You are on page 1of 5

1

การสั งเกตการสอน
สรุปเนื้อหาทฤษฎีการสอนดนตรี
ของ Dalcroze วันที่ 8 กันยายน 2548
อาจารย์ ลลี าวดี โรจนเสถียร (อาจารย์ ป้ ูเป้ )
เอมิล ชาคส์ –ดาลโครซ (Emile Jaques-Dalcroze, 1865 – 1950)
ผูป้ ระพันธ์เพลงและนักดนตรี ศึกษาชาวสวิส วิธีการสอนของดาลโครซเป็ นที่นิยมใช้ทวั่ โลก
โดยเฉพาะในสหรัฐ อเมริ กาได้รับความสนใจเพิม่ ขึ้นทุกขณะ โดยดาลโครซ มีแนวคิดที่วา่ มนุษย์
มีจงั หวะอยูใ่ นตัวเองโดยธรรมชาติอยูแ่ ล้ว เช่น การเดิน การวิ่ง จังหวะการเต้นของหัวใจ เป็ นต้น
สิ่ งเหล่านี้จะมี Pattern ที่แน่นอน จึงควรนาสิ่ งที่มีอยูแ่ ล้วมาใช้ในการเรี ยนรู ้ดนตรี และใช้ร่างกาย
เป็ นสื่ อในการเรี ยนรู ้

หลักการสาคัญของดาลโครซ คือ ยูริธึมมิกส์ (Eurhythmics)


Eu หมายถึง การรวมกัน
Rhythmic หมายถึง การมีจงั หวะ
ซึ่งหมายถึงการเคลื่อนไหวทางจังหวะที่ดี (good rhythmic movement) จุดเน้นของวิธีการนี้คือการ
ให้ความสนใจ และพัฒนาความรู ้สึกของผูเ้ รี ยนในการตอบสนองต่อดนตรี และความสามารถใน
การแสดงออกซึ่งความรู ้สึกนั้นออกมาในลักษณะของการเคลื่อนไหว

องค์ประกอบทฤษฎีของ Dalcroze คือ


1. Eurhythmic คือการเรี ยนรู ้เรื่ องจังหวะต่างๆ ความรู ้สึกที่อยูใ่ นจังหวะต่างๆ
2. Solfege คือ การฝึ กโสตทักษะ เกี่ยวกับการได้ยนิ ดาลโครซมีความเชื่อว่า มนุษย์ทุกคน
สามารถพัฒนาทางด้านโสตประสาทได้ โดยอาศัยการฝึ กฝน
3. Improvisation คือการสร้างสรรค์ โดยแสดงจังหวะและท่าทางตามความรู ้สึกอย่างทันที
เป็ นสิ่ งที่ทาให้สามารถทราบว่าผูเ้ รี ยนมีพฒั นาการในการเรี ยนรู ้ในสิ่ งที่สอนไปแล้ว

ในการทากิจกรรมการอนครู ควรให้ ความสาคัญกับสิ่ งต่ างๆต่ อไปนี้


1. ในการสอนหาครู สามารถเล่นเปี ยโนประกอบการสอนได้ จะทาให้ง่ายต่อการเข้าใจและ
ง่ายต่อการทากิจกรรมดนตรี
2. กรณีที่สอนเด็กที่มีอายุนอ้ ยมาก ควรให้พ่อแม่ควรมีส่วนร่ วมในการเรี ยนด้วย เพื่อที่จะ
จดจาวิธีการสอนแล้วนาไปสอนต่อที่บา้ นได้
2

3. ควรจักลุ่มนักเรี ยนที่มีอายุเท่าๆกันให้เรี ยนในกลุ่มเดียวกัน เพราะพัฒนาการทางร่ างการ


และสติปัญญาจะอยูใ่ นระดับเท่าๆกัน ทาให้ง่ายต่อการแก้ปัญหาและง่ายต่อการสอน
4. ในการทากิจกรรมการเรี ยนการสอน กิจกรรมจะต้องมีความสนุกสนานและท้าทาย
เหมาะสมกับวัยของผูเ้ รี ยน
5. หลังจากนักเรี ยนได้ทากิจกรรมแล้วครู ควรตั้งคาถามเพื่อทดสอบในสิ่ งที่ได้เรี ยนผ่านมาแล้ว
6. ในฐานะที่ครู เป็ นแม่แบบให้แก่นกั เรี ยนครู ควรให้ความสาคัญกับรายละเอียดเล็กๆน้อยๆ
เช่น บุคลิคและลักษณะท่าทางที่ถูกต้องเหมาะสม ในการแสดงท่าทางการตบมือ เป็ นต้น

การสอนดนตรี ตามทฤษฎีของ Dalcroze ช่วยให้ผเู ้ รี ยนมีความเข้าใจในตนเอง โดยมุ่งให้


ผูเ้ รี ยนแต่ละคนเห็นความสาคัญ และพัฒนาความสามารถในการแสดงออกของตนทางด้านการ
เคลื่อนไหวทางร่ างกาย ในขณะเดียวกันวิธีการนี้ก็มุ่งเน้นพัฒนาการทางด้านจิตใจ และความคิด
ซึ่งมีส่วนสัมพันธ์กบั การเคลื่อนไหวร่ างกาย และอารมณ์ กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ วิธีการนี้เป็ นการ
พัฒนาการทางดนตรี ในตัวผูเ้ รี ยน ซึ่งเป็ นผลเนื่องมาจากผลรวมของประสาทสัมผัสทางกายและ
ความสามารถทางปัญญา ทักษะและความเข้าทางดนตรี ได้รับการพัฒนาโดยการเปิ ดโอกาสให้
ผูเ้ รี ยนมีส่วนร่ วมในกิจกรรมต่างๆ ทางดนตรี
3

สรุปการบรรยายและสั งเกตการสอน
สรุปการบรรยายทฤษฎีการสอนของ โคได
บรรยายโดย อาจารย์ สมชัย ตระการรุ่ง25 สิงหาคม 2548
มีเนื้อหาเกี่ยวกับการทากิจกรรมที่เกี่ยวกับดนตรี โดยขั้นตอนแรก อาจารย์สมชัย ได้แนะนา
กิจกรรมการสอนระดับเสี ยง โดยใช้การทักทายระหว่างครู กบั นักเรี ยน โดยครู ร้องทักทางว่า “สวัด
ดีนกั เรี ยน”(ทานอง ซอล ซอล มี ซอล มี) หลังจากนั้นนักเรี ยนร้องตอบกลับในทานองเดิมด้วย
ประโยคที่วา่ “สวัสดีคุณครู ” ซึ่งง่ายต่อการแยกแยะระดับเสี ยงสูงต่าของตัวโน้ต โดยครู จะยกมือ
สู งและต่าแสดงระดับเสี ยงประกอบด้วย หลังจากนั้นก็ค่อยเพิ่มตัวโน้ตอื่นๆเข้าไปแล้วเปลี่ยนเนื้อ
ร้อง หรื อกาหนด Pattern อย่างง่ายๆ อาจจะเป็ นชื่อเล่นของนักเรี ยนในห้องก็ได้ โดยครู จะคอยให้
สัญลักษณ์ Hand Sign ของ Kodaly เพื่อบอกระดับเสี ยง แล้วให้นกั เรี ยนผลัดกันร้องต่อๆกันไป
กิจกรรมนี้ทาให้นกั เรี ยนเรี ยนรู ้การแยกแยะระดับเสี ยงสู งต่าและเรี ยนรู ้สัญลักษณ์มือของโคได อีก
ทั้งยังได้รับความสนุกสนานเพลิดเพลินจากกิจกรรมดังกล่าวด้วย

ในการร้องเพลงนั้นควรใช้การร้องแบบ Movable Do ให้นกั เรี ยนจาระดับเสี ยง ซอล มีเพื่อที่จะ


เป็ นพื้นฐานในการร้องโน้ตตัวต่อไป นักเรี ยนในชั้นต่างก็มีระดับเสี ยงร้องที่ต่างกัน บางครั้งอาจ
ร้องเพี้ยนบ้างครู ควรช่วยเหลือปรับให้เหมาะสม

เมื่อนักเรี ยนเข้าใจและสามารถแยกแยะระดับเสี ยงได้แล้วจะเป็ นการสอนเกี่ยวกับค่าของตัว


โน้ตในเพลงที่นกั เรี ยนรู ้จกั และคุน้ เคย โดยการขีดเส้นตรงแนวดิ่งตามจานวนคาร้อง แล้วจึงแบ่ง
เส้นกั้นห้องโดยพิจารณาจากจังหวะหนัก และจังหวะเบา หลังจากนั้นก็ขีดเชื่อมหางของตัวโน้ตที่
ออกเสี ยงติดๆ(โน้ตเขบ็ตไม่มีหวั โน้ต ) แล้วตบมือตามจานวนตัวโน้ตที่บนั ทึก โดยตัวดา ให้ร้อง
เป็ นเสี ยง “ทา” ส่วนโน้ตตัวเขบ็ตให้ออกเสี ยงว่า “ทิ” และโน้ตตัวขาวร้องเป็ นเสี ยง “ทู” โน้ต
เขบ็ตสองชั้นให้ร้องเป็ นเสี ยง “ทิกะทิกะ”

ในการสอนเด็กในระดับปฐมวัยนั้นครู ควรให้ทากิจกรรมที่เป็ นเกมที่สนุกสนานเพื่อนักเรี ยนจะ


ได้สนใจจาเนื้ อร้อง ทานองและคุน้ เคยกับจังหวะไปในตัวด้วย เช่นกิจกรรมการร้องเพลงละการเดิน
ตามจังหวะในเพลงหอยโข่งและเพลงรถไฟไปเชียงใหม่ โดยครู ร้องให้นกั เรี ยนฟังก่อนแล้วให้
4

นักเรี ยนร้องและตบมือตามจนคล่องแล้วครู พานักเรี ยนเดินย่าเท้าให้เข้าจังหวะเพลงและร้องทานอง


เพลงในขั้นคู่ ซอล มี ได้อย่างชัดเจน กิจกรรมดังกล่าวจะทาให้นกั เรี ยนสนุกสนานไปกับการทา
กิจกรรมเป็ นกลุ่มทาให้นกั เรี ยนสนใจและเกิดการเรี ยนรู ้เรื่ องจังหวะและระดับเสี ยงได้

สรุปสั งเกตการสอนวิชาดนตรี
ณ โรงเรียนสาธิตจุฬาฯ วันที่ 1 กันยายน 2548

ชั้นป.1-2
มีการนาทฤษฎีการสอนดนตรี ของโคได ดาลโครซ และคาร์ล ออร์ฟ มาผสมผสานในการ
สอนดนตรี สาหรับเด็ก ซึ่งกิจกรรมการสอนที่สนุกสนานและเพลิดเพลินทาให้นกั เรี ยนได้พฒั นา
ความรู ้ดา้ นดนตรี โดยที่เขาไม่รู้ตวั กิจกรรมดังกล่าวเน้นให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้สัญลักษณ์ที่ใช้แทนตัว
โน้ต การเคลื่อนไหวร่ างการ การเรี ยนรู ้ระดับเสี ยงจากระนาด และครู ผสู ้ อนก็มีความรู ้และทักษะ
ในการถ่ายทอดความรู ้และสามารถควบคุมชั้นเรี ยนได้ดี ทาให้บรรยากาศในชั้นเรี ยนมีความราบรื่ น
และน่าเรี ยน นักเรี ยนมีความกระตือรื อร้นที่อยากจะเรี ยน นอกจากนี้การวางตัวและการวางบุคลิก
ของครู ก็มีความกลมกลืนกับธรรมชาติของนักเรี ยน ทาให้นกั เรี ยนรู ้สึกมีความเป็ นกันเองกับครู กล้า
แสดงออก

ชั้นป.3-4
การสอนเริ่ มมีการเพิ่มเนื้อหาด้านดนตรี มากขึ้น เช่นการอ่านโน้ตสากล การเรี ยนรู ้ระดับเสี ยง
การเป่ าขลุ่ยรี คอร์ดเดอร์ ในระดับชั้นนี้ไม่เน้นการเคลื่อนไหวร่ างกายแต่ยงั มีการร้องเพลงอยู่
สาหรับกิจกรรมและวิธีการสอนนั้นครู จะเป็ นต้นแบบในการเรี ยนรู ้ โดยสอนให้เด็กอ่านโน้ต และ
ร้องตาม แล้วจึงพัฒนาไปสู่การปฏิบตั ิ ซึ่งเป็ นการนาทฤษฎีการสอนดนตรี ของ Zuzuki ในชั้นนี้ครู
จะเป็ นผูพ้ ูดมากกว่าชั้นป.1-2

ชั้นป.5-6
มีการเน้นเนื้ อหาและทฤษฎีทางดนตรี มากขึ้นแต่ก็ยงั มีการทากิจกรรมการร้อง การเคลื่อนไหว
และการเป่ าขลุ่ย ในชั้นนี้ครู จะเป็ นผูพ้ ูดมากขึ้น สาหรับหลักสู ตรในชั้นป.5-6 ในปั จจุบนั นั้นได้มี
การทดลองใช้หลักสูตรใหม่ที่ทาการปรับปรุ ง คือนักเรี ยนสามารถเลือกเรี ยนดนตรี และนาฏศิลป์ ที่
ตนเองสนใจ โดยแบ่งออกเป็ น 4 กลุ่ม ให้นกั เรี ยนเลือกเรี ยนคือ
5

1. เกี่ยวกับทฤษฎีดนตรี
2. เกี่ยวกับดนตรี ไทย ดนตรี ตะวันตก และดนตรี เอเชีย
3. ราวงมาตรฐาน
4. ดนตรี พ้นื เมืองและการแสดงพื้นเมือง
โดยนักเรี ยนสามารถเลือกเรี ยนได้ตามความถนัด ส่วนในการเรี ยนครู จะทาการสอนแบบบูรนาการ
ทั้ง 4 กลุ่มข้างต้น เพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้รับความรู ้และทักษะในแต่ละกลุ่มได้อย่างครบถ้วนเช่นเดียวกัน

จากการสังเกตการสอนในแต่ละชั้นเป็ นการสอนโดยใช้หลักการ FUN FIND FOCUS


คือในระดับแรกนั้น จะเป็ นการเรี ยนรู ้ดนตรี เพื่อการพัฒนาสติปัญญาอย่างสนุกสนานเพลิดเพลิน
ในระดับที่สอง จะเป็ นการเรี ยนรู ้เพื่อค้นหาในสิ่ งที่ตนสนใจ และในระดับที่สาม ก็จะเป็ นการเลือก
เรี ยนในสิ่ งที่ตนเองคิดว่ามีความถนัดละมีความสนใจ และในการทากิจกรรมการเรี ยนการสอนของ
ครู แต่ละระดับชั้นนั้นการเข้าใจในพัฒนาการของเด็กเป็ นสิ่ งที่สาคัญอย่างยิง่ เพราะจะทาให้
สามารถเลือกกิจกรรมและทฤษฎีการสอนมาใช้ในการเรี ยนการสอนได้เหมาะสมกับนักเรี ยน.

You might also like