาพและภาวะโลหิตจางในเด็กวัยเรียน(ปี 2552-2555) ใน: นิชรา เรืองดารกานนท์,


ชัชลิต รัตนสาร, อรพิชญา ไกรฤทธิ์, บรรณาธิการ. 4 ปี โครงการพัฒนาศักยภาพประชากรไทย “วิถีแห่งการป้องกันโรคและ
สร้างเสริมสุขภาพ”. กรุงเทพฯ: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล; 2556. หน้า 26-7.
60. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล สุขภาพคนไทย 2555
61. โภชนาการในเด็กวัยเรียน.[บทความบนอินเตอร์เน็ต]. [เข้าใจ ธันวาคม 2556];จาก :http://www.si/mahidol.co.th
62. ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย. แนวทางการดูแลสูขภาพเด็กไทย โดยราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย
พ.ศ. 2556 (Recommended Guideline for Preventive Pediatric Health Care by The Royal College of Pediatricians
of Thailand, 2013). 2556.
63. คู่มือวัคซีน 2012-2013 และปัญหาที่พบบ่อย. วีระชัย วัฒนวีรเดช, อัจฉรา ตั้งสถาพรพงศ์, กุลกัญญา โชคไพบูลย์กิจ,
กองบรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: บียอนด์ เอ็นเตอร์ไพรส์ จ�ำกัด; 2012.
64. บุญยิ่ง มานะบริบูรณ์, อรศรี วิทวัสมงคล. Immunization in adolescents. ใน: ธีระพงษ์ ตัณฑวิเชียร, ศิริวรรณ
จิรสิรธิ รรม, กนกพร จิวโพธฺเ์ จริญ, ดาราวรรณ วนะชิวนาวิน, ชุษณา สวนกระต่าย, กุลภา ศรีสวัสดิ,์ กองบรรณาธิการ. เวชศาสตร์
ร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2554.:161-5.

291
รายชื่อคณะอนุกรรมการ
ทบทวนระบบการดูแลสุขภาพเด็กดี พ.ศ. 2556-2557

รศ.พญ.ประสบศรี อึ้งถาวร ประธาน


พญ.วันดี นิงสานนท์ รองประธาน
ศ.คลินิก พญ.วินัดดา ปิยะศิลป์ เลขานุการ
พญ.จริยา ทะรักษา กรรมการ
รศ.พญ.จันท์ฑิตา พฤกษานานนท์ กรรมการ
พญ.สุชีรา ฉัตรเพริดพราย กรรมการ
พญ.อิสราภา ชื่นสุวรรณ กรรมการ
พญ.นัยนา ณีศะนันท์ กรรมการ
รศ.นพ.อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ กรรมการ
นพ.วีระศักดิ์ ชลไชยะ กรรมการ
นพ.พงษ์ศักดิ์ น้อยพยัคฆ์ กรรมการ
พญ.อดิศร์สุดา เฟื่องฟู กรรมการ
พญ.พัฎ โรจน์มหามงคล กรรมการ
พญ.บุญยิ่ง มานะบริบูรณ์ กรรมการ
พญ.สุธาทิพย์ เอมเปรมศิลป์ กรรมการ

292
www.thaipediatrics.org

ISBN 978-616-91972-2-5

You might also like